นายกิติพงษ์ วุฒิญาณ 108 การวางระบบน้ำแปลงปลูกพืชผัก โดยใช้เทคโนโลยีระบบน้ำอัจฉริยะต้นทุนต่ำ
อาจารย์ญาณิศา จินดาหลวง 100 การพัฒนาผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเกษตร เพื่อการสร้างมูลค่าเพิ่มและตอบสนองความต้องการของตลาด การแปรรูปผลิตผลทางการเกษตร การประเมินคุณภาพของผลิตภัณฑ์ทางด้านกายภาพเคมีจุลินทรีย์ประสาทสัมผัสและการยอมรับของผู้บริโภค มาตรฐานและความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์
ผศ.ดร.ธรรมศักดิ์ โรจน์วิรุฬห์ 107 การออกแบบเตาเผาถ่านคุณภาพสูง และเครื่องจักรสำหรับอัดแท่งถ่าน รวมทั้งการแปรรูปถ่านเป็นถ่านกัมมันต์และการกระตุ้นถ่าน (Activate) เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการดูดกลิ่น
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. รัตนาพร นรรัตน์ 123 1. การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเติมอากาศในสัตว์น้ำ 2. การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีไมโครนาโนบับเบิ้ลทางด้านการเกษตร 3. การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีไฟฟ้าแรงดันสูงในการกระตุ้นการออกดอกของเห็ด 4. การประยุกต์ใช้ไอออนบีมพลังงานสูงในการถ่ายภาพทางการแพทย์
อาจารย์ชุติกร ปรุงเกียรติ 93 ด้านการตลาด, การเพิ่มผลผลิตและลดต้นทุน, การค้าภายในประเทศและต่างประเทศ
อาจารย์เนติยา การะเกตุ 99 การเพิ่มปริมาณเนื้อเยื่อในหลอดแก้ว การวิเคราะห์สารสำคัญและการกระตุ้นการผลิตสารสำคัญในพืช
ผศ.ดร.ชมจันทร์ ดาวเดือน 85 เป็นการออกแบบบรรจุภัณฑ์ให้เหมาะสมกับผลิตภัณฑ์ ซึ่งการออกแบบบรรจุภัณฑ์จะต้องช่วยถนอม หรือเก็บรักษาผลิตภัณฑ์ให้อยู่ได้นาน รวมถึงสร้างความโดดเด่น และเป็นอัตลักษณ์ให้กับผลิตภัณฑ์
นายคมสัน เรืองโกศล 85 เป็นการออกแบบบรรจุภัณฑ์ให้เหมาะสมกับผลิตภัณฑ์ ซึ่งการออกแบบบรรจุภัณฑ์จะต้องช่วยถนอม หรือเก็บรักษาผลิตภัณฑ์ให้อยู่ได้นาน รวมถึงสร้างความโดดเด่น และเป็นอัตลักษณ์ให้กับผลิตภัณฑ์
ศูนย์วิจัยและพัฒนานวัตกรรมสินค้าเกษตรและอาหาร ภาคต 92 ศูนย์วิจัยและพัฒนานวัตกรรมสินค้าเกษตรและอาหาร ภาคตะวันออก คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี จันทบุรี เป็นหน่วยสนับสนุนการเรียนการสอน การวิจัย แลบริการวิชาการ มีหน้าที่หลักดังต่อไปนี้ 1. ทดสอบมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร ISO/IEC 17025 ทดสอบตัวอย่างสินค้าด้านการเกษตร เช่น ดิน น้ำ ใบ ผลผลิตทางการเกษตร และผลิตภัณฑ์จากการเกษตร เช่น ผลิตภัณฑ์อาหารแปรรูป น้ำส้มควันไม้ น้้ำดื่ม น้ำพริก ซอส เป็นต้น ทางศูนย์ทดสอบจะทำการวิเคราะห์เพื่อวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1.1 เฝ้าระวังมาตรฐานสินค้าให้ตรงกับมาตรฐานภานในและต่างประเทศ 1.2 ออกใบรายงานผลให้สอดคล้องกับมาตรฐานภานในและต่างประเทศ 1.3 วิเคราะห์สารเคมี และยาฆ่าแมลงตกค้างในผลผลิต และผลิตภัณฑ์แปรรูป 1.4 วิเคราะห์ฉลากโภชนา 1.5 วิเคราะห์จุลินทรีย์ 1.6 วิเคราะห์น้ำเพื่อการอุปโภคบริโภค 2. วิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ด้านเกษตรและอาหาร ทำการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่ใช้พืชปลทางการเกษตร ในภาคตะวันออก เพื่อรองรับการแปรรุปผลผลิตใหม่ๆ สู่ตลาดในยุยไทยแลนด์ 4.0 3. บริการวิชาการ ฝึกอบรม และให้คำปรึกษา เป็นศูนย์บริการให้คำปรึกษาด้านคุณภาพอาหาร และการขึ้นทะเบียนกับหน่วยงานรัฐ เช่น มผช. OTOP อย. และมาตรฐานสากลได้แก่ GMP/HACCP/ISO/HALAL/BRC เป็นต้น และยังเป็นที่ฝึกอบรมด้านการแปรรูปการเกษตร และอื่นๆ ตามโจทย์ท้องถิ่น 4. เป็นพี่เลี้ยงด้านระบบคุณภาอาหาร เป็นพี่เลี้ยงหน้างาน ให้บริการถึงสถานที่ เพื่อคอยแนะนำให้ผู้ประกอบการทุกระดับ ไม่ว่าจะกลุ่มแม่บ้าน วิสาหกิจชุมชน SME เข้าถึงการแปรรูปที่ถูกต้อง และจัดการสถานที่ให้เป็นไปตามมาตรฐานที่ต้องการ รวมทั้งการประยุกต์ใช้ระบบประกันคุณภาพอาหาร ในสถานประกอบการ สถานที่ติดต่อ ศูนย์วิจัยและพัฒนานวัตกรรมสินค้าเกษตรและอาหาร ภาคตะวันออก หลักสูตรวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี เลขที่ 41 ม.5 ต.ท่าช้าง อ.เมือง จ.จันทบุรี 22000 โทรศัพท์ 061 6605306 E mail Classforecastrbru@hotmail.com
นายจิรวัฒน์ สุวรรณพฤกษ์ 63 วิศวกรรมโยธา ออกแแบบโครงสร้าง , เทคโนโลยีคอนกรีต , ประมาณราคา , การควบคุมและตรวจงานก่อสร้าง
ดร. เกรียงไกร วันทอง 146 เทคโนโลยีสปัตเตอริงหรือ เทคนิคการเคลือบฟิล์มบางในสุญญากาศ กระบวนการนี้ใช้เคลือบฟิล์มได้หลากหลายชนิด เช่น ฟิล์มโลหะ อัลลอย แก้ว เซรามิกส์ ฟิล์มสารกึ่งตัวนำ ในกลุ่มอุตสาหกรรมในประเทศไทยที่ใช้เทคโนโลยี สปัตเตอริง ได้แก่ ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ ฮาร์ดดิสไดรฟ์ ยานยนต์ กระจกอาคาร ใยแก้วนำแสง และเซลล์แสงอาทิตย์, การทดสอบโลหะต่างๆ และการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึก Data Science Semiconductor Physics, Electronics, Crystal Growth, Thin Film Sputtering, C, Python and R programming, Computational Physics, Data Science, Scintillation Materials and Nuclear Physics, Precious Metals Testing
นายประสิทธิ์ แพงเพชร 82 วัดและตรวจสอบขนาดชิ้นส่วนเครื่องจักร ซ่อมบำรุงเครื่องจักร
ดร.ชรินทร ศรีวิฑูรย์ 104 การตลาด การจัดการสำหรับผู้ประกอบการ การแปรรูปผลิตภัณฑ์ พัฒนาบรรจุภัณฑ์และตราสินค้าผลิตภัณฑ์
ดร.ศิริลักษณ์ สุรินทร์ 108 โภชนาการ, อาหารเพื่อกระตุ้นระบบภูมิคุ้มกัน, การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร, การประเมินการยอมรับของผู้บริโภค
ผู้ช่วยศาสตราจารย์สันติ สาแก้ว 92 การออกแบบและติดตั้งระบบควบคุมอัตโนมัติในโรงเรือนอัจฉริยะ
อาจารย์สมชัย วะชุม 107 สร้างสีที่สวยงามให้กระติบข้าว ควบคุมและรักษาคุณภาพของสินค้า
อาจารย์ศิริรัตน์ สัยวุฒิ 106 การสร้างต้นแบบและถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านการออกแบบบรรจุภัณฑ์ และตราสินค้าที่แปรรูป การสร้างกิจกรรมทางการจัดจำหน่าย ทั้ง Online และOffline ถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านการตลาดในยุคปกติใหม่
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ตฤณ กิตติการอำพล คณะศึกษาศาส 133 ประติมากรรมเพื่อการบำบัดเด็กออทิสติก
อาจารย์ปัทถาพร สุขใจ 105 นวัตกรรมชุมชนเพื่อการท่องเที่ยว เป็นการส่งเสริมทักษะการนำเสนอผลงานและตลาดให้กับชุมชน
อาจารย์ญาณพัฒน์ ลาภพาณิชยกุล 78 การออกแบบบรรจุภัณฑ์ และตราสัญลักษณ์
นางสาวนชพรรณ จั่นทอง 128 การพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนให้สามารถยกระดับมาตรฐานและตอบโจทย์กลุ่มตลาดใหม่
นางสาวพรพิมล ควรรณสุ 79 ผลิตภัณฑ์น้ำพริกเห็ดกรอบ จากเห็ดนางฟ้า 1. การพัฒนาสูตรน้ำพริกเห็ดกรอบ 2. การพัฒนาบรรจุภัณฑ์ให้ทันสมัย สวยงาม และ และดึงดูดผู้บริโภค 3. การพัฒนาตลาดออนไลน์ และตลาดออฟไลน์ ขนาดบรรจุ 100 กรัม ความโดดเด่นคือ กลุ่มวิสาหกิจชุมชนผลิตเห็ดบ้านกลางมีความพิถีพิถันในการเพาะเห็ด โดยมีกระบวนการเพาะแบบปลอดสารเคมี นอกจากนั้นยังมีการคัดสรรวัตถุดิบทีมีคุณภาพเพื่อนำมาแปรรูป และมีการตรวจยืนยันด้านอาหารปลอดภัยจากห้องปฏิบัติการทีได้รับการรับรองคุณภาพ เพื่อให้ผู้บริโภคได้รับสินค้าที่มีรสชาติอร่อยและดีต่อสุขภาพ
นางสาวพรพิมล ควรรณสุ 91 ผลิตภัณฑ์ไส้อั่วเห็ดสมุนไพร 1. การพัฒนาผลิตภัณฑ์ไส้อั่วเห็ดสมุนไพร รสชาติอร่อย ไม่มัน มีไฟเบอร์จากเห็ด 2. การพัฒนาบรรจุภัณฑ์ให้ทันสมัย สวยงาม และ และดึงดูดผู้บริโภค 3. การพัฒนาตลาดออนไลน์ และตลาดออฟไลน์ ขนาดบรรจุ 250 กรัม
นางสาวพรพิมล ควรรณสุ 89 ผลิตภัณฑ์แหนมเห็ด เป็นผลิตภัณฑ์ที่กลุ่มมีการผลิตและจำหน่ายอยู่แล้ว แต่นักวิจัยจากมหาวิทยาลัยนครพนมเข้ามาพัฒนาต่อยอด 1. ขั้นตอนการผลิตให้ปลอดภัย 2. การพัฒนาบรรจุภัณฑ์ให้ทันสมัย สวยงาม และ และดึงดูดผู้บริโภค 3. การพัฒนาตลาดออนไลน์ และตลาดออฟไลน์ ขนาดบรรจุ 200 กรัม วัตถุดิบมาจาก กลุ่มวิสาหกิจชุมชนเพาะเห็ดบ้านกลาง 355 หมู่ 4 ตำบลโพนแพง อำเภออากาศอำนวย จังหวัดสกลนคร
นางสาวนภาพร ภู่เพ็ชร์ 103 1. คอมพิวเตอร์/เทคโนโลยีสารสนเทศ มีความเชี่ยวชาญในเรื่องการใช้คอมพิวเตอร์และโปรแกรมพื้นฐานช่วยในการพัฒนางาน การออกการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดการฐานข้อมูล การใช้ข้อมูลประกอบการวางแผน การศึกษา การวิเคราะห์ การทดสอบ การประเมินผล และการแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในการใช้งานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต 2. ด้านพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร มีความเชี่ยวชาญในเรื่องการพัฒนา และปรับปรุงสูตรอาหาร ให้มีการเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีขึ้น หรือเป็นผลิตภัณฑ์ที่มีความแตกต่างจากที่มีอยู่เดิม และตอบโจทย์ความต้องการของผู้บริโภค
ผศ.ธนพัฒน์ สุระนรากุล 102 การใช้ฮอร์โมนกระตุ้นการเป็นสัดแม่โค ชนิดสังเคราะห์แบบฉีด
นางสาวหนึ่งฤทัย แก้วคำ 92 ส่งเสริมการตลาดให้กับชุมชน หรือผู้ประกอบการที่สนใจ ทั้งแบบออฟไลน์แและแบบออนไลน์ตามบริบทหรือความเหมาะสม ของกลุ่มชุมชน โดยมุ่งเน้นให้สามารถพัฒนาและต่อยอดได้เอง ก่อเกิดรายได้ในครัวเรือนและชุมชน
ผศ.จุติพร ปริญโญกุล 97 การตลาดออนไลน์ การประชาสัมพันธ์ การบริหารประเด็น การจัดการภาวะวิกฤต การใช้เครื่องมือสื่อสารการตลาดเพื่อเพิ่มกระตุ้นยอดขาย ขยายกลุ่มเป้าหมายและเพิ่มมูลค่าให้กับสินค้าและบริการ
นางสาวฐิติมา พุทธบูชา 103 ออกแบบและตัดเย็บ เสื้อผ้าและเครื่องแต่งกายสําหรับสุภาพสตรี
อ.ฒวีพร โตวนิช 120 การออกแบบฉลากและตราสินค้า เทคโนโลยีการสื่อสารสมัยใหม่
รศ.ฉัตรชัย พลเชี่ยว 76 1.โฟโตอิเล็กโครคะตะไลชีส 2.เคมีไฟฟ้า 3.สเปกโทรโฟโตเมตรี 4.การเตรียมฟิล์มบาง 5.วัสดุศาสตร์สำหรับประยุกต์ด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม
นางสาวไอรดา สุดสังข์ 108 การออกแบบและตัดเย็บเครื่องนุ่งห่ม และผลิตภัณฑ์สิ่งทอ
สนอง กลิ่นเกษร 80 การถ่ายภาพพื้นผิวและคุณสมบัติทางไฟฟ้าของวัสดุโดยใช้กล้องจุลทรรศน์แรงอะตอม
เอกภพ เกตุสมบูรณ์ 87 กล้องจุลทรรศน์แรงอะตอม กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราด
นายกานต์ วิรุณพันธ์ 70 ความเชี่ยวชาญด้านการออบแบบเครื่องมือเครื่องจักรทางด้านอุตสาหกรรมเช่น แม่พิมพ์อัด และตัวตัด ตัวตอก
ผศ.ดร.วุฒิชัย รสชาติ 99 1.นวัตกรรมพลังงานของชุมชน 2.ผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ จากพืชน้ำมัน 3.ตัวเร่งปฏิกิริยาและการเร่งปฏิกิริยาวิวิธพันธ์ 4. เคมีพื้นผิว การดูดซับ และตัวดูดซับ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธนกร ราชพิลา 133 ผู้กำหนดกระบวนการฆ่าเชื้อด้วยความร้อนในการผลิตอาหารในภาชนะบรรจุ ที่ปิดสนิทชนิดที่มีความเป็นกรดต่ำและชนิดปรับกรด (Process Authority) การพัฒนาผลิตภัณฑ์ด้วยวิธีระเหยน้ำแบบพ่นฝอย (Spray Drying) การพัฒนาผลิตภัณฑ์ด้วยวิธีระเหิด (Freeze Drying) การพัฒนาเทคโนโลยีการแปรรูปอาหารสมัยใหม่ที่ไม่ใช้ความร้อน (Novel food Technology) การจัดการสายโซ่อุปทานอุตสาหกรรมเกษตร การบริหารคุณภาพอาหาร สมุนไพร ตามมาตรฐานอาหารสากล การปรับปรุงกระบวนการผลิตเพื่อเพิ่มผลผลิต สถิติในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ การวางแผน ควบคุมและติดตามกระบวนการผลิต
นาง สมพร เกตุผาสุข 90 การศึกษาผลผลิตและต้นทุนการเลี้ยงเป็ดเทศบารี่โดยใช้ใบกระถินป่นแห้งทดแทนมันสำปะหลังป่นแทนแห้งในอาหารสูตร
นางสาวนวรัตน์ เพ็ชรปานกัน 80 การศึกษาผลผลิต และต้นทุนการเลี้ยงเป็ดเทศบาบารี่โดยใช้ใบกระถินแห้งแทนกากเมล็ดนุ่นในสูตรอาหาร
นางสาวนวรัตน์ เพ็ชรปานกัน 85 การศึกษาผลผลิตและต้นทุนการผลิตการเลี้ยงไก่พื้นเมืองโดยใช้มันสำปะหลังป่นทดแทนใบกระถินป่นในสูตรอาหาร
นางสาวนวรัตน์ เพ็ชรปานกัน 78 ศึกษาผลผลิตและต้นทุนการปลูกหญ้าเนเปียร์โดยใช่มูลสุกรในระดับที่ต่างกัน
นาง สมพร เกตุผาสุข 86 ศึกษาผลผลิตและต้นทุนการเลี้ยงโดยใช้ผักตบชวาป่นแห้งแทนใบมันสำปะหลังป่นแห้งในสูตรอาหารเป็ดปักกิ่ง
นางสาววรุณรักษ์ ราษีนวล 72 ศึกษาอัตราการงอกของคื่นฉ่ายโดยใช้วัสดุเพาะต่างกัน
ดร.ชัยณรงค์ รัตนกรีฑากุล 89 1.จดอนุสิทธิบัตร "สูตรผสมสำหรับ ผลิตภัณฑ์สารสกัดสมุนไพร ชนิดสารเข้มข้นแขวนลอย" 2. จดลิขสิทธิ์ ปี 2011 จำนวน 4 เรื่อง "สินค้าคุณภาพจากแปลงสู่ผู้บริโภค" "การประเมินความเสี่ยงเป็นการเตรียมระบบ GAP ให้พร้อมกับสิ่งที่เกิดขึ้น" "การระมัดระวังระหว่างการใช้สารเคมี" "สุขอนามัยระหว่างการเก็บเกี่ยว" 3. งานวิจัยที่เป็นการรายงานครั้งแรกของประเทศไทยที่พบว่า เชื้อสาเหตุโรคกิ่งแห้งของทุเรียนเป็นเชื้อรา Fusarium incarnatum และ F. solani ไม่ใช่เชื้อรา Phytophthora palmivora ตามที่นักวิชาการหลายท่านเข้าใจ รวมทั้งพบว่าเชื้อรา Phytopythium vexans สามารถเข้าทำลายทุเรียน และทำให้เกิดโรครากเน่าโคนเน่าได้เช่นเดียวกับ P. palmivora และได้แนะนำสารเคมีป้องกันกำจัดเชื้อราชนิดที่ควบคุมได้ทั้งเชื้อรา Fusarium, Phytophthora, Phytopythium และ Pythium โดยเกษตรกรไม่จำเป็นต้องสิ้นเปลืองซื้อสารเคมีหลายชนิดมาผสมเองเพราะสาเหตุที่แท้จริงของโรคกิ่งแห้งนั้นเกิดจากเชื้อรา Fusarium solani และ F. incarnatum มิได้เกิดจากเชื้อรา Phytophthora palmivora และได้แนะนำสารเคมีที่มีประสิทธิภาพในการควบคุมโรคกิ่งแห้งซึ่งสามารถควบคุมเชื้อรา Phytophthora palmivora สาเหตุโรครากเน่าโคนเน่าของทุเรียนได้อีกด้วย โดยจำเป็นต้องระมัดระวังการใช้สารเคมี benzimidazoles มากยิ่งขึ้น เนื่องจากเชื้อราสาเหตุเกิดการต้านทานได้ 4. หาความแตกต่างของสารประกอบบนผิวมะม่วงที่ได้รับสารกลุ่ม salicylic เพื่อกระตุ้นความต้านทานโรคแอนแทรคโนส จากงานวิจัยการกระตุ้นความต้านทานการเกิดโรคในมะม่วงหลังการเก็บเกี่ยว
ดร.พีรพงษ์ แสงวนางค์กูล 78 1. ผลงาน "ห้องบ่มและเทคนิคการบ่มผลไม้ประโยชน์ 7 อย่าง" ได้รับรางวัลงานวิจัยสร้างผลกระทบสูงระดับ Silver จากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ประจำปี 2564 2. โครงการ "สารเอทีฟอนตกค้างในผลทุเรียนหมอนทองและทางเลือกในการบ่มเพื่อการส่งออก" งบประมาณจาก สวก. ผลวิจัยแสดงถึงความปลอดภัยในการบริโภคทุเรียนไทยทั้งในตลาดท้องถิ่นและตลาดส่งออก สร้างความมั่นใจในสินค้าทุเรียนไทย และลดความตื่นตระหนกความกังวลของผู้บริโภคไทยและจีนที่มีการให้ข้อมูลบิดเบือน 3. ผลวิจัยจาก "โครงการศึกษาเกณฑ์น้ำหนักแห้งของทุเรียนพันธุ์หมอนทอง กระดุมทอง ชะนี พวงมณี และก้านยาว เพื่อเป็นเกณฑ์บ่งชี้คุณภาพ" ใช้ปรับปรุงเกณฑ์น้ำหนักผลและน้ำหนักเนื้อแห้งของทุเรียนในมาตรฐานสินค้าเกษตร (ทุเรียน) มกษ.3-2556 ที่กำลังทบทวนในวาระครบรอบ 20 ปี ในปี 2566
ดร.อภิรดี อุทัยรัตนกิจ 80 การลดความเสียหายของผักและผลไม้, การใช้เทคโนโลยีสีเขียวสำหรับยืดอายุการเก็บรักษาผักและผลไม้, ผลไม้ตัดแต่งพร้อมบริโภค, การใช้ LEDs กระตุ้นสารสำคัญในผัก
ดร.ธเนศ พฤทธิวรสิน 85 นาฬิกาอะตอมเชิงแสงสำหรับมาตรฐานความถี่ของประเทศไทย
ดร.ธารา เฉลิมทรางศักดิ์ 68 นาฬิกาอะตอมเชิงแสงสำหรับมาตรฐานความถี่ของประเทศไทย
นายอาทิตย์ พรรณนา 75 การพัฒนาเทคโนโลยีพลามาไพโรไลซิส-แก๊สซิฟิเคชันสำหรับกำจัดขยะติดเชื้อและขยะอันตรายจากโรงพยาล
นายวัชรินทร์ คงสวัสดิ์ 79 การพัฒนาเทคโนโลยีพลามาไพโรไลซิส-แก๊สซิฟิเคชันสำหรับกำจัดขยะติดเชื้อและขยะอันตรายจากโรงพยาล
นายธรรมนูล ศรีน่วม 87 การพัฒนาเทคโนโลยีพลามาไพโรไลซิส-แก๊สซิฟิเคชันสำหรับกำจัดขยะติดเชื้อและขยะอันตรายจากโรงพยาล
นายเฉลิม เต๊ะสนู 71 การพัฒนาเทคโนโลยีพลามาไพโรไลซิส-แก๊สซิฟิเคชันสำหรับกำจัดขยะติดเชื้อและขยะอันตรายจากโรงพยาล
ดร.ปิยพัฒน์ พูลทอง 82 นาฬิกาอะตอมเชิงแสงสำหรับมาตรฐานความถี่ของประเทศไทย
ดร.หทัยทิพย์ ชาชิโย 78 การศึกษาเชิงทฤษฎีของอะตอมริดเบอร์ก อันตรกิริยากับอะตอมสถานะพื้นและการแทรกสอดในสนามแม่เหล็ก
ผศ.ดร.นพฤทธ์ สมบูรณ์กิตติชัย 102 การพัฒนาเทคโนโลยีพลามาไพโรไลซิส-แก๊สซิฟิเคชันสำหรับกำจัดขยะติดเชื้อและขยะอันตรายจากโรงพยาล
ผศ.ดร.วรานนท์ อนุกูล 83 อินเตอร์เฟียโรมิเตอร์อะตอมสนามใกล้แบบทาล์บอท-เลา / ทัศนศาสตร์อะตอมควอนตัม
ผศ.ดร.สัมภาส ฉีดเกตุ 86 การพัฒนาเทคโนโลยีพลามาไพโรไลซิส-แก๊สซิฟิเคชันสำหรับกำจัดขยะติดเชื้อและขยะอันตรายจากโรงพยาล
รศ.ดร.สรไกร ศรีศุภผล 82 อินเตอร์เฟียโรมิเตอร์อะตอมสนามใกล้แบบทาล์บอท-เลา
รศ.ดร.สรายุธ เดชะปัญญา 93 อินเตอร์เฟียโรมิเตอร์อะตอมสนามใกล้แบบทาล์บอท-เลา
รศ.ดร.สุรศักดิ์ เชียงกา 81 อินเตอร์เฟียโรมิเตอร์อะตอมสนามใกล้แบบทาล์บอท-เลา
รศ.ดร.ทีปานีส ชาชิโย 86 การศึกษาเชิงทฤษฎีของอะตอมริดเบอร์ก อันตรกิริยากับอะตอมสถานะพื้นและการแทรกสอดในสนามแม่เหล็ก
ผศ.น.สพ.สิริศักดิ์ ชีช้าง 26 การเชือดแพะตามมาตรฐานม การเตรียมซาก และการตัดแต่งชิ้นส่วน
รศ.ดร.อาธรณ์ วรอัด 40 การเคลือบฟิล์มบางด้วยการเคลือบในสุญญากาศ (vacuum coating) เป็นการปรับปรุงผิววัสดุแนวทางหนึ่งที่กำลังได้รับความสนใจอย่างกว้างขวางจากกลุ่มนักวิจัยและภาคอุตสาหกรรม โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเคลือบด้วยระบบสปัตเตอริ่ง (sputtering system) เช่น การเคลือบแข็ง (hard coating) บนผิวเครื่องมือตัดเจาะต่าง ๆ ทางอุตสาหกรรม เป็นการปรับปรุงพื้นผิวของเครื่องมือตัดเจาะให้มีความแข็งและยืดอายุการใช้งานของอุปกรณ์ให้ยาวนานขึ้น ซึ่งช่วยลดต้นทุนในการผลิตและยังเป็นการเพิ่มมูลค่าให้กับเครื่องมือตัดเจาะอีกด้วย นอกจากนี้ยังมีการเคลือบเพื่อใช้งานคุณสมบัติทางแสง เช่น ฟิล์มกรองแสงบนกระจกรถยนต์หรือในตัวอาคาร หรือการปรับปรุงสมบัติทางวัสดุศาสตร์สำหรับอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ เซนเซอร์ เป็นต้น
ดร.จิรพรรณ สัจจารักษ์ 29 1. ชีววิทยาและวงจรชีวิต (Life cycle) ของปลิงทะเล 2. การคัดเลือกพ่อแม่พันธุ์และเทคนิคการกระตุ้นให้ปลิงปล่อยเซลล์สืบพันธุ์ ๓. การผสมเซลล์สืบพันธุ์และเพาะฟักลูกปลิงระยะวัยอ่อน 4. เทคนิคการอนุบาลลูกปลิงระยะว่ายน้ำ 5. เทคนิคการอนุบาลลูกปลิงระยะลงเกาะ 6. การเตรียมน้ำและการจัดการคุณภาพน้ำสำหรับการอนุบาลและการเลี้ยงปลิงทะเลระยะวัยรุ่น 7. เทคนิคและวิธีการบรรจุและขนส่งลูกพันธุ์ปลิงทะเล 8. เทคนิคการบรรจุและการขนส่งพ่อแม่พันธุ์ปลิงทะเล
ศาสตราจารย์ ดร.การุณ ทองประจุแก้ว 32 - เทคนิคและวิธีการตรวจสอบพฤติกรรมของปลิงทะเลที่จะปล่อยเซลล์สืบพันธุ์หลังการกระตุ้น - เทคนิคและวิธีการตรวจสอบความสมบูรณ์และพัฒนาการของลูกปลิงระยะวัยอ่อน