รศ. พชร เพ็ชรประดับ 107 เคมีผลิตภัณฑ์ธรรมชาติและสมุนไพร การสกัดสารและพิสูจน์ทราบโครงสร้างสารออกฤทธิ์
นางสาวนัฎฐา คเชนทร์ภักดี 136 กระบวนการผลิต การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร การสกัด การทดสอบการดูดซึมอาหารด้วยการจำลองระบบย่อยและทดสดอบด้าน cell line การยืดอายุการเก็บรักษาด้วยการพัฒนาบรรจุภัณฑ์
นายทองมี เหมาะสม 110 ด้านการสกัดสารจากพืช, การกลั่นน้ำมันหอมระเหย
นางเยาวพา ความหมั่น 104 การแปรรูปและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร, เทคโนโลยีเอนแคปซูเลชัน (Encapsulation Technology), การผลิตไมโครแคปซูลน้ำมัน (Oil microcapsule), เทคโนโลยีผลิตภัณฑ์อาหารผง (Food powder technology), การสกัดรงควัตุจากธรรมชาติ (Natural pigment extraction)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วิจิตรา เหลียวตระกูล 115 1. การสกัดและวิเคราะห์สาระสาคัญจากผลผลิตทางการเกษตร 2. การวิเคราะห์คุณภาพอาหาร เทคโนโลยีแป้ง เทคโนโลยีอาหารผง มาตรฐานอาหาร 3. วิศวกรรมอาหาร โดยเฉพาะกระบวนการให้ความร้อนแก่อาหาร และการทาแห้งด้วยเทคนิคต่าง ๆ เช่น การทาแห้งแบบพ่นฝอย การทาแห้งแบบแช่เยือกแข็ง และการทาแห้งด้วยเตาอบลมร้อน เป็นต้น
ผศ.ดร.สุกาญจน์ รัตนเลิศนุสรณ์ 104 "1.การผลิตสารชีวภาพและสารสกัดสาอาหารหลักรองและเสริม สารชีวภาพ สารปฏิชีวนะ ด้วยชีวเทคโนโลยี เทคโนโลยีนาโนและเทคโนโลยีเอนไซม์ร่วมกับกลไกหัวเชื้อจุลินทรีย์นาโน เพื่อการเกษตรอินทรีย์ ประมงอินทรีย์ มาตรฐานอินทรีย์ไทย 2.การแปรรูปวัสดุเหลอทิ้งจากโรงงานอุตสาหกรรมด้วยชีวเทคโนโลยี เทคโนโลยีนาโนและเทคโนโลยีเอนไซม์ร่วมกับกลไกหัวเชื้อจุลินทรีย์นาโน เพิ่มเพิ่มมูลค่า รายได้ ลดปัญหามลพิษสิ่งแวดล้อม "
ผศ.ดร.มัลลิกา จันทรังษี 115 การสกัดสารจากพืช การเพาะเลี้ยง
นางสาววีรยา ปรีดาลิขิต 83 ผู้วิจัยมีประสบการณ์ในงานด้านเทคโนโลยีชีวภาพ การสกัดสมุนไพร ทดสอบการต้านอนุมูลอิสระ
นางสาวอัญชนา ขัตติยะวงศ์ 100 มีความเชี่ยวชาญเกี่ยวกับการสกัดสารจากธรรมชาติ และสารต้านอนุมูลอิสระ การทำผลิตภัณฑ์จากสารสกัดที่ได้จากธรรมชาติ เช่น ครีม โลชั่น เซรั่ม เป็นต้น การทำผลิตภัณฑ์ที่ใช้ในครัวเรือนจากสารสกัดจากธรรมชาติ เช่น น้ำยาล้างจานสมุนไพร ยาหม่องสมุนไพร สเปรย์ไล่ยุง ยาดมสมุนไพร เป็นต้น การทำผลิตภัณฑ์ที่ใช้กับร่างกาย เช่น สบู่ แชมพู คอนดิชั่นเนอร์ เป็นต้น
รศ.ดร.อรพิน เกิดชูชื่น 125 มีความเชี่ยวชาญ และชำนาญการหลายๆด้าน ทั้ง ด้านเกษตร อาหาร สารสำคัญในพืช น้ำมันหอมระเหยและสารสกัดจากพืช นวัตกรรมและการพัฒนาบรรจุภัณฑ์ มีผลงานวิจัยและบทความในวารสารนานาชาติ ไม่ต่ำกว่า 25 เรื่อง และวารสารในประเทศอีกจำนวนมาก
ผศ.ดร. วีระ โลหะ 129 เทคโนโลยีพลังงานทดแทนและการอนุรักษ์พลังงาน ออกแบบเครื่องจักรและกระบวนการผลิตในอุตสาหกรรมอาหาร การสกัดสารสำคัญจากสบู่ดำ Foam Fractionation, Design and development Chemical andFood และ Pilot Plant Scale-Up
ดร.คมสัน นันทสุนทร 102 สารสกัดสมุนไพรทุกชนิด เพื่อนำมาใช้ใให้เกิดประโยขน์ต่อร่างกายมากที่สุด
นางสาววีรนันท์ ไชยมณี 107 การประยุกต์ใช้จุลินทรีย์ทางด้านเทคโนโลยีชีวภาพ สารสกัดจากธรรมชาติในการประยุกต์ใช้ทางด้านเทคโนโลยีชีวภาพ โรคผึ้งและไรศัตรูผึ้ง
ผศ.วรรธิดา หอมถาวรชู 112 1.แก้ปัญหาในกระบวนการผลิต ยืดอายุการเก็บ การประยุกต์ใช้สารสกัดจากธรรมชาติ 2.การแก้ปัญหาในกระบวนการผลิต การลดการเหม็นหืน การยืดอายุการเก็บรักษา การประยุกต์ใช้สารสกัดจากธรรมชาติ 3. การเพิ่มมูลค่า ผลิตภัณฑ์เกษตร สมุนไพรและวัสดุเศษเหลือทางการเกษตร การพัฒนาฟิล์มจากวัสดุเกษตร 4.การพัฒนา/การเพิ่มมูลค่า ผลิตภัณฑ์ ขนมจีน เส้นจากแป้งข้าว เพื่อสุขภาพ 5.ผลิตภัณฑ์ขนมอบ ผลิตภัณฑ์อาหารทอด ขนมทอด
ดร.สิริลักษณ์ สินธุพาชี 124 การศึกษาการสกัด สารสกัด วัฏจักร และการวิเคราะห์ สมุนไพร
ผศ.ดร.เสาวณีย์ ชัยเพชร 99 เทคโนโลยีการอาหาร การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร กระบวนการผลิตอาหาร เคมีอาหาร การสกัดและทดสอบฤทธิบางประกอบอาหาร การออกแบบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ฉัตรชัย สังข์ผุด 106 การแปรรูปและพัฒนาผลิตภัณฑ์จากพืชน้ำมันและสมุนไพร วิธีการผลิตน้ำมันมะพร้าวสกัดเย็นที่ให้ผลผลิตสูงและคุณภาพดีสามารถกระทำได้ในระดับครัวเรือน รวมถึงการนำมาใช้เป็นวัตถุดิบในการสกัดสารสำคัญจากสมุนไพรเพื่อนำมาใช้ในการผลิตเครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ
อ.ดร.วิภานุช ใบศล 97 การสกัดสารและการสกัดน้ำมันหอมระเหยจากพืชหรือวัสดุธรรมชาติ
ผศ.ดร.วีรนุช คฤหานนท์ 99 การสกัดสารและการสกัดน้ำมันหอมระเหยจากพืชหรือวัสดุธรรมชาติ
อ.ดร.อังคณา เชื้อเจ็ดตน 114 การผลิตฟิล์มเคลือบผิวที่บริโภคได้ (Edible film) จากเพคทินที่สกัดจากพืชหรือวัสดุธรรมชาติ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์จิรพร สวัสดิการ 95 เทคนิคการ Spray Dryer สินค้าเกษตรและอาหาร การทำงานของเครื่อง Spray Dryer คือการนำตัวอย่างของเหลว (feed) ที่นำมาฉีด ควรมีลักษณะเหลว และไม่ข้นมาก จากนั้นของเหลวจะถูกดูดโดยปั๊มผ่านอุปกรณ์ที่ทำให้เกิดละอองฝอยคือ atomizer ภายในห้องอบ เมื่อละอองสัมผัสกับอากาศร้อนจะทำให้เกิดการระเหยของน้ำอย่างรวดเร็ว และจะได้ผงของผลิตภัณฑ์ตกลงสู่ด้านล่างของ drying chamber ผงบางส่วนที่หลุดออกมากับอากาศจะถูกแยกโดยใช้ cyclone ซึ่งจะรวมเข้าเป็นผลิตภัณฑ์รวมในที่สุด การนำไปใช้ ผลิตภัณฑ์ต่างๆ ที่นิยมใช้กันในปัจจุบันมักอยู่ในรูปที่พร้อมใช้งานได้เลย และสามารถเก็บรักษาได้ง่ายและนาน คือการทำให้อยู่ในรูปของแห้ง ส่วนวิธีการที่นิยมใช้ในการทำแห้งวิธีหนึ่งก็คือการทำแห้งแบบพ่นฝอย (Spray Dry) โดยมีเครื่องมือที่ใช้คือเครื่องทำแห้งแบบพ่นฝอย (Spray Dryer) มักใช้วิธีนี้กับผลิตภัณฑ์อาหาร เช่น นมผง ไข่ผง อาหารเด็ก เนื้อวัวสกัด โปรตีนสกัด และผลิตภัณฑ์ยา เช่น ยาผงสมุนไพร เป็นต้น แหล่งอ้างอิง ตูแวอิสมาแอ ตูแวบีรู. 2549. Spray Dryer. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก: http://web.yru.ac.th/~ dolah/ no
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ปราณี ศรีราช 100 การสกัดน้ำมันหอมระเหย รวมไปถึงการสกัดสารสำคัญจากพืชสมุนไพร
ดร.จิราพร ขวัญมุณี 90 ชีวเคมีและชีววิทยาโมเลกุล การสกัดและแยกสารชีวโมเลกุลจากสิ่งมีชีวิตเพื่อประโยชน์ทางด้านการเกษตร อุตสาหกรรม และด้านการแพทย์ การจำแนกชนิดของสิ่งมีชีวิตด้วยดีเอ็นเอ การโคลนยีน การศึกษาการแสดงออกของยีน การผลิตโปรตีนลูกผสม (recombinant protein) การทำให้กลายพันธุ์ของยีนในหลอดทดลอง การสกัดสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพ การทดสอบฤทธิ์ทางชีวภาพ
ดร.ปาวลี ศรีสุขสมวงศ์ 122 การแพทย์แผนไทย/พัฒนายา/สมุนไพร/สุขภาพ/ความงาม, เทคโนโลยีชีววิทยาและจุลชีววิทยา การเพาะเลี้ยงจุลินทรีย์, การนำจุลินทรีย์มาใช้ประโยชน์, การนำสารสกัดจากพืชพัฒนาเป็นเครื่องสำอาง (เริ่มทำวิจัยปี 2560), การนำข้อมูลทางด้านชีววิทยามาวิเคราะห์โดยใช้วิธีการทางคณิตศาสตร์และสถิติ (เริ่มทำวิจัยปี 2560)
ดร.สมพงศ์ บุญศรี 117 การแพทย์แผนไทย/พัฒนายา/สมุนไพร/สุขภาพ/ความงาม การสกัด แยกองค์ประกอบทรงเคมี วิเคราะห์โครงสร้างสารผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ ที่ได้จากพืชและสมุนไพร
ดร.สุธิดา รัตนบุรี 95 การแพทย์แผนไทย/พัฒนายา/สมุนไพร/สุขภาพ/ความงาม, เคมีผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ "- สกัดสารจากพืชเพื่อใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ - การศึกษาพฤกษเคมีในพืช - การหาสารออกฤทธิ์จากพืช"
อุ่นฤทัย ภู่พรประเสริฐ 42 สารสกัดสมุนไพรธรรมชาติเพื่อสร้างผลิตภัณฑ์ต่างๆ เช่น สบู่ โลชั่นบำรุงผิวต่างๆ น้ำยาล้างจาน อื่นๆ " การสกัดสารเคมีจากพืชและสมุนไพรธรรมชาติและสรร้งผลิตภัณฑ์ ต่างๆ เช่น สบู่จากสารสกัดสมุพไพรน้ำยาล้างจาน โลชั่นบำรุงผิว ต่างๆ "
ดร. อรพรรณ เสลามาศสกุล 95 สกัดโปรตีนไฮโดรไลเสต โบรมิเลน สารปรุงแต่งกลิ่นรสอาหารและสารเสริมสุขภาพ การสกัดน้ำมันหอมระเหย เพื่อผลิต ผลิตภัณฑ์สปา
ดร. ณัติฐพล ไข่แสงศรี 94 บรรจุภัณฑ์อาหารที่ย่อยสลายได้จากพอลิเมอร์ สกัดโปรตีนไฮโดรไลเสต โบรมิเลน
นางสาวเพ็ญพร วินัยเรืองฤิทธ์ 95 การสกัดสีจากธรรมชาติ และผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติ
ผศ.ดร. อัจฉรา ดลวิทยาคุณ 90 กระบวนการแปรรูปและโภชนาการ ทดลองอาหาร การควบคุมคุณภาพอาหาร และสกัดสารจากพืชสมุนไพร
นางสาวสังเวย เสวกวิหารี 105 การพัฒนาผลิตภัณฑ์ สบู่ และสารทำความสะอาดในครัวเรือน การสกัดกลิ่นจากดอกไม้และสมุนไพรด้วยกระบวนการไฮโดรซอล
ดร.ชนิกานต์ คุ้มนก 105 พัฒนากระบวนการสกัดและผลิตภัณฑ์จากสารสกัดธรรมชาติ การพัฒนาการผลิตน้ำหมักชีวภาพ
ดร.อรวรรณ วนะชีวิน 109 การทดสอบฤทธิ์ทางชีวภาพของสารสกัด การทดสอบฤทธิ์ต่อการทำงานของเอนไซม์ที่เกี่ยวข้องกับกลไกการเกิดโรคเบาหวาน (Glucosidase /Amylase) การทดสอบสารพฤษเคมีเบื้องต้น การทดสอบความเป็นพิษต่อเซลล์ การเพาะเลี้ยงเซลล์สัตว์
อาจารย์ มาโนช รัตนคุณ 96 ๑. การวิเคราะห์สารอินทรีย์ ๒. การสกัดสารสำคัญในพืชและสมุนไพร
อาจารย์ ดร.รัชษาวรรณ์ มงคล 103 สารสกัดจากพืช และการประยุกต์ใช้โดยเกษตรกรรายย่อย
ดร.พิรุฬห์รัชย์ ไทยสมัคร 96 วุฒิการศึกษาปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมอาหาร) วุฒิการศึกษาปริญญาโท วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (วิศวกรรมอาหาร) วุฒิการศึกษาปริญญาเอก วิศวกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิต (วิศวกรรมอาหาร) ความเชี่ยวชาญ - ด้านการพัฒนากระบวนการอบแห้ง - ด้านพัฒนากระบวนแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร - ด้านเทคโนโลยีการสกัด - การจัดการวัสดุเกษตรเหลือทิ้ง - ความปลอดภัยด้านอาหาร
ดร.เพียงออ ยี่สา 109 การวิเคราะห์ข้อมูลการทดลองทางประสาทสัมผัสในการยอมรับของผู้บริโภค หลังจากใช้ผลิตภัณฑ์สกินครีม เพื่อทดสอบประสิทธิภาพของกรด ทาร์ทาร์ริก ที่ผลิตจากโพแทสเซียมไบทาร์เทรต การวิเคราะห์เปรียบเทียบปริมาตรจําเพาะของขนมเค้กโดยการเปรียบเทียบระหว่าง สูตรควบคุม สูตรท้องตลาด และสูตร ทดลอง เพื่อหาสูตรที่เหมาะสม
อาจารย์เกวลี ชัยชาญ 92 การทดสอบฤทธิทางกายภาพและชีวภาพของสมุนไพร การสกัดสารสําคัญจากสมุนไพร การแยก กระบวนการผลิตเครื่อง สําอางค์ผสมสมุนไพร การผลิตสบู่แบบ cold process สมุนไพรที่ไม่ใช่อาหาร
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จุฑารัตน์ เอี้ยวกฤตยากร 94 - การผลิตปุ๋ย - bioplastics - การสกัดน้ำมัน - การสกัดสาระสำคัญจากธรรมชาติ - การนำของเสียจากชีวมวลมาใช้ประโยชน์
รศ.ดร.สภุกร บุญยืน 113 ผลิตภัณพ์จากไผ่ เคมีใบไผ่ สารสกัดไผ่
ภก.ผศ.ดร.บุญดิศย์ วงศ์ศักดิ์ คณะเภสัชศาสตร์ 86 การพัฒนาสารสกัดสมุนไพร
ดร.ปรัชญา แก้วแก่น คณะวิทยาลัยวิทยาการวิจัยและวิทย 40 สารสกัดสมุนไพร ขมิ้นชัน ฟักข้าว ถั่วดาวอินคา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประชาติ วัชรบัณฑิต 111 การสกัดน้้ามันหอมระเหยในขมิ้นชัน การวิเคราะห์ปริมาณสารเคอร์คูมินอยด์ในขมิ้นชัน การจัดการธาตุอาหารในดิน
ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุชาดา สวัสดี 107 การสกัดน้้ามันหอมระเหยในขมิ้นชัน การวิเคราะห์ปริมาณสารเคอร์คูมินอยด์ในขมิ้นชัน การจัดการธาตุอาหารในดิน
รศ.ดร.อัจฉราภรณ์ ดวงใจ 95 การสกัดสมุนไพร การตรวจสอบคุณสมบัติทางกายภาพและทางชีวภาพ ผลิตภัณฑ์ส่งเสริมสุขภาพ ระบบทางเดินอาหาร เบาหวาน ลดไขมัน
นายภูมิสิษฐ์ กมลงาม 87 1.การพัฒนาเครื่องสำอางจากสารสกัดธรรมชาติ และการสกัด และเพิ่มประสิทธิภาพสารสำคัญ 2. การวิเคราะทดสอบด้านชีววิทยาระดับโมเลกุล (Molecular biology)
รศ.ดร.ภก.ภาคภูมิ พาณิชยูปการนันท์ 122 นวัตกรรมการเตรียมสารสกัดเปลือกผลมังคุดที่เตรียมด้วยเทคโนโลยี green extraction และการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากสารสกัดเปลือกผลมังคุด
ภก.วิวิศน์ สุทธิธรรมสถิต 104 การเตรียมสารสกัดเปลือกผลมังคุดด้วยวิธี microwave extraction
ภก.ธงธรรม สุขสวัสดิ์ 95 การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากสารสกัดเปลือกผลมังคุด
ผศ.ดร.กมณชนก วงศ์สุขสิน 91 การศึกษาสภาวะที่เหมาะสมในการย้อมเส้นไหมด้วยสีสกัดจากแก่นฝาง
รศ.ดร.ภญ วรรธิดา ชัยญาณะ 93 วิทยาศาสตร์เครื่องสำอาง การสกัดสารสำคัญเพื่อใช้ในเครื่องสำอาง สารต้านอนุมูลอิสระในการดูเเลผิว
ผศ.ดร.พันธ์ทิพย์ ตันอร่าม 108 การใช้สารสกัดใบเหมียดแอ่เป็นสารช่วยย้อมติดสีไหม
นางสาวพรพิมล ควรรณสุ 89 ผลิตภัณฑ์แหนมเห็ด เป็นผลิตภัณฑ์ที่กลุ่มมีการผลิตและจำหน่ายอยู่แล้ว แต่นักวิจัยจากมหาวิทยาลัยนครพนมเข้ามาพัฒนาต่อยอด 1. ขั้นตอนการผลิตให้ปลอดภัย 2. การพัฒนาบรรจุภัณฑ์ให้ทันสมัย สวยงาม และ และดึงดูดผู้บริโภค 3. การพัฒนาตลาดออนไลน์ และตลาดออฟไลน์ ขนาดบรรจุ 200 กรัม วัตถุดิบมาจาก กลุ่มวิสาหกิจชุมชนเพาะเห็ดบ้านกลาง 355 หมู่ 4 ตำบลโพนแพง อำเภออากาศอำนวย จังหวัดสกลนคร
ภก.ทวีศักดิ์ ธรรมราช 97 การสกัดสารสำคัญจากสมุนไพร
อาจารย์กิติยาพรรณ โพธิ์ล่าม 129 พัฒนาการย้อมสีสิ่งทอ การพัฒนาออกแบบลวดลายสิ่งทอ โดยการมัดย้อม พิมพ์สกรีน และการพัฒนาแปรรูปผลิตภัณฑ์เสื้อผ้า เครื่องประกอบการแต่างกาย และเคหะสิ่งทอ เพื่การเพิ่มสมบัติพิเศษด้านวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรมบนสิ่งทอ อื่น ๆ สาขาออกแบบบรรจุภัณฑ์ การออกแบบบรรจุภัณฑ์ไบโอชีวภาพ ย่อยสลายง่าย จากเส้นไยเซลลูโลสและโพลิเมอร์ PE
อาจารย์ณกันต์วลัย วิศิฎศรี 86 การทดสอบฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาของสารสกัดสมุนไพรในระดับเซลล์และโมเลกุล การค้นหากลไกการทำงานของยา และสารสกัดสมุนไพร
อาจารย์นวพร ลาภส่งผล 108 เคมีอาหาร เคมีวิเคราะห์ การวิเคราะห์กลิ่นในอาหาร โปรตีนไฮโดรไลเซท การวิเคราะห์ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระจากสารสกัดธรรมชาติหรือสารสังเคราะห์ ผลิตภัณฑ์ไอศกรีม
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สิริรัตน์ พานิช 130 - ตรวจสอบฤทธิ์ในการต้านอนุมูลอิสระด้วยวิธี FCR, DPPH, ABTS ในอาหาร สมุนไพร เครื่องดื่ม และเครื่องสำอาง -สารสกัดน้ำมันหอมระเหย และไฮโดรโซล -ปรับปรุงและพัฒนาสูตรเซรั่มบำรุงผิว -พัฒนาสูตรเครื่องสำอางค์ที่มีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ -พัฒนาผลิตภัณฑ์แผ่นมาส์คหน้าเพิ่มความชุ่มชื่น -วิเคราะห์คุณภาพ และคุณสมบัติต่าง ๆ ของเครื่องสำอางค์ เช่น ความชุ่มชื้น ฤทธิ์ในการสมานแผน ความสามารถในการลดเลือนริ้วรอย -อาหาร Superfood -อาหารที่มีโปรตีนสูงและมีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ -นมจากพืช -การวิเคราะห์เพื่อจัดทำฉลากทางโภชนการ -การตรวจสอบสารปนเปื้อนในอาหาร เช่น โลหะหนัก สารพิษ และสารปนเปื้อนเป็นต้น -วิธีการสกัด การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากสมุนไพรไทย -การตรวจวิเคราะห์องค์ประกอบ -การควบคุมคุณภาพสมุนไพรไทย -สารลดแรงตึงผิวในเครื่องสำอางค์ -สารลดแรงตึงผิวในผลิตภัณฑ์ที่ใช้ในครัวเรือน เช่น น้ำยาปรับผ้านุ่ม น้ำยาซักผ้า น้ำยาล้างจาน - เซนเซอร์ตรวจจับปริมาณโลหะหนักเช่น ตะกั่ว
นางสาวภคพร สาทลาลัย 93 เคมี/ เคมีผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ การสกัดสารและน้ำมันหอมระเหย การพัฒนาผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพเชิงสร้างสรรค์จากพืชสมุนไพร, สารสกัดธรรมชาติและน้ำมันหอมระเหย
นางสาวเพ็ญพร มีเงินลาด 110 การทำแชมพูสมุนไพรเพื่อสุขภาพ การสกัดน้ำมันสมุนไพร
ว่าที่ ร.ต.สมบูรณ์ ระดม 47 การผลิตสารสกัดชีวภาพเพื่อการผลิตพืชปลอดภัย
รศ.ดร.บุญเอก ยิ่งยงณรงค์กุล 79 การสกัด การแยก และการวิเคราะห์สารสำคัญในสมุนไพร
วิสูตร จันทร์อิฐ 95 Diarrheal viruses ไวรัสก่อโรคท้องร่วง Rotavirus ไวรัสโรตา
รศ.ดร.สมพงษ์ แสนเสนยา 137 1.ชีวเคมีของสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพ 2.กระบวนการสกัดสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพจากพืช 3.กลไกการยับยั้งเอนไซม์ก่อโรค
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อิศรา วัฒนนภาเกษม 87 เครื่องสำอางและอาหารสุขภาพ จากสารสกัดข้าวสี เสริมโปรไบโอติก
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กนกวรรณ ตาลดี 61 ลำไยเพิ่มมูลค่า สารสกัดจากลำไย และโยเกิร์ตเสริมโพลิแซคคาไรด์ลำไย
ดร.พท.พิรุณรัตน์ แซ่ลิ้ม 91 1.เภสัชเวทและเภสัชพฤกษศาสตร์ การสกัดสารสำคัญจากสมุนไพร การแยกสารสำคัญ การควบคุมคุณภาพ การศึกษาความคงตัวของสารและผลิตภัณฑ์ การวิเคราะห์ปริมาณสารสำคัญในพืชสมุนไพร การศึกษาฤทธิ์ ทางเภสัชวิทยาของสมุนไพร การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากสมุนไพร การศึกษาการต้านเซลล์มะเร็ง การศึกษาฤทธิ์แก้ปวดแก้อักเสบ
ดร.พท.ศรสวรรค์ คงภักดี 91 1.เทคโนโลยีทางเภสัชกรรมและเภสัชวิทยา การพัฒนาระบบนำส่งสมุนไพร การสกัดสารจากสมุนไพร การศึกษาฤทธิ์ต้านอักเสบและฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระของสมุนไพร
ดร.พท.ยมล พิทักษ์ภาวศุทธิ 86 1.เภสัชเวทและเภสัชพฤกษศาสตร์ การจัดทำมาตรฐานของสมุนไพร การสกัดสารสำคัญจากสมุนไพร การแยกสารสำคัญ การวิเคราะห์ปริมาณสารสำคัญในพืชสมุนไพร การศึกษาฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาของสมุนไพร
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. พยุงศักดิ์ ตันติไพบูลย์วงศ์ 81 ชีวเคมี ด้านการสกัดสารสำคัญในพืช
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. พยุงศักดิ์ ตันติไพบูลย์วงศ์ 68 ชีวเคมี ด้านการสกัดสารสำคัญในพืช
ผศ.ดร.สมบัติ อัปมระกา 114 การปลูกสมุนไพร การแปรรูปสมุนไพร การสกัดสารจากสมุนไพร
นางชฎาพร เสนาคุณ 103 การปลูกสมุนไพร การแปรรูปสมุนไพร การสกัดสารจากสมุนไพร
ผศ.ดร.สุดารัตน์ ถนนแก้ว 111 การสกัดสมุนไพร ความหลากหลายทางชีวภาพ พันธุกรรมพืช
นายธวัชชัย พันธุกาง 74 - เตรียมสารสกัดหยาบจากสมุนไพรไทยบางชนิดที่ใช้รักษาโรคเบาหวาน - ทดสอบฤทธิ์ทางชีวภาพ ได้แก่ ฤทธิ์ต้านนอนุมูลอิสระ และฤทธิ์
อาจารย์ ดร.ณัฐพร จิระวัฒนาสมกุล 88 การผลิตสารสกัดจากพืช
ผศ.ดร.ฤทัยรัตน์ สุทธิสุวรรณ 96 เครื่องสำอางจากสารสกัดสมุนไพรไทย
นางสาวกิติยา หย่างถาวร 132 การทดสอบฤทธิ์ทางชีวภาพของสารสกัดสมุนไพร (in vitro) เช่น anti-oxidant, anti-diabetic, anti-hypertensive, cytotoxicity
ภก.รศ.ดร.บุญดิศย์ วงศ์ศักดิ์ 84 การควบคุมคุณภาพสมุนไพรและผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ, เภสัชเวท,การพัฒนาสารสกัดสมุนไพร
ดร.สุพัตรา บุตรเสรีชัย 70 สเปรย์ที่สกัดมาจากมิ้นต์ มีสรรพคุณช่วยในการบรรเทาอาการปวดศรีษะ ลดอาการหวัด ลมหายใจสดชื่น
อาจารย์สุนันท์ สีพาย 85 เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุงขึ้นนี้เป็นการนำสมุนไพรที่มีในพื้นที่ คือตะไคร้หอม นำมาสกัดและแปรรูปเป็นเทียนหอมสมุนไพร ซึ่งได้รับการถ่ายทอดจากวิทยากรหลายๆ คน จนทางกลุ่มได้มาปรับแก้ไขในจุดที่ยังขาดตกบกพร่องให้สมบูรณ์แบบที่สุด
ดร.อริสรา อิสสะรีย์ 75 การสกัดสารจากธรรมชาติ การสกัดสารเพื่อใช้ทางด้านเวชสำอางค์ วิทยาศาสตร์เครื่องสำอางค์
นางสาวเพ็ญพร มีเงินลาด 94 การสกัดสมุนไพร
ดร.เนตรนภิส เขียวขำ 87 Postharvest Pathology, Phytochemical โรคภายหลังการเก็บเกี่ยว, การใช้สารสกัดจากพืชเพื่อควบคุมโรค
ดร.ชัยณรงค์ รัตนกรีฑากุล 89 1.จดอนุสิทธิบัตร "สูตรผสมสำหรับ ผลิตภัณฑ์สารสกัดสมุนไพร ชนิดสารเข้มข้นแขวนลอย" 2. จดลิขสิทธิ์ ปี 2011 จำนวน 4 เรื่อง "สินค้าคุณภาพจากแปลงสู่ผู้บริโภค" "การประเมินความเสี่ยงเป็นการเตรียมระบบ GAP ให้พร้อมกับสิ่งที่เกิดขึ้น" "การระมัดระวังระหว่างการใช้สารเคมี" "สุขอนามัยระหว่างการเก็บเกี่ยว" 3. งานวิจัยที่เป็นการรายงานครั้งแรกของประเทศไทยที่พบว่า เชื้อสาเหตุโรคกิ่งแห้งของทุเรียนเป็นเชื้อรา Fusarium incarnatum และ F. solani ไม่ใช่เชื้อรา Phytophthora palmivora ตามที่นักวิชาการหลายท่านเข้าใจ รวมทั้งพบว่าเชื้อรา Phytopythium vexans สามารถเข้าทำลายทุเรียน และทำให้เกิดโรครากเน่าโคนเน่าได้เช่นเดียวกับ P. palmivora และได้แนะนำสารเคมีป้องกันกำจัดเชื้อราชนิดที่ควบคุมได้ทั้งเชื้อรา Fusarium, Phytophthora, Phytopythium และ Pythium โดยเกษตรกรไม่จำเป็นต้องสิ้นเปลืองซื้อสารเคมีหลายชนิดมาผสมเองเพราะสาเหตุที่แท้จริงของโรคกิ่งแห้งนั้นเกิดจากเชื้อรา Fusarium solani และ F. incarnatum มิได้เกิดจากเชื้อรา Phytophthora palmivora และได้แนะนำสารเคมีที่มีประสิทธิภาพในการควบคุมโรคกิ่งแห้งซึ่งสามารถควบคุมเชื้อรา Phytophthora palmivora สาเหตุโรครากเน่าโคนเน่าของทุเรียนได้อีกด้วย โดยจำเป็นต้องระมัดระวังการใช้สารเคมี benzimidazoles มากยิ่งขึ้น เนื่องจากเชื้อราสาเหตุเกิดการต้านทานได้ 4. หาความแตกต่างของสารประกอบบนผิวมะม่วงที่ได้รับสารกลุ่ม salicylic เพื่อกระตุ้นความต้านทานโรคแอนแทรคโนส จากงานวิจัยการกระตุ้นความต้านทานการเกิดโรคในมะม่วงหลังการเก็บเกี่ยว
ดร.อัณณ์ชญาน์ มงคลชัยพฤกษ์ 62 1. พัฒนาผลิตภัณฑ์ส่งเสริมการเจริญของพืชจากแบคทีเรียทนเค็มและการทดสอบประสิทธิภาพการส่งเสริมการเจริญของพืชตระกูล Solanaceae ในระดับแปลงปลูก 2. ศึกษาถึงการแสดงออกของยีน Ethylene Response Factors (ERF) ในการควบคุมเสื่อมสภาพของดอกกล้วยไม้สกุลหวายพันธุ์ขาวสนานในระดับการถอดรหัสของยีน 3. การจัดการหลังการเก็บเกี่ยวและการบรรจุภัณฑ์เพื่อควบคุมคุณภาพของผลิตผลและชิ้นผลิตผลตัดแต่งพร้อมบริโภคของพืชเศรษฐกิจบางชนิด 4. พัฒนาศักยภาพของทรัพยากรแบคทีเรียทนเค็มกลุ่มที่สร้างสาร indole-3-acetic acid (IAA) และสารควบคุมราก่อโรคเพื่อการใช้ประโยชน์ในการส่งเสริมการปลูกและคุณภาพของมะเขือเทศหลังการเก็บเกี่ยว
ดร.เนตรนภิส เขียวขำ 86 Postharvest Pathology, Phytochemical โรคภายหลังการเก็บเกี่ยว, การใช้สารสกัดจากพืชเพื่อควบคุมโรค
ดร.นฎาภัสส์ คุ้มกลาง 74 แปรรูปอาหาร, การผลิตเอทานอลจากกระบวนการ fermentation และการทำให้บริสุทธิ์ สารสกัดการต้านอนุมูลอิสระ การต้านการอักเสบ
ผศ.ดร.ไชยวัฒน์ ไชยสุต 52 เทคโนโลยีการสกัดสมุนไพรทำเครื่งสำอาง อาหารเสริมจากสมุนไพร
ผศ.สุไหลหมาน หมาดโหยด 60 การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ โรคสัตว์น้ำ การปรับปรุงพันธุ์ การจัดการฟาร์มสัตว์น้ำ สารสกัดยับยั้งเชื้อก่อโรคในสัตว์น้ำ
นางสาวสุภัตรา สิริสถิรสุนทร 36 การสกัดโปรตีนจากสัตว์น้ำ - ผลิตภัณฑ์อาหารหมักจากสัตว์น้ำ - การถนอมอาหารเพื่อโภชนาการ - การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อโภชนาการ
ดร.ดลพร ว่องไวเวช 46 - การเพิ่มมูลค่าผลผลิตทางการเกษตร การแปรรูปอาหาร - การสกัดและวิเคราะห์ปริมาณสารสำคัญในผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรและอาหารเพื่อสุขภาพ (Functional food) - การสกัดสารมูลค่าสูงจาก waste อุตสาหกรรมอาหาร
ผศ.ดร.กฤตยา หนูสาย 38 กลุ่มสาขา Natural Sciences เทคโนโลยีการสกัดสีจากธรรมชาติสำหรับใส่ในอาหาร การใช้สีจากธรรมชาติในการทำผ้ามัดย้อม
ศ.ดร.ศิริธร ศิริอมรพรรณ 24 การทำผงแจ่วฮ้อน ข้าวลดเบาหวาน ผงแกงอ่อม ข้าวชงดื่มลดเบาหวานรสกาแฟและรสโกโก้ ชาใบอ่อนข้าว
ดร.ปัทมา จันทร์เรือง 31 -ความรู้การเตรียมสารชีวภัณฑ์และสารสกัดสมุนไพรสำหรับการผลิตกาแฟอินทรีย์ -ความรู้เรื่องกระบวนการดูแลรักษาโรคและแมลงทั้งกระบวนการปลูก และการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวกาแฟอินทรีย์ - ถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านการเลี้ยงชันโรงในสวนกาแฟอินทรีย์
นางสาวกัลยา พงสะพัง 46 การวิเคราะห์และการเขียนแผนธุรกิจ ธุรกิจเพื่อสังคม การบริหารจัดการองค์การ การออกแบบผลิตภัณฑ์ การจัดการการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ การผลิตสารสกัดและผลิตภัณฑ์สารสกัดในเชิงการค้า
อาจารย์ รัฐพรรณ สันติอโนทัย 47 วุฒิการศึกษาปริญญาตรี การแพทย์แผนไทยประยุกต์บัณฑิต วุฒิการศึกษาปริญญาโท วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วิทยาการเภสัชภัณฑ์) ความเชี่ยวชาญ การแพทย์แผนไทย / เครื่องสำอาง / เวชภัณฑ์เภสัชภัณฑ์/ การพัฒนา สารสกัดจากสมุนไพรเพื่อพัฒตาเป็นผลิตภัณฑ์ / Cosmetic nano technology สาขาความเชียวชาญ การแพทย์แผนไทย/พัฒนายา/สมุนไพร/สุขภาพ/ความงาม [181]
อาจารย์สุริยา ชัยวงค์ 37 เภสัชเวทและเภสัชพฤษศาสตร์ (การสกัดและแยกสารจากสมุนไพร) การทดสอบฤทธิ์ทางชีวภาพของสารในหลอดทดลองและสัตว์ทดลอง การพัฒนาผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ การศึกษาทางเซลล์และอณูชีววิทยา ในการตอบสนองต่อสารธรรมชาติหรือผลิตภัณฑ์สุขภาพ
ผศ.ดร.ภวิกา มหาสวัสดิ์ 34 การเตรียมสารสกัดจากสมุนไพร การทดสอบฤทธิ์ทางชีวภาพต่าง ๆ ของสารสกัด