ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปภากร พิทชวาล 91 เครื่องจักรและระบบการผลิต
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ คธา วาทกิจ 98 เครื่องจักรและระบบการผลิต
ดร.ภูกิจ คุณเจริญหิรัญ 114 เทคโนโลยีการผลิตก๊าชชีวภาพจากมูลสัตว์เพื่อใช้เป็นพลังงานทดแทนฯ
นางสาวนัฎฐา คเชนทร์ภักดี 136 กระบวนการผลิต การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร การสกัด การทดสอบการดูดซึมอาหารด้วยการจำลองระบบย่อยและทดสดอบด้าน cell line การยืดอายุการเก็บรักษาด้วยการพัฒนาบรรจุภัณฑ์
ผศ.ดร.ชัยรัตน์ บูรณะ 130 เทคโนโลยีการผลิตพืช การจัดการเกษตร การวางแผนการใช้ที่ดินเพื่อการเกษตร (สวนพืชเขตร้อนและกึ่งร้อน) เกษตรสมัยใหม่ (Digital Agriculture, Smart Farm)
ผศ.ดร.วิบูลย์ ช่างเรือ 120 เทคโนโลยีแปรรูปผลผลิตเกษตรหลังการผลิต เฃ่น ออกแบบ สร้าง เครื่องจักรและพัฒนากระบวนการ
นายกานต์ วิรุณพันธ์ 88 เทคโนโลยีการออกแบบและจัดสร้างเครื่องจักร ปรับปรุงพัฒนากระบวนการผลิต
นางณิฐิมา เฉลิมแสน 115 มีความเชี่ยวชาญด้านการผลิตอาหารสัตว์ เพื่อเศรษฐกิจ โดยเน้นวัสดุในท้องถิ่น และวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรมาประยุกต์คำนวณสูตรอาหารสัตว์
ดร.ละออทิพย์ ไมตรี 109 เทคโนโลยีการผลิตพืชผักเศรษฐกิจ เทคโนโลยีการเก็บเมล็ดพันธุ์ ตรวจประเมินมาตรฐานการผลิตพืชในระบบปลอดภัย
ผศ.ดร. ขวัญนรี กล้าปราบโจร 108 การบริหารจัดการสารสนเทศทางการบัญชี การเพิ่มศักยภาพทางบัญชี การบริหารต้นทุนการผลิต โมบายแอปพลิเคชันสำหรับการบริหารต้นทุนการผลิตเกษตรกรสมัยใหม่
นันทวัน หัตถมาศ 125 การยืดอายุผัก/ผลไม้ การผลิตปุ๋ยชีวภาพ การแปรรูปทางเกษตร การจัดการวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ การแยกโมเลกุลดีเอ็นเอ
ผศ.ดร.กาญจนา อัจฉริยจิต 130 ถ่านอัดแท่ง พลังงานทดแทน การวิเคราะห์องค์ประกอบทางเคมี การผลิตผลิตภัณฑ์ในชีวิตประจำวัน
นายสิทธิพงษ์ คล้ายสุข 104 การผลิตอาหารสำหรับเลี้ยงสัตว์น้ำ
นายประหยัด บุญโต 81 การผลิตปุ๋ยมูลสัตว์อัดแท่ง
ดร.รณกร สร้อยนาค 104 ด้านการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต การยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์/ระบบมาตรฐาน บริการปรึกษาแนะนำการจัดทำระบบ GMP การวิจัย และพัฒนาผลิตภัณฑ์การแปรรูปอาหารทุกประเภท
นายสันติโรจน์ เกียรติศิริโรจน์ 97 การผลิต การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร สมุนไพร ระบบมาตรฐานทางด้านการเกษตร
นางเยาวพา ความหมั่น 104 การแปรรูปและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร, เทคโนโลยีเอนแคปซูเลชัน (Encapsulation Technology), การผลิตไมโครแคปซูลน้ำมัน (Oil microcapsule), เทคโนโลยีผลิตภัณฑ์อาหารผง (Food powder technology), การสกัดรงควัตุจากธรรมชาติ (Natural pigment extraction)
ผศ.ดร. น้ำทิพย์ วงษ์ประทีป 150 เทคโนโลยีอาหาร การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร การพัฒนาผลิตภัณฑ์ การพัฒนาบรรจุภัณฑ์ การผลิตตามหลักเกณฑ์การผลิตอาหารที่ดีโรงงานเครื่องดื่มและอุตสาหกรรมอาหาร การแปรรูปข้าว การแปรรูปผักและผลไม้ เครื่องดื่มสมุนไพร
อาจารย์ธวัลรัตน์ สัมฤทธิ์ 114 การพัฒนาผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ของอาหารหรือเครื่องดื่ม วิศวกรรมอาหารการออกแบบเครื่องจักรกลอาหาร กระบวนการแปรรูปอาหารระบบทำความเย็นในอุตสาหกรรมการจำลองสถานการณ์เชิงวิศวกรรม การวางแผนกระบวนการผลิตอาหารมาตรฐานความปลอดภัยของการผลิตอาหาร การจัดการผลผลิตทางการเกษตรหลังการเก็บเกี่ยว
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุภาวดี แหยมคง 102 ผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้องกับสัตว์ เช่น ไข่ ไก่ ปลา หมู เทคโนโลยีการผลิตโคเนื้อ
อาจารย์สุรินทราพร ชั่งไชย 101 วิศวกรรมอาหาร การออกแบบเครื่องจักรกลอาหาร กระบวนการแปรรูปอาหารและการยืดอายุการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์ การออกแบบโรงงานอาหาร การวางแผนกระบวนการผลิตอาหาร มาตรฐานความปลอกภัยของอาหารในระดับสากล การประเมินคุณภาพอาหารและผลผลิตทางการเกษตรทางคุณสมบัติทางกายภาพและเคมี และเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว
อาจารย์พรทิศา ทองสนิทกาญจน์ 78 การสร้างสูตรอาหารสัตว์น้ำ, การผลิตสัตว์น้ำต้นทุนต่ำ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ปัญญา เทียนนาวา 103 การออกแบบและสร้างเครื่องร่อนดินทำความสะอาดหัวกระชายดำ สำหรับระบบการผลิตกระชายดำของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนสมุนไพร
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วิจิตรา เหลียวตระกูล 115 1. การสกัดและวิเคราะห์สาระสาคัญจากผลผลิตทางการเกษตร 2. การวิเคราะห์คุณภาพอาหาร เทคโนโลยีแป้ง เทคโนโลยีอาหารผง มาตรฐานอาหาร 3. วิศวกรรมอาหาร โดยเฉพาะกระบวนการให้ความร้อนแก่อาหาร และการทาแห้งด้วยเทคนิคต่าง ๆ เช่น การทาแห้งแบบพ่นฝอย การทาแห้งแบบแช่เยือกแข็ง และการทาแห้งด้วยเตาอบลมร้อน เป็นต้น
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ฉวีวรรณ บุญเรือง 109 1.การจัดการศัตรูพืช การจัดการผลิตผลหลังการเก็บเกี่ยว 2.การผลิตจุลินทรีย์และผลิตภัณฑ์จุลินทรีย์ส่งเสริมการเจริญเติบโตและควบคุมศัตรูของพืช การผลิตเห็ด 3.การผลิตพืชปลอดภัย
อ.ดร.ภาวิณี เทียมดี 99 การพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตบรรจุภัณฑ์จากเศษเหลือทิ้งจากการปลูกและแปรรูปกล้วยน้าว้า
อาจารย์ ดร.ภาราดร งามดี 142 -การพัฒนาผลิตภัณฑ์ของฝากจากกล้วยน้าว้า -การพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตบรรจุภัณฑ์จากเศษเหลือทิ้งจากการปลูกและแปรรูปกล้วยน้าว้า
อ.วิยะดา พลชัย 46 การจัดการแผนกลยุทธ์ การท่องเที่ยวเชิงเกษตรผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยว
ผศ.ศรีประไพ จุ้ยน้อย 105 การผลิตเครื่องนุ่งห่มและผลิตภัณฑ์ทางด้านสิ่งทอ การใช้โปรแกรมCAD/CAM ในงานเครื่องนุ่งห่ม
ผศ.ดร.สุกาญจน์ รัตนเลิศนุสรณ์ 104 "1.การผลิตสารชีวภาพและสารสกัดสาอาหารหลักรองและเสริม สารชีวภาพ สารปฏิชีวนะ ด้วยชีวเทคโนโลยี เทคโนโลยีนาโนและเทคโนโลยีเอนไซม์ร่วมกับกลไกหัวเชื้อจุลินทรีย์นาโน เพื่อการเกษตรอินทรีย์ ประมงอินทรีย์ มาตรฐานอินทรีย์ไทย 2.การแปรรูปวัสดุเหลอทิ้งจากโรงงานอุตสาหกรรมด้วยชีวเทคโนโลยี เทคโนโลยีนาโนและเทคโนโลยีเอนไซม์ร่วมกับกลไกหัวเชื้อจุลินทรีย์นาโน เพิ่มเพิ่มมูลค่า รายได้ ลดปัญหามลพิษสิ่งแวดล้อม "
ผศ.ดร.ดวงฤทัย ธำรงโชติ 118 1.อาจารย์ประจำหลักสูตรพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร2.วิทยากรให้ความรู้เรื่องการแปรรูปอาหาร/การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร/บรรจุภัณฑ์อาหาร/ การควบคุมคุณภาพผลิตภัณฑ์อาหาร3.กรรมการผู้ตรวจประเมินสถานประกอบการ และผลิตภัณฑ์ เพื่อขอการรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน
สุชาติ ปุริตธรรม 113 การออกแบบอุปกรณ์ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้สูงอายุ การออกแบบและพัฒนาแท่นเลื่อนสำหรับเครื่องเร้าเตอร์ ประธานอนุกรรมการกำหนดมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ สาขาช่างประกอบติดตั้งเฟอร์นิเจอร์ ระดับ 1 และระดับ 2 การผลิตและการออกแบบอุปกรณ์ช่วยการผลิต
นางสาวอิศกฤตา โลหพรหม 139 การศึกษาความเหมาะสมเชื้อเพลิงอัดเม็ดจากกะลามะพร้าวและเปลือกมะพร้าว การศึกษาประสิทธิภาพของระบบปรับอากาศแบบแยกส่วนร่วมกับพลังงานความร้อนทิ้งเหลือใช้ ปัจจัยที่มีผลต่อการผลิตแก๊สไฮโดรเจนโดยใช้ระบบผลิตไฟฟ้าและน้ำร้อนร่วมพลังงานแสงอาทิตย์ สาขาพลังงาน-พลังงานทดแทน สาขาวิศวกรรมศาสตร์-วิศวกรรมเครื่องกล
นางสาวอรอนงค์ สรรเสริญ 116 หลักสูตรกุญแจสู่ความสำเร็จของนักขาย บริษัท วีอาร์ แฮนเดิล จำกัด หลักสูตรคิดนอกกรอบการตลาด กลยุทธ์ของนักขาย บริษัทพรพรหม เมลเทิล จำกัดมหาชน ฝ่ายประสานงานรายการโทรทัศน์และฝ่ายประสานงานแฟชั่น นิตยสาร BOSS และนิตยสารทีวีพลู บริษัท โน้ตพับลิชชิ่ง ผู้อำนวยการฝ่ายการผลิตและผู้จัดการฝ่ายประชาสัมพันธ์ บริษัทอังกอร์ จำกัด
นางสาว สุภาพร ตาไข 133 การจัดการงานแฟชั่นและการออแบบ สิ่งทอส าหรับสินค้าแฟชั่น การวิเคราะห์แนวโน้มแฟชั่น/สิ่งทอ การท าแบบตัดเสื้อผ้าและผลิตภัณฑ์อื่น ๆ จากผ้า การผลิตต้นแบบเสื้อผ้าและผลิตภัณฑ์อื่น ๆ จากผ้า ความรู้เรื่องผ้าและเครื่องแต่งกาย และเทคนิคการแสดงแฟชั่นโชว์ ณ Bunka Fashion College, Japan บริษัท จินตนาแอพ พาเรล จ ากัด ผลิตเสื้อผ้าชุดชั้นใน ดีไซน์-แพทเทิร์น (ต่างประเทศ) ออกแบบและท าแบบตัด ชุดชั้นในเพื่อส่งออก ต่างประเทศ
วุฒิศาสตร์ โชคเกื้อ 91 ก๊าซชีวภาพและ การผลิตไฟฟ้าจากก๊าซชีวภาพ
สุมลวรรณ ชุ่มเชื้อ 108 เทคนิคการผลิตปลาส้ม และผลิตภัณฑ์อาหารต่างๆ
ดร.ภัทรพร ภักดีฉนวน 99 เชี่ยวชาญในด้านการปรับปรุงพันธุ์ข้าวเทคโนโลยีการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าว
นายสมบัติย์ มงคลชัยชนะ 82 มีความเชี่ยวชาญด้านการผลิตเครื่องมือและเครื่องจักรกลทางการเกษตร
รศ.ดร.สมชาติ หาญวงษา 91 มีความเชี่ยวชาญด้านการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าว และโรคพืช วัชพืชในแปลง และการป้องกันกำจัด
ผศ.มนัส จูมี 93 มีความเชี่ยวชาญด้านการผลิตไม้ผลเมืองร้อน การขยายพันธุ์พืช
นางจันทรา สโมสร 105 มีความเชี่ยวชาญด้านการจัดการฟาร์มโคนม การผลิตอาหารสำหรับโครีดนม
นายกิตติคุณ ปิตุพรหมพันธุ์ 83 การพัฒนาเครื่องสับพืชและผสมอาหารสัตว์เพื่อลดต้นทุนการผลิตโคเนื้อ
อาจารย์สุทธิ์พงษ์ ฟุ้งเดช 86 เครื่องต้นแบบการผลิตปุ๋ยหมักอัติโนมัติจากผักตบชวาด้วยระบบถังปิดเติมอากาศแบบถังหมุน
อาจารย์บรรลุ เพียชิน 81 การออกแบบและพัฒนาเครื่องแปรรูปอาหารสำเร็จรุปสำหรับโคเนื้อแบบควบคุมอัตราส่วนการผสมอัตโนมัติ
นายณัฏฐวุฑท์ กุตระแสง 94 ถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตเห็ด ด้วยโรงเรือนเพาะเห็ดระบบทำความเย็นด้วยถ่าน
นางณิชานันท์ กุตระแสง 130 การผลิตและขยายหัวเชื้อชีวภัณฑ์ป้องกันและกำจัดศัตรูพืช
อุมาวดี ศรีเกษตรสรากุล 107 สรีรวิทยาพืช การผลิตพืช
ดร.ปิยะพร พิทักษ์ตันสกุล 111 ด้านการจัดการสิ่งแวดล้อม การจัดการสวน/พื้นที่เกษตรแบบปลอดภัย ตามหลักการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (Zero Waste)
ดร.ประกอบ ชาติภุกต์ 89 เทคโนโลยีวิศวกรรมเครื่องกล เช่น การสร้างเครื่องจักรเกี่ยวกับการผลิตกับชุมชน เช่น เครื่องทำปุ๋ย เครื่องปลอกมะพร้าว เครื่องตัดสับหญ้าเนเปีย โรงอบอาหารแปรรูปทางทะเล เตาเผาขยะไร้มลพิษ เครื่องผลิตขนมต่าง ๆ เป็นต้น
ดร.รุ่งอรุณ พรเจริญ 98 เทคโนโลยีการผลิตสื่อเสมือนจริง โดยใช้เทคโนโลยีความจริงเสริม (AR) เช่น การสร้างสื่อประชาสัมพันธ์ส่งเสริมการท่องเที่ยว เป็นต้น
นายสมจริง หมื่นวิเวก 81 การผลิตอาหารไก่ไข่อารมณ์ดี
ผศ.ดร.อมรรัตน์ ชุมทอง 110 การผลิตปุ๋ยอินทรีย์ ชีวภัณฑ์ส่งเสริมการเจริญเติบโตและควบคุมศัตรูพืช
ผศ. คุลยา ศรีโยม 99 ด้านการผลิตและการจัดการอุตสาหกรรม
ผศ.ดร คริษฐ์พล หนูพรหม 67 ด้านการผลิตพีช
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พรเทพ แก้วเชื้อ 99 ความเชี่ยวชาญ : ลดต้นทุนการผลิต ลดของเสีย : สาขาเทคโนโลยีอาหาร GMP และ HACCP : ระบบการผลิต การเพิ่มผลผลิต
รองศาสตราจารย์ ดร. รวีวรรณ เดื่อมขันมณี 94 โรคพืช อารักขาพืช การกลั่นน้ำมันหอมระเหยเพื่อควบคุมโรคพืชที่เกิดจากเชื้อรา การใช้น้ำส้มควันไม้ควบคุมโรคพืช การควบคุมโรคพืชโดยชีววิธี การใช้เทคโนโลยีผลิตเห็ด การศึกษาเห็ดเอ็คโตมัยคอร์ไรซา การผลิตพืชปลอดภัย ตรวจประเมินเกษตรอินทรีย์ข้าว สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ (มกอช.)
อาจารย์สาโรจน์ ยิ้มถิน 75 การออกแบบ การผลิตเครื่องจักรช่วยในการผลิต การออกแบบเทคโนโลยีเครื่องจักรกลเกษตร
อาจารย์วิษณุ แฟงเมือง 76 การออกแบบ การผลิตเครื่องจักรช่วยในการผลิต
รศ.ดร.เอกรัตน์ เอกศาสตร์ 106 เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตมะละกอแก่เกษตรกร
อดิศัย วรรธนะภูติ 120 การจัดการโลจิสติกส์ การตลาด และการผลิต
นายนิคม วงศ์นันตา 93 เทคนิคการผลิตฝรั่งระบบค้าง
นายนิคม วงศ์นันตา 94 การผลิตสตรอว์เบอร์รีเพื่อทานผลสด
นายเสกสรร สงจันทึก 95 การผลิตข้าวโพดข้าวเหนียวหวานในระบบเกษตรอินทรีย์
ผศ.ฉันทนา วิชรัตน์ 81 การผลิตเมล็ดพันธุ์ผักอินทรีย์ไว้ใช้เอง:ผักกาดหอม
ผศ.ฉันทนา วิชรัตน์ 95 การผลิตเมล็ดพันธุ์ผักอินทรีย์ไว้ใช้เอง:ถั่วแขก
นางน้ำอ้อย น้ำดอกไม้ 95 การแปรรูปต่อยอดสินค้าเกษตรผลิตภัณ์จากพืช
นางสาวอินท์ธีมา หิรัญอัครวงศ์ 75 การผลิตขนมอบ แต่งหน้าเค้ก พัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร การสร้างสรรค์อาหารจานหวาน และการแปรรูผลผลิตทางการเกษตร
ผศ.อุดมเดชา พลเยี่ยม 93 การพัฒนาผลิตภัณฑ์เคมีในครัวเรือน สารทำความสะอาด แชมพู ยาสระผม สบู่ล้างมือ น้ำยาล้างจาน น้ำยาปรับผ้านุ่ม ยาหม่อง น้ำยาล้างรถ พิมเสนน้ำ สบู่เหลวล้างมือ และการผลิตกระดาษ
รศ.สุกัญญา กล่อมจอหอ 98 เทคโนโลยีทางด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์ การผลิตอาหารให้ถูกสุขลักษณะ การนำผลิตภัณฑ์ออกสู่ตลาดให้กับผู้ประกอบการด้านการแปรรูปอาหารให้กับผู้สนใจ
ผศ.พีรกูร อนุชานุรักษ์ 123 สัตว์ปีก, การทำสูตรอาหารสำหรับสัตว์ปีก, การผลิตสัตว์ปีก การเลี้ยงไก่พื้นเมือง
นายสมศักดิ์ เพ็ชรปานกัน 88 การเลี้ยงโคนม การทำเกษตรผสมผสาน
อาจารย์ณัชชา สมจันทร์ 124 1. การจัดการอุตสาหกรรมและวิสาหกิจ 2. การตลาดและการผลิต สำหรับวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม และวิสาหกิจชุมชน 3 การสร้างมูลค่าเพิ่ม และการพัฒนาผลิตภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์
ผศ.ดร.วราจิต พยอม 104 1. การผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าว 2. การยกระดับกลุ่มเกษตรกร
ดร.ปรีชา ทุมมุ 117 1. การพัฒนาศักยภาพการผลิตผักปลอดภัย 2. การพัฒนาเครื่องบรรจุพืชอาหารสัตว์ต้นทุนต่ำแบบสุญญากาศ 3. พืชสมุนไพรเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มด้านเวชศาสตร์ฟื้นฟูและเวชศาสตร์อายุรวัฒน์
อาจารย์เปรมชัย มูลหล้า 121 1.วิศวกรรมอุตสาหการ (การศึกษาการทำงาน, การควบคุมคุณภาพ, การเพิ่มผลผลิต, เศรษฐศาสตร์วิศวกรรม, การออกแบบและวางผังโรงงาน, การวางแผนและควบคุมการผลิต, การศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ, การบำรุงรักษาทางวิศวกรรม) 2.เทคโนโลยีสะอาด (Cleaner Technology), กระบวนการผลิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Production) 3.การออกแบบและพัฒนาเครื่องจักร, อุปกรณ์ช่วยในกระบวนการผลิต, การพัฒนาวิสาหกิจชุมชน
อาจารย์นิรมล ศรีชนะ 148 1. เคมีสภาวะแวดล้อม 2. เคมีอนินทรีย์ 3. เคมีผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ 4. การผลิตอุปกรณ์ทางวิทยาศาสตร์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุรเชษฐ์ บำรุงคีรี 79 การออกแบบ การผลิตเครื่องจักรช่วยในการผลิต การออกแบบระบบควบคุมในโรงเรือน
ผศ.ดร.วิพรรพรรณ์ เนื่องเม็ก 90 โรคพืช การผลิตเห็ดเศรษฐกิจ
นางสมพร เกตุผาสุข 109 การผลิตไข่ไก่อารมณ์ดี การเลี้ยงไก่พื้นเมือง
อาจารย์พิพัฒน์ ชนาเทพาพร 46 การผลิตโคเนื้อ โคนม การประกอบสูตรอาหารสัตว์อย่างง่าย
อาจารย์ประธาน เรียงลาด 95 การผลิตพืชอาหารสัตว์ - การใช้วัสดุเศษเหลือทางการเกษตรให้เป็นอาหารสัตว์ - การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศกับการผลิตสัตว์
อาจารย์พรทิศา ทองสนิทกาญจน์ 93 การเตรียมวัตถุดิบในการผลิตอาหารปลาอย่างง่าย - วิธีการผลิตอาหารปลาอย่างง่าย
ผศ.ดร. วีระ โลหะ 129 เทคโนโลยีพลังงานทดแทนและการอนุรักษ์พลังงาน ออกแบบเครื่องจักรและกระบวนการผลิตในอุตสาหกรรมอาหาร การสกัดสารสำคัญจากสบู่ดำ Foam Fractionation, Design and development Chemical andFood และ Pilot Plant Scale-Up
อ.ดร.ศุภชัย หลักคำ 86 เครื่องจักรและระบบการผลิต
ผู้ช่วยศาสตราจารย์จุฑาทิพย์ อาจชมภู 117 การผลิตสีจากธรรมชาติโดยใช้ได้กับผ้าทุกชนิดติดทนปลอดภัย ประหยัดต้นทุน รวมไปถึงผลิตภัณฑ์ของใช้ต่างๆที่ต้องการสีจากธรรมชาติ
นางสาวจารุณี หนูละออง 111 วิเคราะห์อาหารสัตว์ / การผลิตสัตว์
รศ.ดร. กฤติมา เสาวกูล 110 การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ, สิ่งแวดล้อมทางการประมง, การจัดการคุณภาพน้ำ, การผลิตอาหารสัตว์น้ำ,การเพาะเลี้ยงปลาหลด
ผศ.ดร.อรลัดา เจือจันทร์ 91 การขยายพันธุ์ไม้ผล(การตอน, ทาบกิ่ง, ต่อกิ่ง), การผลิตกล้าผัก
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณภัทร ทิพย์ศรี 133 1. เป็นวิทยากรจัดทำแผนธุรกิจ (Business Plan) ของธุรกิจชุมชน และทั่วไป 2. คณะกรรมการขับเคลื่อนโครงการพัฒนาผู้ประกอบการใหม่ (Startup) 3. เป็นที่ปรึกษาโครงการสินเชื่อเพื่อพัฒนาผลิตภาพการผลิต (Productivity Improvement Loan) สำหรับผู้ประกอบการพื้นที่จังหวัดเชียงรายและพะเยา 4. เป็นที่ปรึกษาการประเมินสมรรถนะร่วมที่ปรึกษาอุตสาหกรรม (I3C: Industrial Consultants Common Competency) 5. เป็นที่ปรึกษาอุตสาหกรรม SMEs ของกรมอุตสาหกรรม 6. เป็นที่ปรึกษา Startup SMEs การเขียนแผนธุรกิจและการพัฒนาผู้ประกอบการใหม่ 7. เป็นผู้จัดการและคณะกรรมการจัดโครงการเสริมสร้างองค์กรแห่งความสุขภาคเหนือตอนบน จังหวัดพะเยา
อาจารย์วุฒิกร สระแก้ว 94 เชี่ยวชาญทางด้านการผลิตอาหารสัตว์................. เชี่ยวชาญทางด้านการแปรรูปอาหารสัตว์ ...
ผศ.ดร.สุรพงษ์ ทองเรือง 90 เทคโนโลยีด้านการเลี้ยงสัตว์ การผสมเทียมโคและสุกร การจัดการฟาร์มสุกร เช่น การจัดการสุกรเล้าคลอด การจัดการลูกสุกร
ดร.รรินธร ธรรมกุลกระจ่าง 88 เทคโนโลยีการแปรรูปอาหาร เทคโนโลยีการผลิตคอลลาเจนและเจลาตินของหนังและเกล็ดปลานิล
ผศ.ดร. อิศรา วัฒนนภาเกษม 140 เทคโนโลยีการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากข้าว เทคโนโลยีการผลิตข้าวก่ำลืมผัวปลอดภัยด้วยระบบ GAP
ผศ.ดร.วรศิลป์ มาลัยทอง 103 การจัดการระบบปศุสัตว์อินทรีย์ การผลิตสัตว์ปีก
ผศ.ดร.พันธ์สิริ สุทธิลักษณ์ 109 การขอใบอนุญาตสถานที่ผลิต Primary GMP หรือ GMP/สับปะรดตัดแต่งพร้อมบริโภค การอบแห้ง การใช้ประโยชน์วัสดุเศษเหลือจากการแปรรูปสับปะรด/การแปรรูปผักผลไม้ด้วย HPP/การออกแบบผังกระบวนการผลิต/การปรับปรุงคุณภาพและยืดอายุการเก็บรักษาผักผลไม้ตัดแต่งพร้อมบริโภค
อ.ดร.ณัฐวุฒิ ดอนลาว 118 1. การปรับปรุงกระบวนการผลิตเพื่อยกระดับคุณภาพผลิตภัณฑ์ / ลดต้นทุนในการผลิต / ยืดอายุการเก็บรักษา / รักษาคุณค่าทางโภชนาการของผลิตภัณฑ์ 2. กระบวนการผลิตชา อาหารเพื่อสุขภาพ อาหารทางเลือก 3. การปรับปรุงกระบวนการผลิต การเลือกใช้เครื่องจักรในกระบวนการผลิต 4. การอบแห้งอาหาร
ผศ.ดร.วิรงรอง ทองดีสุนทร 124 1. การออกแบบบรรจุภัณฑ์ เพื่อยืดอายุการเก็บรักษาผลิตผลเกษตรและผลิตภัณฑ์อาหาร 2.การใช้ประโยชน์เส้นใยและเซลลูโลสจากพืช / การผลิตฟิล์มบริโภคได้ / สารเคลือบผิวผลไม้ที่รับประทานได้ 3.เทคโนโลยีและนวัตกรรมบรรจุภัณฑ์เพื่อยืดอายุการเก็บของผลิตภัณฑ์
ผศ.วรรธิดา หอมถาวรชู 112 1.แก้ปัญหาในกระบวนการผลิต ยืดอายุการเก็บ การประยุกต์ใช้สารสกัดจากธรรมชาติ 2.การแก้ปัญหาในกระบวนการผลิต การลดการเหม็นหืน การยืดอายุการเก็บรักษา การประยุกต์ใช้สารสกัดจากธรรมชาติ 3. การเพิ่มมูลค่า ผลิตภัณฑ์เกษตร สมุนไพรและวัสดุเศษเหลือทางการเกษตร การพัฒนาฟิล์มจากวัสดุเกษตร 4.การพัฒนา/การเพิ่มมูลค่า ผลิตภัณฑ์ ขนมจีน เส้นจากแป้งข้าว เพื่อสุขภาพ 5.ผลิตภัณฑ์ขนมอบ ผลิตภัณฑ์อาหารทอด ขนมทอด
ผศ.ดร.จิรัฎฐ์ ศิริเมืองมูล 109 1.การวิเคราะห์ปัญหาที่เกิดขึ้นในกระบวนการผลิตอาหารและเครื่องดื่มเพื่อนำไปสู่แนวทางการแก้ไข 2.ประเมินการยอมรับของผู้บริโภคที่มีต่อผลิตภัณฑ์ ด้วยการทดสอบทางประสาทสัมผัส รวมทั้งการวิเคราะห์พฤติกรรมของผู้บริโภคด้วยการเชื่อมโยงกับหลักการตลาด 3.การพัฒนาต่อยอดจากผลิตภัณฑ์เดิม และนำของเหลือใช้จากการเกษตรมาพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ใหม่ เพื่อที่สอดคล้องกับความต้องการของผู้บริโภค หรือสามารถยืดอายุเก็บรักษาได้นานขึ้น
นางสาวเจิมขวัญ ศรีสวัสดิ์ 119 1. เครื่องใช้ ของตกแต่ง และของที่ระลึก การผลิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 2.เกณฑ์มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน (สิ่งทอ) 3.การย้อมสีธรรมชาติ (สิ่งทอ) 4.การเลี้ยงและแปรรูปผลิตภัณฑ์จากไหมอีรี่(สิ่งทอ)
นางทองพันธ์ สุปะมา 95 การผลิตผ้าไหมทอมือ คุณภาพ การฟอกย้อมสีไหมด้วยวัสดุธรรมชาติ การแปรรูผลิตภัณฑ์
อาจารย์ ดร.นิรมล จันทรชาติ 72 กระบวนการผลิตไบโอดีเซล, กระบวนการผลิตก๊าซชีวภาพ, กระบวนการผลิตไบโอเอทานอล
ผศ.ดร.อุษา อ้นทอง 106 สาขาเทคโนโลยีการเกษตร (การประยุกต์ใช้เศษเหลือทิ้งจากการผลิตพลังงานทดแทนมาใช้ให้เกิดประโยชน์
อ.ดร.รัทรดา เทพประดิษฐ์ 85 สาขาเทคโนโลยีอาหาร (การแปรรูปและการปรับปรุงกระบวนการผลิตอาหาร)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ไกรศรี ศรีทัพไทย 48 การผลิตพืชผลทางการเกษตร
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สุภกาญจน์ พรหมขันธ์ 73 เทคโนโลยีการผลิตและแปรรูปอาหาร
นายขจรเดช พิมพ์พิไล 61 พัฒนาออกแบบเครื่องจักร ระบบควบคุม ระบบทำความร้อน และความเย็น วิเคราะห์การใช้พลังงาน การจัดการ และอนุรักษ์พลังงาน การเพิ่มประสิทธิภาพ และลดต้นทุนการผลิตในอุตสาหกรรม ด้วยวิธีการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
นายวรณ์ ดอนชัย 117 ผ้าและเครื่องแต่งกาย - องค์ความรู้ด้านสิ่งทอพื้นบ้าน/เส้นใยธรรมชาติ/สีย้อมธรรมชาติ ผ้าและเครื่องแต่งกาย - การพัฒนาคุณภาพผ้าทอย้อมสีธรรมชาติ(พัฒนากระบวนการย้อม-การทดสอบคณุภาพผ้า) ผ้าและเครื่องแต่งกาย - การพัฒนากระบวนการผลิตสิ่งทอพื้นบ้านให้เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม - พัฒนากระบวนการฝึกอบรม พัฒนาศักยภาพและประเมินผลวิทยากรชุมชน - การพัฒนาเครือข่ายความร่วมมือระหว่างชุมชนกับหน่วยงานภาครัฐและเอกชน
นายวิญญู ศักดาทร 136 สาขาเทคโนโลยีอาหาร - กระบวนการผลิตและระบบผลิต สาขาออกแบบผลิตภัณฑ์ - ออกแบบผลิตภัณฑ์เชิงวิศวกรรม ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม - ออกแบบบรรจุภัณฑ์ กราฟิก และโครงสร้าง branding
ดร.อรทัย บุญทะวงศ์ 93 การแปรูปผลิตภัณฑ์ด้านอาหาร การเก็บรักษา การเลือกใช้บรรจุภัณฑ์ การยืดอายุการเก็บรักษา และการพัฒนาสถานที่การผลิตอาหารเพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐาน อย.
นายชัยธวัช จารุทรรศน์ 84 การผลิตเห็ดแบบครบวงจร
อาจารย์เนติยา การะเกตุ 99 การเพิ่มปริมาณเนื้อเยื่อในหลอดแก้ว การวิเคราะห์สารสำคัญและการกระตุ้นการผลิตสารสำคัญในพืช
ดร.ภัทราภรณ์ ศรีสมรรถการ 137 1. เทคโนโลยีการผลิตและพัฒนาคุณภาพผัก-ผลไม้และผลิตภัณฑ์ (เครื่องดื่มคุณภาพไวน์) 2.เทคโนโลยีเนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์ 3.การจัดการมาตรฐานและความปลอดภัยในการผลิตอาหารและเครื่องดื่ม
นายสมบัติ น้อยมิ่ง 87 มีความเชียวชาญด้านการออกแบบเครื่องจักรเพื่อเพิ่มความสามารถในขั้นตอนการผลิต และขั้นตอนการทำเทคโนโลยีเครื่องจักรมาใช้ในกระบวนการผลิต
นางปาริชาติ ณ น่าน 91 1. เทคโนโลยีการผลิตและพัฒนาคุณภาพผัก-ผลไม้ธัญพืชและผลิตภัณฑ์ 2. เทคโนโลยีเนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์
ผศ.ดร.นิอร โฉมศรี 106 1.เทคโนโลยีเอนไซม์ทางอาหาร และเทคนิคในการทำโปรตีนให้บริสุทธิ์ 2.จุลชีววิทยาทางอาหาร (เช่น การประยุกต์ใช้จุลินทรีย์กับอาหารหมัก การตรวจวิเคราะห์และการควบคุมคุณภาพอาหารทางจุลินทรีย์ การผลิตกล้าเชื้อจุลินทรีย์ การควบคุมจุลินทรีย์เพื่อความปลอดภัยทางอาหาร ฯลฯ)
ผศ.ดร. จิรภา พงษ์จันตา 96 1.เทคโนโลยีการผลิตและพัฒนาผลิตภัณฑ์จากธัญพืชและพืชหัว 2.การจัดการมาตรฐานและความปลอดภัยในการผลิตอาหารและเครื่องดื่ม
อาจารย์รัตนพล พนมวัน ณ อยุธยา 116 1.การผลิตแอลกอฮอล์ 2. เทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานทางเลือก 3.เครื่องจักรกลทางการเกษตร เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว
รศ.ดร. ชิติ ศรีตนทิพย์ 129 สรีรวิทยาของไม้ผล เทคโนโลยีการผลิตและจัดการไม้ผล เทคโนโลยีการปลูกพืชโดยไม่ใช้ดินเทคโนโลยีพลาสม่าและไมโคร/นาโนบับเบิล
ดร.ชยานนท์ สวัสดีนฤนาท 107 วุฒิการศึกษาปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์ (สิ่งแวดล้อม) วุฒิการศึกษาปริญญาโท M.S. (Environmental Engineering) วุฒิการศึกษาปริญญาเอก Ph.D. (Molecular Biosciences and Bioengineering) - ด้านเทคโนโลยีการผลิตก๊าซชีวภาพ - ด้านเทคโนโลยี biorefinery - ด้านเทคโนโลยีการบำบัดน้ำเสียและของเสีย - ด้านเทคโนโลยีพลังงานและสิ่งแวดล้อมชุมชน - ด้านมลพิษทางอากาศ PM 2.5
ผศ.นภา ขันสุภา 122 เทคโนโลยีการจัดการผักปลอดภัย การแปรรูปผักเชียงดา
ผศ.ปริญญาวดี ศรีตนทิพย์ 105 เทคโนโลยีการจัดการผักปลอดภัย การแปรรูปผักเชียงดา
นางสาวหัสลินดา บินมะแอ 117 อบรมให้ความรู้ด้านเทคนิคทางจุลชีววิทยา, อบรมเจลยับยั้งจุลินทรีย์, การทำโยเกิร์ตอย่างง่าย, การผลิตโยเกิร์ตเพื่อสุขภาพ, การเลี้ยงและขยายเชื้อพันธุ์วุ้นสวรรค์อย่างง่าย, อาหารปลอดภัย ห่างไกลเชื้อโรค
นางสาวทัศนีย์ รัดไว้ 104 เทคโนโลยีการจัดการสวนไม้ผล / การผลิตพืชไร่/การผลิตไม้ผล/การปลูกผักไฮโดรโปนิกส์
ดร.พิพัฒน์ จันทร์ประดิษฐ์ 103 เทคโนโลยีชีวภาพด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม การจัดการและการใช้ประโยชน์จากวัสดุเศษเหลือทางการเกษตร การคิดและการออกแบบนวัตกรรมเชิงสร้างสรรค์ การถ่ายทอดเทคโนโลยีชุดต้นแบบด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม แห่งการเรียนรู้ตามแนวทางในการจัดการและการสร้างมูลค่าเพิ่มแก่วัสดุเศษเหลือทางการเกษตร เพื่อการผลิตก๊าซชีวภาพและปุ๋ยหมักแก่กลุ่มวิสาหกิจชุมชนนวัตวิถีวิทย์ ด้วยกิจกรรมการอบรมเชิงปฏิบัติการ เพื่อการพึ่งพาตัวเองได้อย่างยั่งยืนในสถานการณ์โควิดตามแนวทาง ชีวิตวิถีใหม่ (new normal) ได้เป็นอย่างดี
อาจารย์ปริญญวัตร ทินบุตร 127 เชี่ยวชาญด้าน การออกแบบกระบวนการผลิต ด้านวิศวกรรมโลหะวิทยาและวัสดุ การพัฒนาเครื่องมือเครื่องจักร การแปรรูปสินค้าทางการเกษตร ด้านวิศวกรรมการเชื่อม
อาจารย์ ดร. นันทา เป็งเนตร์ 114 1.การแปรรูปและพัฒนาผลิตภัณฑ์ผักและผลไม้ 2.ระบบมาตรฐานการผลิตอาหาร 3.การตรวจวิเคราะห์คุณภาพอาหารทางด้านจุลินทรีย์
ผศ.ดร.เสาวณีย์ ชัยเพชร 99 เทคโนโลยีการอาหาร การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร กระบวนการผลิตอาหาร เคมีอาหาร การสกัดและทดสอบฤทธิบางประกอบอาหาร การออกแบบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ฉัตรชัย สังข์ผุด 106 การแปรรูปและพัฒนาผลิตภัณฑ์จากพืชน้ำมันและสมุนไพร วิธีการผลิตน้ำมันมะพร้าวสกัดเย็นที่ให้ผลผลิตสูงและคุณภาพดีสามารถกระทำได้ในระดับครัวเรือน รวมถึงการนำมาใช้เป็นวัตถุดิบในการสกัดสารสำคัญจากสมุนไพรเพื่อนำมาใช้ในการผลิตเครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ
อาจารย์วัสสา รวยรวย 79 ออกแบบและสร้างเครื่องมือ เครื่องจักร ลดกลิ่นหืนการผสมของน้ำเปรี้ยวกับน้ำมันมะพร้าวโดยการแยกน้ำเปรี้ยวออกก่อนการเกิดชั้นน้ำมัน
ดร.วิบูล เป็นสุข 94 เทคโนโลยีการผลิตพืช การปรับปรุงพันธุ์พืช
ผู้ช่วยศาสตราจารย์วราศรี แสงกระจ่าง 131 1. เทคโนโลยีและกระบวนการแปรรูป/การเลือกบรรจุภัณฑ์/การทำฉลากโภชนาการ และการยืดอายุการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์แป้งข้าวเล็บนกและการแปรรูปเป็นขนมอย่างง่าย 2. การส่งเสริมความพร้อมของผู้ประกอบการด้านการผลิตอาหารปลอดภัยตามมาตรฐานอาหาร (GMP/อย./ฮาลาล) สำหรับการผลิตแป้งข้าวและขนมจากแป้งข้าว
อาจารย์ ดร.นางดรุณี นาคเสวี 107 1 การแปรรูปและพัฒนาผลิตภัณฑ์ผักและผลไม้ 2 ระบบมาตรฐานการผลิตอาหาร 3 การตรวจวิเคราะห์คุณภาพอาหารทางด้านเคมี
อาจารย์วรรณกนก เขื่อนสุข 92 1 การแปรรูปและพัฒนาผลิตภัณฑ์ผักและผลไม้ 2 ระบบมาตรฐานการผลิตอาหาร
ผศ.ดร.สำเริง นราแก้ว 105 การผลิตถ่านกัมมันต์จากเศษวัสดุธรรมชาติ
อ.ดร.ศิวัช ตั้งประเสริฐ 101 ถ่านกัมมันต์ การผลิตถ่านกัมมันต์จากเศษวัสดุธรรมชาติ
อ.ดร.อังคณา เชื้อเจ็ดตน 114 การผลิตฟิล์มเคลือบผิวที่บริโภคได้ (Edible film) จากเพคทินที่สกัดจากพืชหรือวัสดุธรรมชาติ
ผศ.ดร.พรอนันต์ บุญก่อน 110 การประยุกต์ใช้สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช ได้แก่ ฮอร์โมนพืชและสารที่ออกฤทธิ์คล้ายฮอร์โมนพืช เพื่อควบคุมการงอก การเจริญเติบโต การผสมเกสร การพัฒนาของผล และการยืดอายุการเก็บรักษาผลผลิตทางการเกษตร
อาจารย์มานพ ดอนหมื่น 85 การพัฒนาเครื่องจักรด้านการเกษตร การพัฒนาเครื่องจักรด้านแปรรูปอาหาร การบริหารการเพาะปลูก การวางแผนการขนส่ง การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต การเพิ่มประสิทธิภาพการเพาะปลูก
อ.ฉัตรสุดา มาทา 92 การผลิตเครื่องมือการออกกำลังกายจากวัสดุธรรมชาติสำหรับผู้สูงอายุ
อ.ชิสาพัชร์ ชูทอง 88 การผลิตเครื่องมือการออกกำลังกายจากวัสดุธรรมชาติสำหรับผู้สูงอายุ
อ.ดร.ไพบูลย์ หมุ่ยมาศ 84 การปลูกพืชแบบปลอดภัยทั้งแบบปลูกในดินและแบบไฮโดรโปนิกส์ การผลิตปุ๋ยไคติน การเลี้ยงไส้เดือนดิน และการใช้ปุ๋ยมูลไส้เดือนดิน
อ.ธนพัฒน์ สุระนรากุล ดร.กัมปนาถ เภสัชชา อ.บงกชไพร 102 นวัตกรรมเพื่อการเกษตรปลอดภัยครบวงจร 1.เทคโนโลยีการผลิตมันหมักยีสต์ให้ในอาหารสัตว์เคี้ยวเอื้อง 2.เทคโนโลยีการผลิตแร่ธาตุและอาหารอัดก้อนโปรตีนสูงต้นทุนต่ำ 3.เทคโนโลยีการผลิตโคเนื้อคุณภาพ
อาจารย์ภัทรกร ออแก้ว 80 การออกแบบ และการผลิตบรรจุภัณฑ์
ผศ.ดร.เสาวคนธ์ เหมวงษ์ 99 ถ่านชีวภาพผลิตจากวัสดุเหลือใช้จากการเกษตร -การผลิตถ่านชีวภาพ -การประยุกต์ใช้ถ่าน -การใช้พลังงานความร้อนจากการผลิตถ่านชีวภาพ
ดร.ตรี วาทกิจ ผศ.ดร.หทัยกาญจน์ กกแก้ว 75 1.การทำพรีไบดอติกจากสัปปะรดท่าอุเทน 2.เทคโนโลยีการทำอาหารเกี่ยวข้องใน 3.ผลิตภัณฑ์จากปลายข้าวไรเบอร์รี่ 4.การผลิตขนมขบเคี้ยว 5.เทคโนโลยีการผลิตไวรน์ 6.การปลูกเห็ด
อ.ชนาพร รัตนมาลี 86 การผลิตเห็ดครบวงจรตั้งแต่กระบวนการเพาะเลี้ยงเชื้อกระบวนการผลิตก้อนเชื้อเห็ด การทำโรงเรือน การดูแลรักษาเห็ด
น.ส.ชนิดา ยุบลไสย์ 98 การผลิตปุ๋ยไส้เดือน 1. วิธีการผลิตปุ๋ยจากมูลไส้เดือน 2. วิธีการดูแลรักษา 3. การประยุกต์ใช้ปุ๋ยจากมูลไส้เดือนกับพื้นที่การเกษตร
อ.พิบูลย์ หม่องเชย 78 การผลิตไฟฟ้าพลังงานน้ำขนาดจิ๋วด้วยเครื่องกำเนิดแม่เหล็กถาวร
ดร.ภควัต เกอะประสิทธิ์ 91 ด้านการพัฒนาและออกแบบเครื่องจักร - การบำรุงรักษาเครื่องจักรแบบมีส่วนร่วม ( TPM ) - การออกแบบเครื่องจักรระบบอัตโนมัติและหุ่นยนต์ - การควบคุมคุณภาพการผลิต - ระบบไฮดรอลิกส์อุตสาหกรรม - ระบบนิวแมติกส์
อาจารย์ ดร.สุไลมาน เจ๊ะอาบู 78 - การปรับปรุงพันธุ์ข้าวให้ทนต่อสภาวะเครียด - เทคโนโลยีการผลิตข้าวด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และนวัตกรรม - เทคโนโลยีการคัดเลือกเมล็ดพันธุ์ข้าวและการเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์ - เทคโนโลยีการตรวจสอบเมล็ดพันธุ์ข้าวด้วย วทน.
ดร.ชัยพฤกษ์ หงษ์ลัดดาพร 110 1.เทคโนโลยีด้านการเลี้ยงสัตว์ 2.เทคโนโลยีการเกษตรการผลิตอาหารสัตว์ต่างๆๆๆ
อาจารย์ ดร.คณิน บรรณกิจ 91 การผลิตอาหารโคเนื้อ
อ.ดร.กนก เชาวภาษี 72 - เทคโนโลยีเทคโนโลยีการเลี้ยงไก่เบตงและการคัดเลือกสายพันธุ์ - เทคโนโลยีการสร้างโรงเรือนที่เหมาะสมในการเลี้ยงไก่เบตง - เทคโนโลยีการผสมเทียม และเก็บน้ำเชื้อไก่เบตง - การสร้างตู้ฟักไข่
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัญญรินทร์ สมพร 79 สรีรวิทยาพืช เทคโนโลยีเมล็ดพันธ์ุ การจัดการและแปรรูปผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร เกษตรอินทรีย์ เทคโนโลยีการผลิตข้าว
นายนิรันดร หนักแดง 80 - เทคโนโลยีการตัดแต่งซากแพะ เพื่อยกระดับและเพิ่มมูลค่าให้กับเนื้อแพะ - เทคโนโลยีการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากแพะเพื่อเพิ่มมูลค่า ด้วย วทน. - เทคโนโลยีการเพิ่มรสสัมผัสปรุงแต่งเนื้อแพะ ด้วย วทน. - เทคโนโลยี กระบวนการผลิตเพื่อ ยกระดับ ผลิตภัณฑ์แปรรูป ที่ได้มาตรฐานฮาลาล - กระจัดการวางแผนกระบวนการตลาดและการจัดจำหน่าย
ผู้ช่วยศาสตราจารย์สว่าง กุลวงษ์ ตำแหน่ง 87 การเลี้ยงสัตว์และกระบวนการผลิตสัตว์ปีก
ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุธาสินี ครุฑธกะ 107 การผลิตสัตว์ปีกและกระบวนการเลี้ยงสัตว์ปีก
อาจารย์นายศรุติวงศ์ บุญคง 84 1.การผลิตก๊าซชีวภาพระดับครัวเรือน 2.การเลี้ยงโคและกระบือ
อาจารย์ น.สพ.เอลฮัม แวฮามะ 80 - การทอดเทคโนโลยีการผลิตโคเนื้อที่ได้ มาตรฐาน
อาจารย์ ดร.นิฟารีซา เจ๊ะเล๊าะ 104 การผลิตสัตว์นำ้
อาจารย์จักรพงศ์ จิระแพทย์ 97 - เทคโนโลยีการผลิตผักไร้สารพิษ
อาจารย์ ดร.นราธิษณ์ หมวกรอง 89 - เทคโนโลยีขั้นสูงสำหรับการผลิตพืช
นายบัญชา รัตนีทู 75 เชี่ยวชาญในเรื่องของการปรับปรุงสภาพดิน การผลิตปุ๋ยอินทรีย์ และการลดการใช้ปุ๋ยเคมี
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จักรพันธ์ พิชญพิพัฒกุล 78 - การถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตโคเนื้อที่ได้มาตรฐาน
อาจารย์ ดร.วิทยา หอทรัพย์ 110 การผสมผสานจิตรกรรมเทคโนโลยีโลกเสมือน AR ที่ผสานเอาโลกแห่งความเป็นจริง (Real) เข้ากับโลกเสมือน (Virtual) โดยผ่านอุปกรณ์ทางด้านฮาร์ดแวร์รวมกับการใช้ซอฟต์แวร์ต่างๆ ทำให้สามารถมองเห็นภาพที่มีลักษณะเป็นวัตถุ
อาจารย์รุ่งโรจน์ ยิ่งสง่า 123 งานทางด้านการผลิตเครื่องประดับ งานหล่อโลหะ งานทำต้นแบบเครื่องประดับ งานรูปพรรณ
ผศ. ดร.ไชยวรรณ วัฒนจันทร์ 81 การผลิตอาหารจากวัตถุดิบในท้องถิ่น การแปรรูป การตลาด เป็นต้น
รศ. ดร.จันทิมา ชั่งสิริพร 103 กระบวนการผลิตน้ำส้มควันไม้พร้อมใช้ แบบไม่ต้องตั้งให้ตกตะกอน สามารถแยกน้ำมันทาร์ออกทันที ด้วยเครื่องผลิตน้ำส้มควันไม้ระดับชุมชน
รศ. ดร.วัชรินทร์ ซุ้นสุวรรณ 89 การผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าว ข้าวกล้องงอก และถั่วงอก
นางณัฐรดา ซาเหลา 100 การผลิตและการจัดการอุตสาหกรรมวัสดุศาสตร์การออกแบบและการผลิตเครื่องจักรกลขนาดเล็ก
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุนิษา สุวรรณเจริญ 88 - พัฒนาผลิตภัณฑ์ชาใบขลู่ และพัฒนาผลิตภัณฑ์แชมพูและครีมนวดผมสมุนไพร - พัฒนาบรรจุภัณฑ์ - พัฒนากระบวนการผลิต - มาตรฐาน อย. หรือ มผช. - มาตรฐาน การจดแจ้งเครื่องสำอาง
ดร.จันทิรา วงศ์วิเชียร 128 -การส่งเสริมความพร้อมของผู้ประกอบการด้านการผลิตอาหารปลอดภัยตามมาตรฐานอาหาร (GMP/อย./ฮาลาล) -การแปรรูปผลิตภัณฑ์อาหารสำหรับการผลิตขนมอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อาภาพร บุญมี 72 การผลิตและแปรรูปสมุนไพรที่เป็นอาหารและไม่ใช่อาหาร การผลิตเครื่องสำอางและการออกแบบผลิตภัณฑ์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์เดือนรุ่ง เบญจมาศ 75 การผลิตแคปซูลสมุนไพรนิ่ม
ผู้ช่วยศาสตราจารย์เดือนรุ่ง เบญจมาศ 85 การผลิตแคปซูลสมุนไพรนิ่ม
รศ. ดร.วิชัย หวังวโรดม 95 การผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าว ข้าวกล้องงอก และถั่วงอก
อาจารย์วาสนา แผลติตะ 113 การผลิตพืชผลทางการเกษตร (Crop)
นางเกษร ประทุม 108 การผลิตผ้าไหมทอมือ คุณภาพ การฟอกย้อมสีไหมด้วยวัสดุธรรมชาติ
รศ.ดร. วิศิษฐิพร สุขสมบัติ 91 การจัดการโคนม การจัดการโรงงานอาหารสัตว์ (โคนม) การผลิตพืชอาหารสัตว์
ดร.สุรชัย ณรัฐ จันทร์ศร 92 อาจารย์ประจำหลักสูตรพลังงานและสิ่งแวดล้อมชุมชน ความเชี่ยวชาญ - ด้านเทคโนโลยีการผลิตไบโอดีเซล - ด้านเทคโนโลยีการอบแห้ง - ด้านพลังงานชุมชน - ด้านคาร์บอนฟุตพริ้นต์ผลิตภัณฑ์ - ด้านการจัดการขยะชุมชน
ดร.วัชรพงษ์ วัฒนกูล 122 วุฒิการศึกษาปริญญาตรี วท.บ.(เกษตรศาสตร์)มหาวิทยาลัยขอนแก่น วุฒิการศึกษาปริญญาโท วท.ม.(สัตวศาสตร์) มหาวิทยาลัยขอนแก่น วุฒิการศึกษาปริญญาเอก Ph.D.(Animal Production), The University of Aberdeen Scotland, UK ความเชี่ยวชาญ การผลิตสัตว์ พฤติกรรมสัตว์ เศรษฐกิจพอเพียง การจัดการฟาร์มเกษตร การบริหารจัดการการศึกษา การจัดการเกษตรนานาชาติ การจัดการชุมชน
ดร.นครินทร์ พริบไหว 103 วุฒิการศึกษาปริญญาตรี วท.บ.(สัตวศาสตร์) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาโท วท.ม.(สัตวศาสตร์) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาเอก วท.ด. (เทคโนโลยีชีวภาพ) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ความเชี่ยวชาญ - การผลิตสัตว์กระเพาะเดี่ยว - อาหารสัตว์กระเพาะเดี่ยว - วิทยาศาสตร์เนื้อสัตว์ - Molecular Genetics
ดร.จิราพร ขวัญมุณี 90 ชีวเคมีและชีววิทยาโมเลกุล การสกัดและแยกสารชีวโมเลกุลจากสิ่งมีชีวิตเพื่อประโยชน์ทางด้านการเกษตร อุตสาหกรรม และด้านการแพทย์ การจำแนกชนิดของสิ่งมีชีวิตด้วยดีเอ็นเอ การโคลนยีน การศึกษาการแสดงออกของยีน การผลิตโปรตีนลูกผสม (recombinant protein) การทำให้กลายพันธุ์ของยีนในหลอดทดลอง การสกัดสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพ การทดสอบฤทธิ์ทางชีวภาพ
ดร.สมพงศ์ บุญศรี 117 การแพทย์แผนไทย/พัฒนายา/สมุนไพร/สุขภาพ/ความงาม การสกัด แยกองค์ประกอบทรงเคมี วิเคราะห์โครงสร้างสารผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ ที่ได้จากพืชและสมุนไพร
ดร.อรุณศรี ว่องปฏิการ 107 การแพทย์แผนไทย/พัฒนายา/สมุนไพร/สุขภาพ/ความงาม, เทคโนโลยีชีววิทยาและจุลชีววิทยา " จุลชีววิทยาสิ่งแวดล้อม (การนำจุลินทรีย์มาใช้ประโยชน์ในการปรับปรุงแก้ไขมลพิษในสภาวะแวดล้อม เช่น ใช้จุลินทรีย์ในการบำบัดน้ำเสีย) - จุลชีวิทยาอุตสาหกรรม (การนำจุลินทรีย์มาใช้ประโยชน์ทางด้านอุตสาหกรรม เช่น การใช้จุลินทรีย์ในการผลิตผลิตภัณฑ์ต่างๆ - การนำสมุนไพรมาพัฒนาเป็นยาต้านจุลชีพ"
ผศ.ดร.อรวัลภ์ อุปถัมภานนท์ 98 การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพ การปรับปรุงคุณภาพอาหารทางโภชนาการ การพัฒนกระบวนการผลิตอาหาร
นางสาวรดาพร พยัฆฑา 79 การผลิตไม้ดอกไม้ประดับและไม้ผล
นายชลิต ตรีนิตย์ 85 การผลิตเห็ดในถุงพลาสติก
นายนรุตม์ คล้ายเคลื่อน 80 ปรับปรุงและพัฒนากระบวนการผลิต การออกแบบและจัดสร้างเครื่องมือทางอุตสาหกรรมขนาดเล็ก
นายนรุตม์ คล้ายเคลื่อน 77 ปรับปรุงและพัฒนากระบวนการผลิต การออกแบบและจัดสร้างเครื่องมือทางอุตสาหกรรมขนาดเล็ก
ดร.ธานี สุคนธะชาติ 88 การผลิต การออกแบบ และการบริหารงานด้านธุรกิจบรรจุภัณฑ์ การสร้างรูปแบบธุรกิจ วิสาหกิจเพื่อสังคม การพัฒนาธุรกิจชุมชน
ดร.วรินธร บุญยะโรจน์ 119 การเลือกใช้วัสดุที่เป็นมิตรสิ่งแวดล้อม การเลือกใช้ผลิตภัณฑ์ที่ไม่เกิดสารตกค้าง ผลิตภัณฑ์และสารชีวภาพที่สามารถย่อยสลายได้ตามธรรมชาติ การนำของเสียกลับมาใช้ใหม่ (Waste Utilization) การลดของเสียที่แหล่งกำเนิด กระบวนการผลิตที่สะอาด (Clean Technology) เศรษฐกิจหมุนเวียน การทดสอบสารปนเปื้อนของอาหาร น้ำดื่ม และพืชผัก การตกค้างของสารกำจัดศัตรูพืช - การวิเคราะห์สารปนเปื้อนในอาหาร น้ำดื่ม พืชผัก และสมุนไพร ตลอดจนการตกค้างของสารกำจัดศัตรูพืช ในตัวอย่างทางสิ่งแวดล้อม เช่น น้ำดื่มน้ำใช้ น้ำบาดาล น้ำจากแหล่งน้ำสาธารณะ ด้วยเครื่อง Gas Chromatography/Mass Spectrometry - อาหารปลอดภัย (Food Safety) - เทคโนโลยีสะอาด (Clean Technology) - การวิเคราะห์สารองค์ประกอบของสมุนไพร ด้วยเครื่อง Gas Chromatography/Mass Spectrometry - การบำบัดสารปนเปื้อนขนาดเล็ก (Micropollutants)
นายจักรกฤษณ์ ยิ้มแฉ่ง 84 การผลิตถ่านอัดแท่งจากวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร การออกแบบเครื่องจักรสำหรับช่วยระบบการผลิต ติดตั้งพลังงานแสงอาทิตย์(โซล่าเซล) วิเคราะห์ระบบการผลิตเพื่อเพิ่มผลผลิตและลดต้นทุน การส่งเสริมคุณภาพที่ยั่งยืนสำหรับชุมชน westeจากการเกษตร การพัฒนาเพิ่มประสิทธิภาพระบบไฟฟ้าพลังน้ำผสมผสานพลังงานแสงอาทิตย์โซล่าเชลล์ด้วยระบบควบคุมอัจฉริยะ(ไฮบริด)
ดร.ธนภพ โสตรโยม 92 การใช้ประโยชน์จากชีวภาพ เพื่อพัฒนาและแก้ไขในการผลิตการเก็บรักษาและเพิ่มมูลค่าองค์รวมให้กับผลิตภัณฑ์ เทคโนโลยีการผลิต/การพัฒนาผลิตภัณฑ์/การเก็บรักษา การยืดอายุหลังการเก็บเกี่ยว การตลาด/การเขียนแผนธุรกิจ
ดร.ศศิธร เพชรแสน 85 ระบบการจัดการผักปลอดภัย และการรับรองมาตรฐาน
ดร.วลัยลักษณ์ แก้ววงษา 102 การผลิตกระบือแบบครบวงจร
ดร.ชญานนท์ แสงมณี 120 1. การผลิตถ่านอัดแท่งและน้ำส้มควันไม้ 2. ผลิตภัณฑ์แปรรูปจากปลา
อ.เพลินพิศ แจ้งโพธิ์นาค 94 1. การผลิตพืช 2. การแปรรูปอาหาร
ดร.วิศรา ไชยสาลี 109 การวางแนวทาง วางยุทธศาสตร์การพัฒนาเชิงพื้นที่แบบมีส่วนร่วมกับชุมชน และการบริหารจัดการเทคโนโลยีสู่ชุมชน ได้แก่ เทคโนโลยีการผลิตสัตว์ เทคโนโลยีการเพาะเห็ด และเทคโนโลยีการเกษตรอื่นๆ
ดร.ฐิระ ทองเหลือ 74 การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร การทำมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ออแกนิค ไทยแลนด์ การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียง เกษตรทฤษฎีใหม่ เกษตรอินทรีย์ กระบวนการผลิตพืชอินทรีย์ การพัฒนาชุมชนตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ตวงสิริ สยมภาค 96 1.การผลิตอาหารปลอดภัย 2.การทดสอบตลาดและการทดสอบผู้บริโภค 3.การพัฒนาผลิตภัณฑ์และนวัตกรรม ๔. การประเมินคุณภาพด้านประสาทสัมผัส
ดร.ชนิกานต์ คุ้มนก 105 พัฒนากระบวนการสกัดและผลิตภัณฑ์จากสารสกัดธรรมชาติ การพัฒนาการผลิตน้ำหมักชีวภาพ
นายคารม นันตื้อ 95 การผลิตและกาสรจัดการอุตสหกรรม วัสดุศาสตร์การออกแบบและการผลิตเครื่องจักรกลขนาดเล็ก
นายอนุชิต เสตะ 110 วิศวกรรมวัสดุ วัสดุศาสตร์ วิศวความปลอดภัย การผลิตและการจัดการอุตสาหกรรม และการประกอบด้วยการเชื่อม
ดร.พีรพงศ์ งามนิคม 114 การเเปรรูปเเละวิศวกรรมกระบวนการผลิตอาหาร, การประยุกต์ใช้ไฮโดรคอลลอยด์ในอาหาร, ผลิตภัณฑ์ plant-based food
นายทองมี เหมาะสม 78 ด้านการส่งเสริมการเกษตร ด้านบริการวิชาการกลุ่มชุมชน ด้านการผลิตพืช
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ศรีประไพ จุ้ยน้อย 101 ความเชี่ยวชาญที่เกี่ยวข้องกับโครงการ การผลิตเครื่องนุ่งห่มและผลิตภัณฑ์ทางด้านสิ่งทอ การใช้โปรแกรมCAD/CAM ในงานเครื่องนุ่งห่ม333
นายนิคม สุทธา 47 องค์ความรู้การผลิตปัจจัยการผลิตพืชระบบเกษตรธรรมชาติและการผลิตเครื่องกรองน้ำเพื่อบริโภคชุมชน
นายนเรศ ใหญ่วงศ์ 113 1) ที่ปรึกษา และผู้ทวนสอบ เกี่ยวกับคาร์บอนฟุตพริ้นท์ของผลิตภัณฑ์ และองค์กร , โครงการลดก๊าซเรือนกระจกภาคสมัครใจตามมาตรฐานของประเทศไทย (T-VER) 2)ที่ปรึกษาการพัฒนาระบบพลังงานแสงอาทิตย์สำหรับการผลิตไฟฟ้า การอบแห้ง และการเกษตรสมัยใหม่ 3) ที่ปรึกษาการพัฒนาการแปรรูปชีวมวลเชิงพาณิยช์
อาจารย์ วชิราภรณ์ เรือนแป้น 99 ๑.เกษตรอินทรีย์ ๒.การปลูกพืชแบบวนเกษตร ๓.การจัดการดินเพื่ออาหารปลอดภัย ๔.การผลิตปุ๋ยหมักและน้ำหมักชีวภาพ
รศ.ดร.พรรณธิภา ณ เชียงใหม่ 96 พืชศาสตร์ เทคโนโลยีการผลิตพืช ปรับปรุงพันธุ์พืช
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. มนัสนันท์ นพรัตน์ไมตรี 109 การผลิตสัตว์ปีก การผลิตสุกร โภชนศาสตร์สัตว์ไม่เคี้ยวเอื้อง การผลิตอาหารสัตว์และโรงงานอาหารสัตว์การวิจัยด้านการผลิตสัตว์ในระบบอุตสาหกรรม
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ภูธฤทธิ์ วิทยาพัฒนานุรักษ์ 74 วิชาการเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ (วิทยาศาสตร์เนื้อ การแปรรูปผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร) และเกษตรเชิงระบบ
ดร.พันธ์ลพ สินธุยา 120 วุฒิการศึกษาปริญญาตรี วท.บ. (เทคโนโลยีชีวภาพทางอุตสาหกรรมเกษตร) วุฒิการศึกษาปริญญาโท วท.ม. (วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร) วุฒิการศึกษาปริญญาเอก วศ.ด. (วิศวกรรมอาหาร) ความเชี่ยวชาญ - เทคโนโลยีการผลิตอาหาร - การแปรรูปและบรรจุภัณฑ์อาหาร - การวิเคราะห์อาหารและผลิตภัณฑ์การเกษตร - การเกษตรอินทรีย์ - การเกษตรอัจฉริยะ
อาจารย์วรพล วัฒนเหลืองอรุณ 113 วุฒิการศึกษาปริญญาตรี ศศ.บ. (อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว) วิทยาลัยครูฉะเชิงเทรา วุฒิการศึกษาปริญญาโท ศศ.ม. (การจัดการอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ความเชี่ยวชาญ การท่องเที่ยว การโรงแรม ด้าน การท่องเที่ยวโดยชุมชน ด้าน การบริการอาหารและเครื่องดื่ม ด้าน เทคนิคการผสมเครื่องดื่ม ด้าน การท่องเที่ยววิถีชุมชนบนพื้นฐานศาสตร์พระราชา ด้าน การบริหารทรัพยากรมนุษย์ ด้าน การเป็นที่ปรึกษาทางธุรกิจ
ผศ.ดร.อวยพร วงศ์กูล 97 การใช้สารเคลือบเส้นใย การป้องกันเชื้อราในเส้นใย การใช้สาร ฟอกสีเส้นใย โดยมุ่งเน้นกรรมวิธีที่ปลอดภัยและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม การพัฒนาผลิตภัณฑ์ครื่องสําอางค์และกระบวนใช้สมุนไพรในการผลิตเครื่องสําอางค์ การให้คําปรึกษาด้าน ส่วนผสม ขั้นตอนการผลิต การยืดอายุ และการเลือกบรรจุภัณฑ์ที่เหมาะสม
อาจารย์เกวลี ชัยชาญ 92 การทดสอบฤทธิทางกายภาพและชีวภาพของสมุนไพร การสกัดสารสําคัญจากสมุนไพร การแยก กระบวนการผลิตเครื่อง สําอางค์ผสมสมุนไพร การผลิตสบู่แบบ cold process สมุนไพรที่ไม่ใช่อาหาร
ผศ.ณรงค์ชัย ชูพูล 127 เทคโนโลยีการเกษตร การแปรรูปผลิตผลการเกษตร การผลิตอาหารปลอดภัย เทคโนโลยีชีวภาพ การผลิตปุ๋ยชีวภาพ เทคโนโลยีอาหาร เทคโนโลยีการผลิตไวน์ น้ำผลไม้ เทคโนโลยีน้ำนมและผลิตภัณฑ์ ประสบการณ์ด้านบริหารโครงการ การพัฒนาชุมชนท่องเที่ยว OTOPนวัตวิถี หมู่บ้านนาใน อ.พระพรหม จ.นครศรีธรรมราช
อ.ดร.ปฏิวัติ คมวชิรกุล 80 เครื่องจักรและระบบการผลิต
อาจารย์ธวัชชัย ชาติตำนาญ 91 เครื่องจักรและระบบการผลิต/วัสดุยาง และวิศวกรรม
อาจารย์จักรกฤษณ์ ยิ้มแฉ่ง 98 เครื่องจักรและระบบการผลิต/วัสดุยาง และวิศวกรรม
ผศ.ดร.ภาราดร งามดี 114 กระบวนการผลิตอาหารปลอดภัยปลาดุกปรุงสุกในบรรจุภัณฑ์พร้อมบริโภค
สพ.ญ.ดร.พิมพ์ชนก โล่ห์ทองคำ 113 การผลิตโคเนื้อปลอดภัยตามมาตรฐาน GAP และฟาร์มมาตรฐาน
นายสุฤทธิ์ สมบูรณ์ชัย 93 การผลิตลูกปลานิล
นายธนวัฒน์ รอดขาว นายอดิศักดิ์ การพึ่งตน 89 การผลิตเก๊กฮวยอินทรีย์
สุกัญญา จำปาทิพย์ 81 การควบคุมการผลิตไวน์ทางกายภาพ
สุรศักดิ์ ขันคำ 106 ชีววิทยา ด้านพืชและสัตว์ การผลิตปุ๋ยชีวภาพ
อ.สพ.ญ.ดวงสุดา ทองจันทร์ 96 เทคโนโลยีการผสมเทียม การปรับปรุงพันธุ์ โรคและรักษา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์จงกล เพชรสุข 93 บริหารธุรกิจและการจัดการ การวางแผนการผลิต การจัดตารางการผลิต ด้านการสอน องค์การและการจัดองค์การ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ธเนศ อุ่นปรีชาวณิชย์ 98 การตลาด การลงทุน โลจิสติกส์ วิธีวิทยาการวิจัย เทคโนโลยีการผลิต
อ.สุภา ศรียงยศ 95 การผลิตพืชอาหารสัตว์ การเลี้ยงสัตว์ในโรงเรือนระบบปิดและระบบเปิด การเลี้ยงไก่พื้นเมือง
ผศ.ดร.วิวัฒน์ พัฒนาวงศ์ 94 เทคโนโลยีการผสมเทียมโคเนื้อแบบกำหนดเวลา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จุฑารัตน์ เอี้ยวกฤตยากร 94 - การผลิตปุ๋ย - bioplastics - การสกัดน้ำมัน - การสกัดสาระสำคัญจากธรรมชาติ - การนำของเสียจากชีวมวลมาใช้ประโยชน์
ดร.ณัฐนันท์ เที่ยงธรรม 127 ลดต้นทุนการผลิต เพิ่มอัตราการเจริญเติบโต เพิ่มภูมิคุ้มกันให้ปลานิล
ดร.กัมปนาจ เภสัชชา 127 เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสัตว์
อ.ธนพัฒน์ สุระนรากุล 107 ลดต้นทุนการผลิต เพิ่มมูลค่าสินค้า มาตรฐาน GMP อย. การสร้างแบรนด์ และการส่งเสริมการขาย
อาจารย์สมชัย วะชุม 86 พลังงานแสงอาทิตย์และพลังงานชีวมวล ลดต้นทุนการผลิต อาหารสะอาด และลดระยะเวลาการตากแห้งของสินค้าทางการเกษตร
อาจารย์ชนาพร รัตนมาลี 105 การผลิตเห็ดนางฟ้า เห็ดขอน เห็ดบด เห็ดกระด้าง การแปลรูปเห็ด
อาจารย์บัญชา ใต้ศรีโคตร 92 เพิ่มกำลังการผลิต ลดต้นทุนแรงงานในการจัดเตรียมวัตถุดิบ เป็นเครื่องที่ใช้สำหรับการฝานผลกล้วยดิบแบบใช้ใบมีด โดยการป้อนด้วยมือ
ผศ. บุญเยี่ยม ยศเรืองศักดิ์ 106 วิเคราะห์การผลิตพลังงานไฟฟ้าและศึกษาความคุ้มค่าต่อการลงทุนติดตั้งระบบผลิตไฟฟ้า จากพลังงานแสงอาทิตย์ระดับครัวเรือน
อาจารย์คมศักดิ์ หาญไชย 81 องค์ความรู้การผลิตกระดาษจากสับปะรด ควบคุมและรักษาคุณภาพของสินค้า
อาจารย์สมชัย วะชุม 115 ผลิตวัตถุดิบสีย้อมผ้า จากคราม ลดระยะเวลาการผลิต
อาจารย์สุเพ็ญ ด้วงทอง 86 ด้านการยืดอายุผลิตภัณฑ์ กระบวณการผลิตและการแปรรูปผลิตภัณฑ์
ผศ.ณฐมน เหมือนคิด 93 ด้านการยืดอายุผลิตภัณฑ์อาหาร กระบวนการผลิตและการแปรรูปผลิตภัณฑ์
ดร.ภวิกา มหาสวัสดิ์ 87 ด้านผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ การผลิตเครื่องสำอาง
นางสาวจุฑามาศ ทองสุวรรณ์ 98 ด้านการจัดทำมาตรฐาน อย. การจัดทำระบบ GMP&HACCP และการออกแบบกระบวนการผลิตและออกแบบแผนผังการผลิต
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.แดง แซ่เบ๊ คณะวิศวกรรมศาสตร์ 44 การผลิตเชื้อเพลิง
ดร.อรทัย บุญทะวงศ์ 123 การแปรูปผลิตภัณฑ์ด้านอาหาร การเก็บรักษา การเลือกใช้บรรจุภัณฑ์ การยืดอายุการเก็บรักษา และการพัฒนาสถานที่การผลิตอาหารเพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐาน อย.
นายชัยธวัช จารุทรรศน์ 89 การผลิตเห็ดแบบครบวงจร
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วราคม วงศ์ชัย 104 การปรับปรุงกระบวนการผลิตในโรงงานอุตสาหกรรม, การจัดการและอนุรักษ์พลังงานในอาคาร/โรงงาน, พลังงานทดแทน, การประยุกต์ใช้ GIS และ RS ในระบบพลังงาน, การประเมินคาร์บอนฟุตพริ้นของผลิตภัณฑ์ (CFP)
รศ.ดร.พิมผกา โพธิลังกา 87 เทคโนโลยีการจัดการน้ำเสีย, การผลิตก๊าซชีวภาพ, การจัดการของเสียจากฟาร์มปศุสัตว์
นายอภิเดช ภูมิกอง 92 การผลิตและการจัดการอุตสาหกรรม การประกอบด้วยการเชื่อมและประสาน
อาจารย์ประสาทพร กออวยชัย 87 การอารักขาพืช เทคโนโลยีการเกษตร เทคโนโลยีการผลิตพืช ปรับปรุงพันธุ์พืชปาล์มน้ำมัน ยางพารา ข้าวโพดและข้าว
นายธนัญกรณ์ ใจผ่อง 86 เครื่องตดข้อตาอ้อยด้วยระบบกึ่งอัตโนมัติ เพื่อทุนแรงในการผลิต
ศ.ดร.อภิชาติ วรรณวิจิตร 78 การผลิตข้าวไรซ์เบอร์รี่เพื่อช่วยเหลือเกษตรกรและพัฒนาให้เป็นข้าวทางการเกษตร
นางสาวญาณิศา โกมลสิริโชค 49 การผลิตเส้นด้ายในระบบหัตถกรรม
ดร.ภัทราภรณ์ ศรีสมรรถการ 94 1. เทคโนโลยีการผลิตและพัฒนาคุณภาพผัก-ผลไม้และผลิตภัณฑ์ (เครื่องดื่มคุณภาพไวน์) 2.เทคโนโลยีเนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์ 3.การจัดการมาตรฐานและความปลอดภัยในการผลิตอาหารและเครื่องดื่ม
อาจารย์กัณญพัตส บุญล่ำ 87 การอบรมส่งเสริมและสนับสนุนการทำเกษตรผสมผสาน เกษตรทางเลือก เกษตรอินทรีย์ และเกษตรทฤษฎีใหม่
ผศ.ดร.นิอร โฉมศรี 108 1.เทคโนโลยีเอนไซม์ทางอาหาร และเทคนิคในการทำโปรตีนให้บริสุทธิ์ 2.จุลชีววิทยาทางอาหาร (เช่น การประยุกต์ใช้จุลินทรีย์กับอาหารหมัก การตรวจวิเคราะห์และการควบคุมคุณภาพอาหารทางจุลินทรีย์ การผลิตกล้าเชื้อจุลินทรีย์ การควบคุมจุลินทรีย์เพื่อความปลอดภัยทางอาหาร ฯลฯ)
ผศ.ดร. จิรภา พงษ์จันตา 119 1.เทคโนโลยีการผลิตและพัฒนาผลิตภัณฑ์จากธัญพืชและพืชหัว 2.การจัดการมาตรฐานและความปลอดภัยในการผลิตอาหารและเครื่องดื่ม
อาจารย์รัตนพล พนมวัน ณ อยุธยา 78 1.การผลิตแอลกอฮอล์ 2. เทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานทางเลือก 3.เครื่องจักรกลทางการเกษตร เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว
ดร.จิระศักดิ์ วิชาสวัสดิ์ 81 การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ เทคโนโลยีการผลิตพืช
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เดือนรุ่ง เบญจมาศ 93 เทคโนโลยีกระบวนการผลิตสมุนไพร ประเภทแคปซูล
ดร.เยาวมาลย์ เขียวสอาด 98 เทคโนโลยีการปลูกข้าว การผลิตข้าวปลอดภัย&ข้าวอินทรีย์
ดร.นฤมล มีบุญ 103 การผลิตโยเกิร์ต การทำสครับสมุนไพร การทำสบู่ การผลิตน้ำพริกผัด การผลิตลูกประดอง
ดร.กนก เชาวภาษี 97 ระบบการผลิตและการจัดการสัตว์ปีก
อาจารย์เปลื้อง บุญแก้ว 109 เทคโนโลยีการผลิตสัตว์ปีก
ผษ. มนทนา รุจิระศักดิ์ 91 เทคโนโลยีเมล็ดพันธุ์ การผลิตข้าว
อาจารย์ทัศนีย์ รัดไว้ 83 การผลิตพืชผัก และการขยายพันธุ์พืช
อาจารย์จักรพงศ์ จิระแพทย์ 77 การผลิตไม้ผล
อาจารย์จักรพงศ์ จิระแพทย์ 84 สาขาสรีรวิทยาการผลิตพืช
ผศ.ดร.ซารีนา สือแม 81 โภชนศาสตร์สัตว์เคี้ยวเอื้อง โดยเฉพาะด้านสัตว์เคี้ยวเอื้องขนาดเล็ก และการผลิตสัตว์เคี้ยวเอื้องขนาดเล็ก
นายณัฏฐ์ เศวตรพีพงศ์ 96 - อุตสาหกรรมการผลิต - การบริหารจัดการ - SME-Coaching
ดร.นุจิรา ทักษิณานันต์ 91 1. โภชนศาสตร์สัตว์กระเพาะเดี่ยว 2. กระบวนการผลิตอาหารสัตว์
ดร.ปัทมาวดี คุณวัลลี 90 - เทคโนโลยีเมล็ดพันธุ์ เทคโนโลยีการผลิตเมล็ดพันธุ์ - เทคโนโลยีการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวเมล็ดพันธุ์
ผศ.ดร.สุรพล ฐิติธนากุล 97 การวางแผนการผลิตและองค์ความรู้ในการผลิตผักอินทรีย์ให้ได้คุณภาพ
ผศ. มานพ ธรสินธุ์ 88 การใช้ประโยชน์ไม้มีค่าในพื้นที่ และการผลิตถ่านและน้ำส้มควันไม้ที่ได้มาตรฐานทางการเกษตร
ดร.สุธรรม ศิวาวุธ 95 วิศวกรรมระบบการผลิต การรออกแบบผลิตภัณฑ์ การเลือกใช้วัสดุ
ผศ.ดร.ภาราดร งามดี 111 การพัฒนากระบวนการผลิตอาหารปลอดภัย
นางสาวอังคณา ไพสิฐเฟื่องฟู 96 การใช้ประโยชน์จากเชื้อจุลินทรีย์ และการแก้ไขปัญหาในกระบวนการผลิตที่มีสาเหตุจากเชื้อจุลินทรีย์
นายบุญทับ กันทะเตียน 94 เพาะขยายพันธุ์พืช ค้นคว้า ทดลองการผลิตน้ำหมักชีวภาพ ปุ๋ยชีวภาพ ทดลองสูตรปุ๋ยหมัก
นายกวินท์ จิตอารีย์ 81 การปลูกผักอินทรีย์ การผลิตปุ๋ยอินทรีย์ การจัดการแปลงผักอินทรีย์และการป้องกันแมลง
ผศ.ดร.ศศิธร ใบผ่อง 112 มาตรฐานการผลิต การวิเคราะห์คุณภาพ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ อายุการเก็บรักษา การปรับปรุงคุณภาพ การเเปรรูป พัฒนากระบวนการผลิต
ผศ.ดร.วสวัชร นาคเขียว 108 การปรับปรุงประสิทธิภาพในกระบวนการผลิต การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ในกระบวนการผลิต การทดสอบสมบัติเชิงกลของนวัตกรรมวัสดุ
รศ.ดร.วิชัย ฉัตรทินวัฒน์ 112 การบริหารงานผลิต และ ระบบคุณภาพ, การพัฒนาผลิตภัณฑ์และการผลิตสำหรับสินค้าโอทอป เเละการวิเคราะห์และลดต้นทุนการผลิตด้วยหลักการมาตรฐาน ISO14051 บัญชีต้นทุนการไหลวัสดุ
ดร.อุษณีย์พร สร้อยเพ็ชร์ 80 มีความเชี่ยวชาญทางด้านการทำฟาร์มไก่และการผสมเทียมไก่
นางสาวพรพิมล ควรรณสุ 89 ผลิตภัณฑ์แหนมเห็ด เป็นผลิตภัณฑ์ที่กลุ่มมีการผลิตและจำหน่ายอยู่แล้ว แต่นักวิจัยจากมหาวิทยาลัยนครพนมเข้ามาพัฒนาต่อยอด 1. ขั้นตอนการผลิตให้ปลอดภัย 2. การพัฒนาบรรจุภัณฑ์ให้ทันสมัย สวยงาม และ และดึงดูดผู้บริโภค 3. การพัฒนาตลาดออนไลน์ และตลาดออฟไลน์ ขนาดบรรจุ 200 กรัม วัตถุดิบมาจาก กลุ่มวิสาหกิจชุมชนเพาะเห็ดบ้านกลาง 355 หมู่ 4 ตำบลโพนแพง อำเภออากาศอำนวย จังหวัดสกลนคร
นายคมศร เลาห์ประเสริฐ 93 การพัฒนากระบวนการต้มเกลือ การผลิตดอกเกลือ และชุดตรวจสอบความเค็ม
อาจารย์กฤตธี สงวนศักดิ์ 97 ช่วยลดต้นทุนการผลิตเตาเผาถ่านชีวภาพ
อาจารย์ ดร. ชิตาพัณณ์ ใบงิ้ว 122 การพัฒนาสูตรในกระบวนการผลิตและการเก็บรักษา นวัตกรรมอาหารเสริมสุขภาพ เทคโนโลยีการขึ้นรูปเส้นด้วยการ Extrusion และ Spherification การทดสอบความชอบทางด้านประสาทสัมผัสและการยอมรับ
ดร.ชยพล มีพร้อม 83 โภชนศาสตร์สัตว์ การผลิตโค เทคโนโลยีอาหารสัตว์
นายกฤษณธร สินตะละ 109 มีความเชี่ยวชาญด้าน การผลิตสัตว์ การปรับปรุงพันธ์สัตว์ การผสมพันธุ์สัตว์
ผศ.ดร.พรรณราย รักษ์งาร 98 การทดสอบสมบัติสิ่งทอ สมบัติเส้นใยและผ้าที่เหมาะสมกับการนำไปใช้งาน การทดสอบสมบัติวัสดุสิ่งทอ เครื่องจักรในกระบวนการผลิตสิ่งทอ
ผู้ช่วยศาสตร์จารย์สาโรจน์ ปัญญามงคล 123 เป็นอาจารย์ผู้สอนและทำงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารและเครื่องดื่มโดยบูรณาการศาสตร์ตั้งแต่ผลิตผลทางการเกษตร การแปรรูป การออกแบบพัฒนาบรรจุภัณฑ์ รวมถึงการใช้ประโยชน์จากพืชสมุนไพรเพื่อใช้ทางด้านอาหารและเครื่องดื่มผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อาหาร เช่น การทำสบู่ น้ำมันธรรมชาติ ที่มีส่วนผสมของพืช สมุนไพรเป็นต้น และความเชี่ยวชาญด้านกฎหมายอาหาร สุขภาภิบาลอาหาร การประกันคุณภาพอาหารและการผลิตเครื่องดื่มชนิดอัดแก๊สและไม่อัดแก๊ส
อาจารย์น้ำอ้อย ปัญญา 90 การผลิตพืชระบบ GAP (พืชสมุนไพร ข่า ตะไคร้)
ผศ.ดร.ศุภัครชา อภิรติกร 72 ความเชี่ยวชาญ : เทคโนโลยีการผลิตไม้ผล
ผศ.ดร.กัญลยา มิขะมา 117 การพัฒนาระบบการเกษตรสู่มาตรฐานการผลิต (GAP/อินทรีย์) การบริหารจัดการชุมชน เพื่อส่งเสริมการเกษตรให้ได้มาตรฐาน
อ.ดร.สุวรณี ปานเจริญ 84 การพัฒนากระบวนการผลิตอาหารปลอดภัย
ผศ.ประมวล แซ่โค้ว 100 การผลิตพืชผักปลอดภัย
อ.เพ็ญศิริ คงสิทธิ 84 การพัฒนากระบวนการผลิตอาหารปลอดภัย
นางสาวศวรรณรัศม์ อภัยพงค์ 110 การผลิตสื่อการเรียนการสอนแอนนิเมชั่น 2 มิติ
อาจารย์นนทลี บุญทัด การุณยศิริ 100 การออกแบบบรรจุภัณฑ์เพื่อใช้ในการตลาดแบบมืออาชีพ,การพัฒนาด้านอาหารผสมผสานกับคุณค่าของพืชสมุนไพร
อาจารย์เกษสิริ ศักดานเรศว์ 90 การผลิต ต้นทุนและการจัดจำหน่าย การวิเคราะห์และการวางแผน
ผศ.ดร.ภิญญดา รื่นสุข 89 การเพิ่มมูลค่า การผลิตด้วยเทคนิคการจัดการสมัยใหม่ การสร้างกลไกการตลาดอาหารปลอดภัยในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
อาจารย์ ดร.เกียรติศักดิ์ อาจคงหาญ 63 เครื่องจักรและระบบการผลิต ดิน น้ำ และทรัพยากรธรรมชาติ
อาจารย์ ดร.กฤษฎิ์พงศ์ ภาษิตวิไลธรรม 94 วิทยาศาสตร์การเกษตร เน้นด้านการผลิตพืช
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กษิดิศ ใจผาวัง 114 การจัดการธุรกิจการเกษตร การจัดการธุรกิจชุมชน การพัฒนาเกษตรกร การพัฒนาการรวมกลุ่ม การยกระดับการผลิตสินค้าเกษตร การเพิ่มมูลค่าสินค้าเกษตร การประยุกต์แนวคิดเศรษฐกิจสร้างสรรค์ BCG โมเดล Eco Rice การพัฒนานวัตกรรมชุมชน
ดร.ไผ่แดง ขวัญใจ 65 กรรมวิธีการผลิตข้าวเหนียวหุงสุกเร็ว : คุณภาพและสมบัติทางเคมีกายภาพ
ดร.ไผ่แดง ขวัญใจ 73 การพัฒนากระบวนการผลิตขนมแผ่นจากดอกเก๊กฮวย
ผศ.ดร.ยุธนา ศรีอุดม 67 ด้านการผลิต เครื่องกล และด้านพลังงาน
รศ.ธิติมา คุณยศยิ่ง 85 การพัฒนาผลิตภัณฑ์เซรามิก การพัฒนากระบวนการผลิตเซรามิก
ดร.วราภรณ์ กุศลารักษ์ 82 กระบวนการผลิตและแปรรูปผลิตผลเกษตร
รศ.ดร.สุภัค มหัทธนพรรค 75 การหาสาเหตุที่แท้จริงของการเกิดโรคผลแตกผลลาย และข้อมูลของพื้นที่การระบาดโรคพืชสำคัญในลำไย แมลงศัตรูลำไยในแหล่งปลูกที่สำคัญในการผลิตลำไยส่งออกในจังหวัดพะเยาเพื่อใช้เป็นข้อมูลในการเฝ้าระวังและหาแนวทางป้องกันกำจัดโรค
ผศ.ดร.ไวพจน์ กันจู 93 การพัฒนาประชากรลูกผสมกลับข้าวเหนียวพันธุ์สันป่าตอง 1 ให้มียีนความหอม ยีนต้านทาน โรคไหม้และโรคขอบใบแห้ง โดยใช้วิธีการผสมกลับร่วมกับการใช้เครื่องหมายโมเลกุลช่วยในการคัดเลือก
ผศ.ดร.กันยาพร ไชยวงศ์ 103 เทคโนโลยีพลังงานชีวภาพ การผลิตพลังงานจากชีวมวล การประเมินผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม คาร์บอนฟุตพริ้นท์ LCA
นายบรรจง อูปแก้ว 137 1. การอารักขาพืช การจัดการศัตรูพืชแบบปลอดภัยในสวนส้มสีทอง มะขาม มะม่วง ลำไย มะม่วงหิมพานต์ โกโก้ 2. เทคโนโลยีไม้ผลและไม้ดอก การจัดการด้านเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการผลิตส้มสีทอง มะขาม มะม่วง ลำไย มะม่วงหิมพานต์ โกโก้ 3. พืชผัก ผักพื้นบ้าน สมุนไพร พฤกษเคมีและภูมิปัญญาการใช้ประโยชน์จากความหลากหลายทางชีวภาพของพืชสมุนไพร พืชสมุนไพรพื้นบ้านที่สำคัญในพื้นที่ป่าชุมชน และการอนุรักษ์พันธุกรรมมันพื้นบ้าน 4. เทคโนโลยีด้านการออกแบบบรรจุภัณฑ์ ที่เหมาะสมกับสินค้าบนฐานอัตลักษณ์วิถีชีวิตของชุมชน 5. การท่องเที่ยว การพัฒนาเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศ การจัดการวิสาหกิจชุมชนเพื่อการท่องเที่ยว 6. การออกแบบภูมิทัศน์ การออกแบบและการบริหารจัดการทรัพยากรพิพิธภัณฑ์ชุมชน และการจัดการสิ่งแวดล้อม
อาจารย์หทัยธนก พวงแย้ม 86 การวางแผนการดำเนินงาน การวางแผนการผลิต วิศวกรรมอุตสาหการ การจัดตารางการผลิต
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อลงกรณ์ เมืองไหว 67 โลจิสติกส์ การวางแผนการผลิต การวิจัยดำเนินงาน วิศวกรรมอุตสาหการ
อาจารย์เพชรายุทธ แซ่หลี 85 การวางแผนการดำเนินงาน การวางแผนและควบคุมการผลิต การศึกษาการทำงานในอุตสาหกรรม
ดร.พุทธิพงษ์ หงษ์ทอง 100 การเพิ่มผลผลิตข้าว, ระบบการผลิตพืช, กระบวนการมีส่วนร่วม
ว่าที่ ร.ต.สมบูรณ์ ระดม 47 การผลิตสารสกัดชีวภาพเพื่อการผลิตพืชปลอดภัย
ผศ.ดร.ชัยวัฒน์ มครเพศ 77 เทคโนโลยีการผลิตมังคุดและการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากมังคุด
ผศ.อมรรัตน์ สุวรรณโพธิ์ศรี 84 ผลิตภัณฑ์จากจุลินทรีย์ การผลิตแบคทีเรียลเซลลูโลสหรือไบโอเซลลูโลส
ดร.อรทัย บุญทะวงศ์ 57 การแปรูปผลิตภัณฑ์ด้านอาหาร การเก็บรักษา การเลือกใช้บรรจุภัณฑ์ การยืดอายุการเก็บรักษา และการพัฒนาสถานที่การผลิตอาหารเพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐาน อย.
นางวัชรี เทพโยธิน 96 การแปรูปผลิตภัณฑ์ด้านอาหาร การเก็บรักษา การเลือกใช้บรรจุภัณฑ์ การยืดอายุการเก็บรักษา และการพัฒนาสถานที่การผลิตอาหารเพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐาน อย.
นายธีรวัฒน์ เทพใจกาศ 113 การแปรูปผลิตภัณฑ์ด้านอาหาร การเก็บรักษา การเลือกใช้บรรจุภัณฑ์ การยืดอายุการเก็บรักษา และการพัฒนาสถานที่การผลิตอาหารเพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐาน อย.
รศ.ดร. ชิติ ศรีตนทิพย์ 88 สรีรวิทยาของไม้ผล เทคโนโลยีการผลิตและจัดการไม้ผล เทคโนโลยีการปลูกพืชโดยไม่ใช้ดินเทคโนโลยีพลาสม่าและไมโคร/นาโนบับเบิล
ผศ.นภา ขันสุภา 89 เทคโนโลยีการจัดการผักปลอดภัย การแปรรูปผักเชียงดา
ผศ.ปริญญาวดี ศรีตนทิพย์ 88 เทคโนโลยีการจัดการผักปลอดภัย การแปรรูปผักเชียงดา
นายกวินท์ คำปาละ 115 การออกแบบและการผลิตผ้าขิดสลับหมี่
นางปราณี สถิตบรรจง 85 ด้านการตลาดและการคํานวนต้นทุน กําไร ในการผลิต และออกแบบลายผ้า
นายสุรเชษฐ์ จันทร์แสงศรี 68 กระบวนการผลิตผ้า Eco Print
นายมนตรี ทองเชื้อ 94 ความเชี่ยวชาญ:การผลิตสัตว์, การจัดการฟาร์ม
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อโนทัย วิงสระน้อย 97 - การบริหารจัดการศัตรูพืช - การควบคุมศัตรูพืชโดยชีววิธี - การผลิตชีวภัณฑ์ควบคุมศัตรูพืช - กีฏวิทยาทางการแพทย์/ปศุสัตว์ การจัดการศัตรูพืชกัญชาในระบบอินทรีย์ Insect Host Plant Relationship - นิเวศวิทยาเคมี(แมลง&พืช) - แมลงกินได้
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อโนทัย วิงสระน้อย 98 - การบริหารจัดการศัตรูพืช - การควบคุมศัตรูพืชโดยชีววิธี - การผลิตชีวภัณฑ์ควบคุมศัตรูพืช - กีฏวิทยาทางการแพทย์/ปศุสัตว์ การจัดการศัตรูพืชกัญชาในระบบอินทรีย์ Insect Host Plant Relationship - นิเวศวิทยาเคมี(แมลง&พืช) - แมลงกินได้
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อโนทัย วิงสระน้อย 109 - การบริหารจัดการศัตรูพืช - การควบคุมศัตรูพืชโดยชีววิธี - การผลิตชีวภัณฑ์ควบคุมศัตรูพืช - กีฏวิทยาทางการแพทย์/ปศุสัตว์ การจัดการศัตรูพืชกัญชาในระบบอินทรีย์ Insect Host Plant Relationship - นิเวศวิทยาเคมี(แมลง&พืช) - แมลงกินได้
อ.ดร.สันทนา นาคะพงศ์ 86 การผลิตคาร์โบไฮเดรตที่มีหน้าที่ด้วยกระบวนการทางชีวภาพ
อาจารย์ จิรเวฐน์ เพ็ชร์สุทธิ์ 88 ขยายพันธุ์พืช การผลิตผัก ไม้ดอกไม้ปรัดับ การแปรรูปพืชผักการผลิตเมล็ดพันธุ์ผัก
ดร.ภัทราภรณ์ ศรีสมรรถการ 95 1. เทคโนโลยีการผลิตและพัฒนาคุณภาพผัก-ผลไม้และผลิตภัณฑ์ (เครื่องดื่มคุณภาพไวน์) 2.เทคโนโลยีเนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์ 3.การจัดการมาตรฐานและความปลอดภัยในการผลิตอาหารและเครื่องดื่ม
นางปาริชาติ ณ น่าน 89 1. เทคโนโลยีการผลิตและพัฒนาคุณภาพผัก-ผลไม้ธัญพืชและผลิตภัณฑ์ 2. เทคโนโลยีเนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์
ผศ.ดร.นิอร โฉมศรี 96 1.เทคโนโลยีเอนไซม์ทางอาหาร และเทคนิคในการทำโปรตีนให้บริสุทธิ์ 2.จุลชีววิทยาทางอาหาร (เช่น การประยุกต์ใช้จุลินทรีย์กับอาหารหมัก การตรวจวิเคราะห์และการควบคุมคุณภาพอาหารทางจุลินทรีย์ การผลิตกล้าเชื้อจุลินทรีย์ การควบคุมจุลินทรีย์เพื่อความปลอดภัยทางอาหาร ฯลฯ)
ผศ.ดร. จิรภา พงษ์จันตา 83 1.เทคโนโลยีการผลิตและพัฒนาผลิตภัณฑ์จากธัญพืชและพืชหัว 2.การจัดการมาตรฐานและความปลอดภัยในการผลิตอาหารและเครื่องดื่ม
อาจารย์รัตนพล พนมวัน ณ อยุธยา 87 1.การผลิตแอลกอฮอล์ 2. เทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานทางเลือก 3.เครื่องจักรกลทางการเกษตร เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว
ผศ.ปริญญาวดี ศรีตนทิพย์ 91 เทคโนโลยีการจัดการผักปลอดภัย การแปรรูปผักเชียงดา
รศ.ดร. ชิติ ศรีตนทิพย์ 104 สรีรวิทยาของไม้ผล เทคโนโลยีการผลิตและจัดการไม้ผล เทคโนโลยีการปลูกพืชโดยไม่ใช้ดินเทคโนโลยีพลาสม่าและไมโคร/นาโนบับเบิล
ดร.อุษณีย์พร สร้อยเพ็ชร์ 87 มีความเชี่ยวชาญทางด้านการทำฟาร์มไก่และการผสมเทียมไก่
ดร.อัษฎาวุธ สนั่นนาม 91 มีความเชี่ยวชาญทางด้านการผลิตและการจัดการฟาร์มสุกร
อ.สมยศ ศรีเพิ่ม 84 การผลิตไม้ดอก ไม้ผล
ดร.นรพร กลั่นประชา 76 1.การผลิตก๊าซชีวภาพ 2.การปรับสภาพน้ำทิ้งด้วยกระบวนการบำบัดแบบไร้อากาศ
นางจิรนันท์ เสนานาญ 76 การผลิตต้นพันธุ์ไม้ผลพันธุ์ดี เพื่อการค้าสู่ชุมชน มะม่วง
น.ส.รังสิมา อัมพวัน 70 การผลิตต้นกล้วยหอมทอง โดยวิธีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
ดร.ศุภฤทัย อิฐงาม 63 การผลิตไซรัปอ้อย
ดร.ศักยะ สมบัติไพรวัน 150 2553 - ผู้ช่วยสอนนักศึกษาปริญญาตรี รายวิชาปฐพีกลศาสตร์ สาขาวิชาวิศวกรรมเกษตร 2554-2555 - ผู้ช่วยวิจัย งานเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว ศึกษาความสามารถในการยืดอายุการเก็บรักษามะม่วงน้ำดอกไม้โดยใช้ถ่านกัมมันต์ดูดซับเอทิลีนในบรรจุภัณฑ์ระหว่างการขนส่ง 2558 - ผู้ช่วยสอนนักศึกษาปริญญาตรี รายวิชาจุลชีววิทยาอาหาร สาขาวิชาวิศวกรรมเกษตร 2563 - นักวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ ศูนย์อนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี 2564 - หัวหน้าโครงการการพัฒนาศักยภาพผลิตภัณฑ์ท้องถิ่นด้วยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม (12 ผลิตภัณฑ์) ภายใต้โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี - เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป หน่วยบริการวิชาการชุมชน เทคโนธานี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี 2564 - ผู้ช่วยวิจัยโครงการการตรวจสอบชนิดและปริมาณการปนเปื้อนของสารหนูด้วยเทคนิคขั้นสูงจากเครื่องกำเนิดแสงซินโครตรอน รหัสโครงการ PRP6205012260 สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์กรมหาชน) 2565 - นักวิจัยหลังปริญญาเอก สาขาวิชาเทคโนโลยีอาหาร ภายใต้สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี - คณะกรรมการดำเนินการคัดสรรสุดยอดหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ไทย ปี พ.ศ. 2565 จ. นครราชสีมา ตรวจสอบและกลั่นกรองผลิตภัณฑ์ประเภทสมุนไพรที่ไม่ใช่อาหาร (คำสั่งจังหวัดนครราชสีมา ที่ 4785/2565 ลงวันที่ 5 พฤษภาคม 2565) - ที่ปรึกษา/ผู้วิจัย กิจกรรมการสร้างผู้ประกอบการชุมชน (Local Startups) ประจำปี 2564 ภายใต้แผนงานส่งเสริมการนำนวัตกรรมไปใช้ประโยชน์ในพื้นที่เพื่อพัฒนาชุมชนและสังคม (Area based Innovation for Community) เทคโนธานี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี โครงการเลขที่ TN026/2565 เรื่อง การพัฒนาสูตรแชมพูสมุนไพรตามคุณค่าทางวิชาการและควบคุมคุณลักษณะให้ผ่านมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน (The evaluation of herbal shampoo according to the community product standards) วิสาหกิจชุมชนกลุ่มเกษตรกรรวมใจบ้านไกลเสนียด อ.ท่าตูม จ.สุรินทร์ - ที่ปรึกษา/ผู้วิจัย กิจกรรมการสร้างผู้ประกอบการชุมชน (Local Startups) ประจำปี 2564 ภายใต้แผนงานส่งเสริมการนำนวัตกรรมไปใช้ประโยชน์ในพื้นที่เพื่อพัฒนาชุมชนและสังคม (Area based Innovation for Community) เทคโนธานี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารีโครงการเลขที่ TN028/2565 เรื่อง การวัดสมบัติทางเคมี-กายภาพ สเปรย์บรรเทาอาการปวดและแมลงสัตว์กัดต่อยเพื่อทำมาตรฐานการผลิตและส่งเสริมการขาย ( A study of chemo-physical properties of pain and insect bites relief spray to standardize production and marketing campaigns) วิสาหกิจชุมชนแปรรูปสมุนไพรหนองสมอ อ.คง จ.นครราชสีมา - ผู้ช่วยวิจัย โครงการสำรวจความเป็นไปได้ในการใช้ประโยชน์จากของเสียในโรงงานผลิตไส้ กรอก (กู้คืนและปรับสภาพน้ำมันสำหรับใช้เป็นพลังงาน) โรงงานไส้กรอก อ.ขามทะเลสอ จ.นครราชสีมา
อาจารย์ ดร. ศุภลักษณ์ เกตุตากแดด 109 ทรัพยากรประมง สัตว์น้ำ การผสมเทียมปลา
นางสาววิจิตรา อมรวิริยะชัย 100 1.การผลิตพืช -การขยายพันธุ์พืช -การผลิตปุ๋ยหมักชีวภาพและสารชีวภัณฑ์ 2.การพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน -การเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ -การวิเคราะห์ตลาดและแผนธุรกิจ -การพัฒนาบรรจุภัณฑ์ 3.การทำงานวิจัยเชิงพื้นที่ปฏิบัติการชุมชน -การจัดเวทีการประชุมโดยการมีส่วนร่วม -การดำเนินการโครงการด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม -การจัดกระบวนการถอดบทเรียน
นางสาวอมาวสี รักเรือง 103 1. พลังงานทดแทน พลังงานทดแทนและการประยุกต์ใช้ - ระบบทางด้านของไหลและความร้อน เทอร์โมไดนามิกส์ กลศาสตร์ของไหล การถ่ายเทความร้อน - อุปกรณ์แลกเปลี่ยนความร้อน และการทำความเย็นและการปรับอากาศ - กระบวนการผลิตปูนซีเมนต์ และการประกันคุณภาพปูนซีเมนต์
ดร.รวมพร นิคม 81 วิศวกรรมเคมีและกระบวนการ หลักการของกระบวนการผลิตและอุปกรณ์ที่ใช้ในกระบวนการผลิตของอุตสาหกรรมต่างๆ การออกแบบและควบคุมการผลิตของกระบวนการทางเคมีและความร้อนให้มีประสิทธิภาพ
นายพิชิตร ทองดี 89 การผลิตเครื่องมือเครื่องจรักช่วยในการเพิ่มผลผลิตผ(การพัฒนากระบวนการผลิต ให้มีคุณภาพ ลดเวลาการผลิต เพิ่มกำลังการผลิตให้มากขึ้นรวมถึงการออกแบบและจัดสร้างเครื่องมือ อุปกรณ์ในการช่วยยกระดับคุณภาพชีวิตชุมชน)
ดร.อุกฤษฏ์ ธนทรัพย์ทวี 68 การเพิ่มประสิทธิภาพกระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์อาหาร
ผศ.กุลยุทธ บุญเซ่ง 73 ด้านเทคโนโลยีการผลิต
อาจารย์นิพนธ์ มณีโชติ 77 ด้านเทคโนโลยีการผลิต
ดร.กัมปนาจ เภสัชชา 93 การผลิตอาหารหนูอัดเม็ดใช่เอง ต้นทุนต่ำ
อาจารย์ ดร.ณัฐพร จิระวัฒนาสมกุล 88 การผลิตสารสกัดจากพืช
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธนกร ราชพิลา 133 ผู้กำหนดกระบวนการฆ่าเชื้อด้วยความร้อนในการผลิตอาหารในภาชนะบรรจุ ที่ปิดสนิทชนิดที่มีความเป็นกรดต่ำและชนิดปรับกรด (Process Authority) การพัฒนาผลิตภัณฑ์ด้วยวิธีระเหยน้ำแบบพ่นฝอย (Spray Drying) การพัฒนาผลิตภัณฑ์ด้วยวิธีระเหิด (Freeze Drying) การพัฒนาเทคโนโลยีการแปรรูปอาหารสมัยใหม่ที่ไม่ใช้ความร้อน (Novel food Technology) การจัดการสายโซ่อุปทานอุตสาหกรรมเกษตร การบริหารคุณภาพอาหาร สมุนไพร ตามมาตรฐานอาหารสากล การปรับปรุงกระบวนการผลิตเพื่อเพิ่มผลผลิต สถิติในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ การวางแผน ควบคุมและติดตามกระบวนการผลิต
อาจารย์ลฎาภา ศรีพสุดา 84 การผลิตสื่อประชาสัมพันธ์, นิเทศศาสตร์, communation art, journalism, creative media, new media research, Mass Communication
ดร.วิรุณ โมนะตระกูล 101 การวางแผนกระบวนการผลิตในงานอุตสาหกรรม อาหาร ยานยนต์ เกษตร การออกแบบเครื่องจักรและเครื่องมือสนับสนุนระบบการผลิต อาหาร ยานยนต์ เกษตร การวิเคราะห์และการจัดการต้นทุนในอุตสาหกรรม อาหาร ยานยนต์ เกษตร วิศวกรควบคุมและออกแบบงานวิศวกรรมเครื่องกล โดยมีใบอนุญาตจากสภาวิศวกร ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมระดับภาคีวิศวกร สาขาวิศวกรรมเครื่องกล เลขทะเบียน ภก. 23988
ดร.พรพิษณุ ธรรมปัทม์ 94 ระบบคุณภาพโรงงานอุตสาหกรรมอาหาร การพัฒนาผลิตภัณฑ์ การพัฒนากระบวนการผลิต อาหารเฉพาะทาง การนำของเหลือทิ้งมาใช้ในกระบวนการผลิต
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ทวีทรัพย์ ไชยรักษ์ 96 ความอุดมสมบูรณ์ของดิน การผลิตปุ๋ยอินทรีย์ การผลิตพืช
ผศ.วิภาดา มุนินทร์นพมาศ 95 ดำเนินการโครงการกับวว และสปอว.ตั้งแต่ปี 2560-2566 อย่างต่อเนื่องจนถึงปัจจุบันโดยทำการพัฒนาและยกระดับกลุ่มวิสาหกิจชุมชนในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนใต้ต้านต่าง ๆ ดังนี้ 1.ด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์ - ปี 2560 พัฒนาผลิตภัณฑ์ส้มแขกสามรส น้ำส้มแขกเข้มข้น และน้ำพริกเผาส้มแขก ให้กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรบ้านท่าสาป เลขที่ 79 บ้าน ท่าสาป อ.เมือง จ.ยะลา 95000 (สนับสนุนโดยสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ;วว.) - ปี 2561 การพัฒนาผลิตภัณฑ์ขนมรังผึ้งและวาฟเฟิล ให้นายองอาจ สายวารี ที่อยู่ บ้านเลขที่ 54 ถนน อนุสรณ์มหาราช ตำบล สะเตง อำเภอเมือง จังหวัดยะลา 95000 โทรศัพท์ 093-6808573 (สนับสนุนโดยสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ;วว.) - ปี 2562 พัฒนาผลิตภัณฑ์ข้าวแต๋นหน้ากล้วยหินตากเคลือบช็อกโกแลต กลุ่มสตรีบ้านเงาะกาโปร์ บ้านเลขที่ 63/1 ถนน สุขยางค์ ตำบล บันนังสตา อำเภอ นันนังสตา จังหวัดยะลา 95130 (สนับสนุนโดยคูปองวิทย์ ปี 2562) -ปี 2564 พัฒนาผลิตภัณฑ์เปลือกมะนาวสามรสให้กับกลุ่มวิสาหกิจชุมชนกลุ่มมะนาวสร้างตนเอง อ.โคกโพธิ์ จ.ปัตตานี (สนับสนุนโดยคูปองวิทย์เพื่อโอทอป ปี 64) - ปี 2564 พัฒนาผลิตภัณฑ์น้ำลองกองผสมน้ำอัญชันเสริมคอลลาเจนแคลลอรี่ต่ำและลองกองหยีให้กับกลุ่มวิสาหกิจแปรรูปผลไม้บ้านเชิงเขา อ.บาเจาะ จ.นราธิวาส (สนับสนุนโดยคูปองวิทย์เพื่อโอทอป ปี 64) - ปี 2566 การพัฒนาผลิตภัณฑ์แกงไตปลาแห้งและน้ำพริกแกงไตปลาเจเพื่อส่งเสริมการตลาดให้กับกลุ่มวิสาหกิจชุมชนน้ำพริกแม่ผัว อ.เมือง จ.ยะลา (สนับสนุนโดยสปอว.2566) 2.พัฒนาฉลากและบรรจุภัณฑ์ - ปี 2560 การพัฒนาบรรจุภัณฑ์ผลิตภัณฑ์ธัญพืชบด กลุ่มแปรรูปผลิตภัณฑ์การเกษตร ตำบลตาชี อำเภอยะหา จังหวัดยะลา (สนับสนุนโดยสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ;วว.) - ปี 2561 การพัฒนาฉลากและบรรจุภัณฑ์ผลิตภัณฑ์ขนมรังผึ้งและวาฟเฟิล ให้นายองอาจ สายวารี ที่อยู่ บ้านเลขที่ 54 ถนน อนุสรณ์มหาราช ตำบล สะเตง อำเภอเมือง จังหวัดยะลา 95000 โทรศัพท์ 093-6808573 (สนับสนุนโดยสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ;วว.) -ปี 2464 พัฒนาฉลากและบรรจุภัณฑ์ผลิตภัณฑ์เปลือกมะนาวสามรสให้กับกลุ่มวิสาหกิจชุมชนกลุ่มมะนาวสร้างตนเอง อ.โคกโพธิ์ จ.ปัตตานี (สนับสนุนโดยคูปองวิทย์เพื่อโอทอป ปี 64) - ปี 2564 3.พัฒนามาตรฐาน - ปี 2560 ขอมาตรฐานอย.จนได้รับรองมาตรฐานให้กับผลิตภัณฑ์ธัญพืชบด กลุ่มแปรรูปผลิตภัณฑ์การเกษตร ตำบลตาชี อำเภอยะหา จังหวัดยะลา (สนับสนุนโดยสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ;วว.) - ปี 2562 ขอมาตรฐานอย.อาคารผลิตจนได้รับรองมาตรฐานในผลิตภัณฑ์ข้าวแต๋นหน้ากล้วยหินตากเคลือบช็อกโกแลต กลุ่มสตรีบ้านเงาะกาโปร์ บ้านเลขที่ 63/1 ถนน สุขยางค์ ตำบล บันนังสตา อำเภอ นันนังสตา จังหวัดยะลา 95130 (สนับสนุนโดยคูปองวิทย์ ปี 2562) - ปี 2565 ขอมาตรฐานอย.จนได้รับรองมาตรฐาน อาคารผลิต ผลิตภัณฑ์มะนาวสามรส ผลิตภัณฑ์น้ำมะนาวผสมน้ำผึ้งบรรจุขวดให้กับกลุ่มวิสาหกิจชุมชนกลุ่มมะนาวสร้างตนเอง อ.โคกโพธิ์ จ.ปัตตานี (สนับสนุนโดยคูปองวิทย์เพื่อโอทอป ปี 2565) 4.พัฒนากระบวนการผลิต - ปี 2565 พัฒนากระบวนการผลิตน้ำมะนาวผสมน้ำผึ้งบรรจุขวดให้กับกลุ่มวิสาหกิจชุมชนมะนาวสร้างตนเอง 16/5 บ้านโพธิ์ หมู่ 2 ถนนเพรชเกษม ต.มะกรูด อ.โคกโพธิ์ จ.ปัตตานี (สนับสนุนโดยคูปองวิทย์เพื่อโอทอป ปี 65)
นายอนาวิล ทิพย์บุญราช 101 การออกแบบ และสร้างเครื่องจักร (วิศวกรรมการผลิต) ๑. วัสดุวิศวกรรม ๒. เครื่องมือวิศวกรรม ๓. การออกแบบการทดลอง ๔. การปรับปรุงประสิทธิภาพ
นางสาวฤทัยภัทร ศุกระศร 65 (วิศวกรรมการผลิต) คณะวิศวกรรมศาสตร์ ความชำนาญพิเศษ ๑. การลดต้นทุน ๒. การจัดการสินค้าคงคลัง ๓. การพยากรณ์ความต้องการ ๔. การลดของเสียด้วยหลักการ SPC
นายพิทูร นพนาคร 64 (วิศวกรรมการผลิต) คณะวิศวกรรมศาสตร์ ความชำนาญพิเศษ ๑. วัสดุวิศวกรรม ๒. เครื่องมือวิศวกรรม ๓. โลหะวิทยา ๔. งานหล่อและอบชุมโลหะ
นายสรายุทธ มาลัยพันธุ์ 85 (วิศวกรรมการผลิต) คณะวิศวกรรมศาสตร์ ความชำนาญพิเศษ ๑. งาน Work Shop (เชื่อม กัด กลึง เจียระไน) ๒. เครื่องมือวิศวกรรม
ว่าที่ ร.ต.สายันต์ ปานบุตร 82 ด้านเทคโนโลยีการเกษตร การเลี้ยงปศุสัตว์ การทำเกษตรผสมผสาน และด้านการนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้
นายทนงศักดิ์ ธาตุชัย 77 -เทคนิคการผลิตสุกรในระบบฟาร์มแบบปิด (EVEP) และระบบเปิด - เทคนิกการผลิตโคเนื้อ
อาจารย์กิตติศักดิ์ จิตต์เกื้อ 104 การจัดการกลุ่มชุมชน การจัดการแบบลีน การวางการผลิต
ผศ.ธันวา ไวยบท 79 เทคโนโลยีการผลิตสัตว์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ว่าที่ พันตรีดร.สมชาย อุดร 87 เทียบและผสมสีพิมพ์และสีย้อมผ้า, ทดสอบสีและสารเคมีที่ใช้ในโรงงาน ควบคุมกระบวนการผลิตสีและสารเคมี
นางสาวอังควิภา อาจไธสง 87 เทคโนโลยีการผลิตเห็ด
นางรักชนก กิมสงวน 84 เทคโนโลยีการผสมเทียมปลา
ศิริพันธ์ แสงมณี 77 เทคโนโลยีการผลิตไม้ผล
นางสาวฐิรวดี โพธิ์บัว 68 เทคโนโลยีการผลิตสารชีวภัณฑ์
นางสาวธิภารัตน์ สำลีเติมสิริ 67 การผลิตปุ๋ยหมัก สารชีวภัณฑ์
ผศ.ดร.กุลยา สารชีวิน 90 การบริหารจัดการโครงการ วางแผนและควบคุมดูแลโครงการให้เป็นไปตามเป้าหมาย งานทางด้านสิ่งแวดล้อม วิทยากรผู้ให้ความรู้เกี่ยวกับการอบรม
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร. สิทธิบูรณ์ ศ 107 นวัตกรรมเครื่องสไลด์กล้วยตามแนวยาวและขวาง (Longitudinal and Horizontal-Aligned Banana Slicing Machine), การออกแบบ สร้างเครื่องจักร เครื่องมือและอุปกรณ์เพื่อการผลิตระดับชุมชนและอุตสาหกรรมขนาดเล็กถึงระดับกลาง
อาจารย์กัญญ์ณพัชญ์ พลเยี่ยม 82 การวิเคราะห์ต้นทุนและผลตอบแทนทางเศรษฐกิจและสังคม, การออกแบบผังการผลิต
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.รัชนี บัวระภา 101 พืชอาหารสัตว์ การผลิตสัตว์เคี้ยวเอื้องขนาดเล็ก
อ.พรพิษณุ ธรรมปัทม์ 75 การพัฒนากระบวนการผลิต การพัฒนาผลิตภัณฑ์ อาหารเฉพาะทาง ระบบคุณภาพโรงงานอุตสาหกรรมอาหาร
ว่าที่ร้อยตรีธรรมนูญ ม้าวิเศษ 59 การผลิตพลังงานชีวมวลจากมูลสัตว์
ว่าที่ร้อยตรีธรรมนูญ ม้าวิเศษ 79 การผลิตชาสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
ว่าที่ร้อยตรีธรรมนูญ ม้าวิเศษ 65 กระบวนการผลิตข้าวฮางงอก
ว่าที่ร้อยตรีธรรมนูญ ม้าวิเศษ 93 การผลิตจุลินทรีย์จาวปลวก
อาจารย์วรเชษฐ์ แสงสีดา 83 การผลิตถ่านไบโอชาร์ โดยใช้วิธีการอบไม้
อาจารย์ กมลรักษ์ แก้งคำ 69 การบริหารจัดการเกษตรสมัยใหม่ ออกแบบและแปรรูปผลิตภัณฑ์ ลดต้นทุนการผลิต
อาจารย์ปณิธาน วรรณวัลย์ 68 การผลิตเหล็กปิ้งย่างประกอบเตาอั้งโล่ปรับระดับได้ เป็บันการผลิตสินค้าเพื่อใช้ในการประกอบอาหารในครัวเรือน
นางสาวนวรัตน์ เพ็ชรปานกัน 85 การศึกษาผลผลิตและต้นทุนการผลิตการเลี้ยงไก่พื้นเมืองโดยใช้มันสำปะหลังป่นทดแทนใบกระถินป่นในสูตรอาหาร
นายสมเกียรติ นิตพงศ์สุวรรณ 92 การผลิตอาหารสัตว์ การเลี้ยงสุกร
นางศยามล นิติพงศ์สุวรรณ 90 การผลิตอาหารสัตว์
รศ. ดร.ไชยวรรณ วัฒนจันทร์ 84 การผลิตสัตว์เคี้ยวเอื้องขนาดเล็ก การจัดการฟาร์ม และการแปรรูปแพะ
ดร.ชัยณรงค์ รัตนกรีฑากุล 89 1.จดอนุสิทธิบัตร "สูตรผสมสำหรับ ผลิตภัณฑ์สารสกัดสมุนไพร ชนิดสารเข้มข้นแขวนลอย" 2. จดลิขสิทธิ์ ปี 2011 จำนวน 4 เรื่อง "สินค้าคุณภาพจากแปลงสู่ผู้บริโภค" "การประเมินความเสี่ยงเป็นการเตรียมระบบ GAP ให้พร้อมกับสิ่งที่เกิดขึ้น" "การระมัดระวังระหว่างการใช้สารเคมี" "สุขอนามัยระหว่างการเก็บเกี่ยว" 3. งานวิจัยที่เป็นการรายงานครั้งแรกของประเทศไทยที่พบว่า เชื้อสาเหตุโรคกิ่งแห้งของทุเรียนเป็นเชื้อรา Fusarium incarnatum และ F. solani ไม่ใช่เชื้อรา Phytophthora palmivora ตามที่นักวิชาการหลายท่านเข้าใจ รวมทั้งพบว่าเชื้อรา Phytopythium vexans สามารถเข้าทำลายทุเรียน และทำให้เกิดโรครากเน่าโคนเน่าได้เช่นเดียวกับ P. palmivora และได้แนะนำสารเคมีป้องกันกำจัดเชื้อราชนิดที่ควบคุมได้ทั้งเชื้อรา Fusarium, Phytophthora, Phytopythium และ Pythium โดยเกษตรกรไม่จำเป็นต้องสิ้นเปลืองซื้อสารเคมีหลายชนิดมาผสมเองเพราะสาเหตุที่แท้จริงของโรคกิ่งแห้งนั้นเกิดจากเชื้อรา Fusarium solani และ F. incarnatum มิได้เกิดจากเชื้อรา Phytophthora palmivora และได้แนะนำสารเคมีที่มีประสิทธิภาพในการควบคุมโรคกิ่งแห้งซึ่งสามารถควบคุมเชื้อรา Phytophthora palmivora สาเหตุโรครากเน่าโคนเน่าของทุเรียนได้อีกด้วย โดยจำเป็นต้องระมัดระวังการใช้สารเคมี benzimidazoles มากยิ่งขึ้น เนื่องจากเชื้อราสาเหตุเกิดการต้านทานได้ 4. หาความแตกต่างของสารประกอบบนผิวมะม่วงที่ได้รับสารกลุ่ม salicylic เพื่อกระตุ้นความต้านทานโรคแอนแทรคโนส จากงานวิจัยการกระตุ้นความต้านทานการเกิดโรคในมะม่วงหลังการเก็บเกี่ยว
ดร.วาณี ชนเห็นชอบ 80 1. ความสามารถของภาชนะบรรจุเพื่อการขนส่งในการปกป้องผลิตผลเกษตร 2. การพัฒนาฟิล์มเพื่อยืดอายุและรักษาคุณภาพผลิตผลเกษตร (ร่วมกับศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ) 3. รางวัลชนะเลิศ สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ "อุปกรณ์เพิ่มความแม่นยำในการวิเคราะห์อะฟลาทอกซิน บี 1" และรางวัลผลงานประดิษฐ์คิดค้น KU-AF2 : คอลัมน์ขจัดสิ่งรบกวนสำหรับการวิเคราะห์อะฟลาทอกซิน " จากโครงการวิจัย การเพิ่มศักยภาพของชุดตรวจสอบสารพิษเชื้อราซีราลีโนนและอิมมูโนแอฟฟินิตีคอลัมน์สำหรับอะฟลาทอกซินเพื่อการผลิตเชิงพาณิชย์
ดร.กิตติพงษ์ ลาลุน 49 ด้านพลังงานชีวมวล เช่น เครื่องอัดเม็ดชีวมวลจากใบอ้อย การผลิตถ่านอัดแท่ง การผลิตน้ำมันเชื้อเพลิงจากวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร
ดร.อำภา ยาสมุทร์ 79 โครงการ การผลิตอินเตอร์เฟียรอนแกมมาในปริมาณมากเพื่อใช้ทางการแพทย์และการบูรณาการปลายน้ำสำหรับชุดคัดกรองแอนติ-อินเตอร์เฟียรอนแกมมาแอนติบอดีในผู้ป่วยกลุ่มอาการโรคภูมิคุ้มกันบกพร่องในวัยผู้ใหญ่ ภายใต้งบวิจัยที่ได้รับการคัดเลือกประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 โครงการการใช้ประโยชน์อาคารนวัตกรรมชีวภัณฑ์มหาวิทยาลัยมหิดล (MUBio) เพื่อทดสอบและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตชีววัตถุและชุดตรวจโรค ในระดับอุตสาหกรรม
ดร.ณัฐชัย พงษ์ประเสริฐ 82 Micro-nano bubbles Technology, การปลูกพืชในระบบ Plant factory, เทคโนโลยีการผลิตต้นอ่อนพืชในระบบปิด
ดร.วราภา มหากาญจนกุล 84 Safety of minimally processed produce Microbial stress response GMP/HACCP system Mycotoxin detection in food products ความปลอดภัยของการผลิตด้วยการแปรรูปน้อยวิธี, การตอบสนองต่อความเครียดของจุลินทรีย์, ระบบ GMP/HACCP, การตรวจสารพิษจากเชื้อราในผลิตภัณฑ์อาหาร
ดร.เกียรติวุฒิ ประเสริฐสุข 72 ด้านการผลิตและประยุกต์ใช้เทร่าเฮิรตซ์
นายภัทรกร รัตนวรรณ์ 73 ด้านการผลิตและประยุกต์ใช้เทร่าเฮิรตซ์
นางสาวเจียยี่ เซีย 59 ด้านการผลิตและประยุกต์ใช้เทร่าเฮิรตซ์
ดร.รุ่งโรจน์ จินตเมธาสวัสดิ 73 ด้านการผลิตและประยุกต์ใช้เทร่าเฮิรตซ์
ธรรมศาสตร์ จันทรัตน์ 92 การผลิตชีวภัณฑ์ควบคุมข้าวศัตรูพืช, Zero Waste, การสร้างมูลค่า
อาจารย์ สินมหัต ฝายลุย 83 การออกแบบและผลิตแม่พิมพ์ พลาสติกเพื่องานอุตสาหกรรม การผลิตชิ้นส่วนวิทยาศาสตร์ อากาศยานจำลองและขนาดเล็ก
ผศ. ดร.วารุณี ศรีสงคราม 97 การพัฒนาชุมชนด้วยเทคโนโลยี, การควบคุมระบบการผลิตแบบอัตโนมัติ ( ระบบ IOT /นิวเมติก / โปรแกรมเมเบิ้ลคอนโทรลเลอร์/ การควบคุมระบบต่างๆ), พลังงานทดแทน ( การผลิตกระแสไฟฟ้าด้วยพลังงานแสงอาทิตย์ /พลังงานลม ),งานวิศวกรรมไฟฟ้าแรงสูง (การวิเคราะห์การเกิดทรานเซียนบนอุปกรณ์ไฟฟ้าแรงสูง , การตรวจวัดการเกิดดีสชาจน์)
ผศ.ประวิทย์ ตฤณรัชตเมธี 100 อุตสาหกรรมการผลิต ระบบการผลิต การวางแผน การจัดการ การลดต้นทุนกระบวนการ การปรับปรุงกระบวนการ
ดร.นฎาภัสส์ คุ้มกลาง 74 แปรรูปอาหาร, การผลิตเอทานอลจากกระบวนการ fermentation และการทำให้บริสุทธิ์ สารสกัดการต้านอนุมูลอิสระ การต้านการอักเสบ
นายดำรงค์ศักดิ์ สุวรรณศรี 51 มีความเชี่ยวชาญด้านการผลิตพืชไร่
อาจารย์ณวรรณพร จิรารัตน์ 63 มีความเชี่ยวชาญด้านการผลิตสัตว์
อาจารย์จันทรา สโมสร 70 มีความเชี่ยวชาญด้านการจัดการฟาร์มโคนม และการผลิตอาหารสำหรับโครีดนม
อ.ศักดิ์ชัย อินจู 62 เทคโนโลยีการพัฒนากระบวนการผลิต และออกแบบผลิตภัณฑ์เพิ่มมูลค่า
อ.กิตติวัลย์ ทองอร่าม 56 การพัฒนาศักยภาพการผลิต
ผศ.ดร.ศศิธร ใบผ่อง 54 หลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิตอาหาร, มาตรฐานและความปลอดภัยอาหาร, การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร
รศ.วิชัย ฉัตรทินวัฒน์ 50 การพัฒนาระบบการผลิตและระบบการจัดการคุณภาพตามมาตรฐาน สำหรับโรงงานและผู้ประกอบการโอทอป การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต การลดต้นทุนดำเนินงาน การออกแบบระบบการควบคุมคุณภาพสำหรับโรงงาน
อาจารย์ ดร.นิอร งานฮุย 42 สรีรวิทยาพืช เทคโนโลยีเมล็ดพันธุ์ การผลิตพืชอินทรีย์ เทคโนโลยีการผลิตข้าว
รศ.ดร.ภญ. วรินธร รักษ์ศิริวณิช 63 ปรับปรุงสูตรเบสสบู่ และกระบวนการผลิต
อาจารย์ ดร.สุเมธ เพียยุระ 64 เทคโนโลยีการแปรรูปอาหารสมัยใหม่ โพรไบโอติก การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร การผลิตขนมขบเคี้ยวอัดพองโดยกระบวนการเอกซ์ทรูชัน
นายธีรวัจน์ อุดมสินเจริญกิจ 55 เทคโนโลยีการส่งเสริมด้านการตลาด การถ่ายภาพสินค้าเพื่อการตลาด/การผลิตสื่อด้านการโฆษณา
นายธีรวัจน์ อุดมสินเจริญกิจ 50 เทคโนโลยีการส่งเสริมด้านการตลาด การถ่ายภาพสินค้าเพื่อการตลาด/การผลิตสื่อด้านการโฆษณา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์.ดร. มนตรี แสงสุริยันต์ 46 การออกแบบบรรจุภัณฑ์ บุคลากรด้านการผลิต ด้านเทคนิค ด้านวิจัยและพัฒนาและด้านการตลาดในอุตสาหกรรมการผลิตวัสดุและภาชนะบรรจุ
นางสาววนิดา ถาปันแก้ว 47 กระบวนกรค้นหาอัตลักษณ์ชุมชนเพื่อพัฒนากระบวนการผลิตผ้า ลายผ้า บรรจุภัณฑ์ผ้าทอ และจักสาน,กระบวนกรวิเคราะห์จุดอ่อนจุดแข็งของชุมชนและผู้ประกอบการ, การทำการตลาดออนไลน์, งานด้านการยกระดับเศรษฐกิจชุมชนด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์ในท้องถิ่น
ผศ.ปิยวรรณ ปาลาศ 32 การผลิตและแปรรูปผลิตภัณฑ์ปลาตลอดโซ่อุปทาน
อาจารย์ จงรัก ดวงทอง 32 การผลิตและการใช้สมุนไพรเพื่อการดูแลสุขภาพ
อ.ดร.สุทธิดา วิทนาลัย 36 เทคโนโลยีการผลิตเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
ว่าที่ร้อยตรีสมหมาย แก้วมณี 32 การจัดการสวนปาล์มน้ำมัน การผลิตปุ๋ยอินทรีย์
ผศ.จุฑาทิพย์ อาจชมพู 35 เทคโนโลยีการผลิตหมอนยางพารา ผลิตภัณฑ์ยางพารา
นางสาวนวลนพมล ศรีอุทัย 44 กลุ่มสาขา Natural Science โภชนะศาสตร์สัตว์เคี้ยวเอื้อง,การผลิตโคนม,การผลิตสุกร
ว่าที่ร้อยตรีฉัตรชัย ศรีเพิ่ม 29 มาตรฐานฟาร์มเลี้ยงสัตว์/การผลิตอาหารข้นสำหรับโคขุน/การเลี้ยงโคขุน
นายจิรภาส อารี 35 เครื่องดื่มและการผสมเครื่องดื่ม (Classic Bartender) และการบริการอาหารและเครื่องดื่ม
นายธีรวิสิฏฐ์ ประเสริฐสิน 26 ด้านการผลิตอุปกรณ์ค้ำยันต้นกล้วย
นางปิยะพร เจริญหล้า 27 ด้านการผลิต และพัฒนาอาหารว่าง เพื่อบำรุงสุขภาพ
นางรัตนาภรณ์ สุขโข 28 ด้านการผลิต และพัฒนาอาหารว่าง เพื่อบำรุงสุขภาพ
นางสิรินทร เขียนสีอ่อน 40 ด้านการผลิต และพัฒนาอาหาร เพื่อบำรุงสุขภาพ
นายธีรชัย ปทุมพร 37 มีความเชี่ยวชาญด้านการผลิต อุปกรณ์ออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
นายมนูญ รักษาภักดี 29 มีความเชี่ยวชาญด้านการผลิตอุปกรณ์ลบคมท่อทองแดงไฟฟ้าไร้สาย
ดร.ปัทมา จันทร์เรือง 31 -ความรู้การเตรียมสารชีวภัณฑ์และสารสกัดสมุนไพรสำหรับการผลิตกาแฟอินทรีย์ -ความรู้เรื่องกระบวนการดูแลรักษาโรคและแมลงทั้งกระบวนการปลูก และการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวกาแฟอินทรีย์ - ถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านการเลี้ยงชันโรงในสวนกาแฟอินทรีย์
นางสาวกัลยา พงสะพัง 46 การวิเคราะห์และการเขียนแผนธุรกิจ ธุรกิจเพื่อสังคม การบริหารจัดการองค์การ การออกแบบผลิตภัณฑ์ การจัดการการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ การผลิตสารสกัดและผลิตภัณฑ์สารสกัดในเชิงการค้า
รศ.ดร.อาธรณ์ วรอัด 40 การเคลือบฟิล์มบางด้วยการเคลือบในสุญญากาศ (vacuum coating) เป็นการปรับปรุงผิววัสดุแนวทางหนึ่งที่กำลังได้รับความสนใจอย่างกว้างขวางจากกลุ่มนักวิจัยและภาคอุตสาหกรรม โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเคลือบด้วยระบบสปัตเตอริ่ง (sputtering system) เช่น การเคลือบแข็ง (hard coating) บนผิวเครื่องมือตัดเจาะต่าง ๆ ทางอุตสาหกรรม เป็นการปรับปรุงพื้นผิวของเครื่องมือตัดเจาะให้มีความแข็งและยืดอายุการใช้งานของอุปกรณ์ให้ยาวนานขึ้น ซึ่งช่วยลดต้นทุนในการผลิตและยังเป็นการเพิ่มมูลค่าให้กับเครื่องมือตัดเจาะอีกด้วย นอกจากนี้ยังมีการเคลือบเพื่อใช้งานคุณสมบัติทางแสง เช่น ฟิล์มกรองแสงบนกระจกรถยนต์หรือในตัวอาคาร หรือการปรับปรุงสมบัติทางวัสดุศาสตร์สำหรับอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ เซนเซอร์ เป็นต้น
นางสาวสุวิมล เทียกทุม 25 การจัดการการผลิต เพิ่มประสิทธิภาพ ลดต้นทุน
ดร.จิรพรรณ สัจจารักษ์ 28 1. ชีววิทยาและวงจรชีวิต (Life cycle) ของปลิงทะเล 2. การคัดเลือกพ่อแม่พันธุ์และเทคนิคการกระตุ้นให้ปลิงปล่อยเซลล์สืบพันธุ์ ๓. การผสมเซลล์สืบพันธุ์และเพาะฟักลูกปลิงระยะวัยอ่อน 4. เทคนิคการอนุบาลลูกปลิงระยะว่ายน้ำ 5. เทคนิคการอนุบาลลูกปลิงระยะลงเกาะ 6. การเตรียมน้ำและการจัดการคุณภาพน้ำสำหรับการอนุบาลและการเลี้ยงปลิงทะเลระยะวัยรุ่น 7. เทคนิคและวิธีการบรรจุและขนส่งลูกพันธุ์ปลิงทะเล 8. เทคนิคการบรรจุและการขนส่งพ่อแม่พันธุ์ปลิงทะเล
ดร.นัทท์ นันทพงศ์ 26 เทคนิคและวิธีการผลิตและผสมวัตถุดิบอาหารสำหรับปลิงทะเลในบ่อดิน
อาจารย์ฮุชเซ็น นิยมเดชา 46 การจัดการกระบวนการผลิต การวางผังโรงงาน ระบบมาตรฐาน HALAL
อาจารย์ ทับทิม เป็งมล 36 วุฒิการศึกษาปริญญาตรี ศศบ.อุตสาหกรรมท่องเที่ยว วุฒิการศึกษาปริญญาโท ศศม.การจัดการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน วุฒิการศึกษาปริญญาเอก ปรด.พัฒนาการท่องเที่ยว (กำลังศึกษา) ความเชี่ยวชาญ การพัฒนาและการจัดการท่องเที่ยวแบบยั่งยืน เส้นทางเดินป่า การท่องเที่ยว โดยชุมชน การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม การท่องเที่ยวเชิงเกษตร วัฒนธรรมกลุ่มชาติพันธุ์ การแปรรูป ผลิตผลทางการเกษตรในระบบครัวเรือน การผสมเครื่องดื่ม
อาจารย์ ดร.นิราณี บือราเฮง 26 การผลิตการดูแลพืชผัก/การผลิตต้นอ่อนพืช การเพาะกล้าและขยายพันธุ์พืช
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อิสมะแอ เจ๊ะหลง 36 การผลิตผึ้งชันโรง
อาจารย์สุวรรณา ทองดอนคำ 36 การผลิตสัตว์, การจัดการการเลี้ยง/การจัดการฟาร์ม, โภชนศาสตร์สัตว์/อาหารลดต้นทุน, คุณภาพเนื้อสัตว์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อีลีหย๊ะ สนิโซ 31 เทคโนโลยีการแปลงขยะเป็นพลังงาน, เทคโนโลยีการอบแห้งวัสดุอาหารและผลผลิตการเกษตร, พลังงานที่ผลิตไฟฟ้าขนาดจิ๋ว, การนำชีวมวลมาใช้เป็นเชื้อเพลิงทดแทน, การผลิตไบโอแก๊สจากขยะอินทรีย์ในครัวเรือน
ผู้ช่วยศาสตราจารย์สมทบ โวทโอสถ 26 การผลิตเห็ดแบบครบวงจร
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อีลีหย๊ะ สนิโซ 46 เทคโนโลยีการแปลงขยะเป็นพลังงาน, เทคโนโลยีการอบแห้งวัสดุอาหารและผลผลิตการเกษตร, พลังงานที่ผลิตไฟฟ้าขนาดจิ๋ว, การนำชีวมวลมาใช้เป็นเชื้อเพลิงทดแทน, การผลิตไบโอแก๊สจากขยะอินทรีย์ในครัวเรือน
ผศ.ดร.สุรชัย ขันแก้ว 36 วัสดุบรรจุภัณฑ์ การรักษาคุณภาพด้วยบรรจุภัณฑ์ เทคโนโลยีการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ การประยุกต์ใช้วัสดุบรรจุภัณฑ์เพื่อการควบคุมคุณภาพ ยืดอายุการเก็บรักษา การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีทางการพิมพ์ในการผลิตสิ่งพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ การพัฒนาวัสดุทางการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์
ภญ.ดร.ภัทรานุช เอกวโรภาส 38 การผลิตยา, การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
ผศ.ดร.ภัทรพร ภักดีฉนวน 27 การปรับปรุงพันธุ์ข้าว และเทคโนโลยีการผลิตเมล็ด พันธุ์ข้าว
อาจารย์ ดร.นฤมล รักไชย 33 การผลิตไซรัปจากข้าวช่อขิง ด้วยเทคโนโลยีชีวภาพ
นางสาววิภาดา วงศ์สุริยา 24 นวัตกรรมการพัฒนาผลิตภัณฑ์, เทคโนโลยีการผลิต, วิศวกรรมศาสตร์
ปรานต์ เมฆอากาศ 74 เขียนโปรแกรมควบคุมระบบอัตโนมัติหรือจัดการผ่านอินเทอร์เน็ต และใช้คอมพิวเตอร์วิเคราะห์ข้อมูลขนาดใหญ่