เครือข่ายส่งเสริมธุรกิจเทคโนโลยีและนวัตกรรม กปว.#
  • บริการของ กปว.
    • โครงการ
    • เทคโนโลยี
    • ผู้เชี่ยวชาญ
    • คำปรึกษา/ลูกค้า
    • ผลิตภัณฑ์
    • แลกเปลี่ยนเรียนรู้
  • หน้าหลัก
  • Tuesday, July 1, 2025 เวลา :

ข้อมูลผู้เชี่ยวชาญ 195

หมายเลขผู้เชี่ยวชาญ
423
เข้าชม
195
ชื่อผู้เชี่ยวชาญ
นางณิชานันท์ กุตระแสง
หน่วยงาน
มหาวิทยาลัยราชภัฎสกลนคร
ความเชี่ยวชาญ
การผลิตและขยายหัวเชื้อชีวภัณฑ์ป้องกันและกำจัดศัตรูพืช
ตัวอย่างผลงาน
เกษตรกรต้องมีความรู้ในการวางแผน การกำจัดเศษซากพืชในพื้นที่สวนอย่างคุ้มค่าและการจัดการให้เพื่อเพิ่มแสงสว่างในแปลงลดความเสี่ยงการเกิดเชื้อราต้นเหตุของโรค รงมถึงวางแผนการป้องกันและกำจัดศัตรูพืชอย่างมีประสิทธิภาพด้วย จากปัญหาข้างต้นหากเกษตรกรมีความเข้าใจในการจัดการสวนเม่าที่ดี จัดระเบียบพื้นที่ นำวัสดุเหลือใช้ในพื้นที่มาแปรรูปเป็นปุ๋ยหมักซึ่งการเติมความอุดมสมบูรณ์ให้กับดินวิธีหนึ่ง คือ การใช้ปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยอินทรีย์ซึ่งนอกจากจะเป็นการเพิ่มแร่ธาตุให้กับพืชแล้ว ปุ๋ยอินทรีย์ยังช่วยลดความเป็นกรดของดินที่เกิดจากการใช้ปุ๋ยเคมีและยาฆ่าหญ้าอย่างยาวนานได้อีกด้วย นำมาใช้ในสวนเม่าและพืชพรรณอื่น อีกทั้งมีการป้องกันและกำจัดศัตรูพืชอย่างสม่ำเสมอ ดังนั้นการส่งเสริมให้เกษตรกรจัดการพื้นที่สวนเม่าอย่างถูกต้อง กำจัดวัสดุเหลือใช้ในสวนย่างเกิดประโยชน์โดยแปรรูปเป็นปุ๋ยหมักบำรุงพืช และป้องกันจำกัดโรคและแมลงศัตรูพืชด้วยชีววิธี คือ ใช้จุลินทรีย์มีประโยชน์และจำเพาะต่อศัตรูพืชก็จะเป็นการช่วยลดโอกาสในการเกิดโรคพืช ก็จะเป็นแนวทางลดปัจจัยเสี่ยงที่ก่อให้เกิดโรคแก่เม่า ป้องกันและกำจัดโรคและแมลงศัตรูเม่าได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเพิ่มโอกาสให้เกษตรกรมีผลผลิตที่มีคุณภาพดีขึ้นได้ต่อไป
คำสำคัญ
สารชีวภัณฑ์กำจัดศัตรูพืช  
สาขา
 เทคโนโลยีไม้ผลและไม้ดอก,




สงวนลิขสิทธิ์ © 2568 กองส่งเสริมและประสานเพื่อประโยชน์ทางวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม(กปว.)
Science Research and Innovation Promotion and Utilization Division
Designed & Developed by Ekapong Musikacharoen
มีปัญหาแจ้งได้ที่ ekapong at mhesi.go.th