คำค้น "0"
ข้อมูลผู้เชี่ยวชาญ
ดร.นัสทยา ชุ่มบุญชู
106
การเขียนแผนธุรกิจ การจัดการเชิงกลยุทธ์ พฤติกรรมผู้บริโภค
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ธนพร พยอมใหม่
98
การออกแบบและพัฒนาโรงเรือนโดยใช้เทคโนโลยี 4.0 เข้ามาช่วยปรับปรุงคุณภาพโรงเรือนให้ทันสมัย
ดร.สนิทเดช จินตนา
118
การจัดการธุรกิจชุมชน, การจัดการองค์กร, การตลาดออนไลน์, การพัฒนาวิสาหกิจชุมชน นักรีวิวร้านอาหารอาหารบนสื่อสังคมออนไลน์ โดยใช้นามว่า จงกินนี่ มีผู้ติดตามมากกว่า 4,000 คน
สมชาย ดิษฐาภรณ์
119
1.วิทยากรและพัฒนาผลิตภัณฑ์โครงการการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากหญ้าแฝกอันเนื่องในพระราชดำริ กลุ่มชาวบ้านที่เป็นเกษตรกรกลุ่มพัฒนาผลิตภัณฑ์หญ้าแฝกอันเนื่องในพระราชดำริ กลุ่มหัตถกรรมหญ้าแฝกบ้านแสงจันทร์ ตำบลบ้านแก้ง อำเภอเมือง จังหวัดสระแก้ว 2.นักพัฒนาผลิตภัณฑ์โครงการพัฒนาและยกระดับผลิตภัณฑ์ OTOP ด้วย วทน. ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กลุ่มสตรีทอผ้าไหม เลขที่ 10 หมู่ 4 บ้านหัวงัว ตำบลโพธิ์ศรีสว่าง อำเภอโพนทอง จังหวัดร้อยเอ็ด สาขาความชำนาญ 1.การออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์หัตถกรรม 2.การออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์หัตถอุตสาหกรรม 3.การออกแบบกราฟิก ตราฉลากสินค้า และบรรจุภัณฑ์
ดร.พุดกรอง พันธุ์อุโมงค์
124
1.โครงการวิจัยเรื่อง การเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ไม้ผลทางเศรษฐกิจเพื่อการพัฒนาเกษตรที่สูงอย่างยั่งยืน หัวข้อวิจัยย่อย ศึกษากระบวนการแปรรูปและการเก็บ รักษามะม่วง ลิ้นจี่ และลำไยสดพร้อมบริโภค (ทุนวิจัยจากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติงบประมาณประจำปี 2550-51) 2.โครงการวิจัย เรื่อง การยืดอายุการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์ผักผลไม้แกะสลักเพื่อการสร้างมูลค่าเพิ่ม (งบประมาณแผ่นดิน พ.ศ. 2552)
ชนิดา ป้อมเสน
124
สาขาพลังงาน-พลังงานทดแทนและการอนุรักษ์พลังงาน
สาขาวิศวกรรมศาสตร์-วิศวกรรมเครื่องกล
การประชุมวิชาการมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ครั้งที่ 10 การประชุมวิชาการระดับชาติเทคโนโลยีเชิงสร้างสรรค์ ครั้งที่ 2 ให้คำปรึกษาด้านอนุรักษ์พลังงานแก่โครงการต่างๆ และวิทยากรอบรมในการให้คำปรึกษาด้านอนุรักษ์พลังงาน
นายสุวัฒน์ กิจเจริญวัฒน์
119
โครงการวิจัยออกแบบและสร้างต้นแบบอุปกรณ์จ่ายกำลังไฟฟ้าสูงสุดไม่ต่ำกว่า 90 กิโลโวลต์แอมแปร์
นางสาวชนิดา ประจักษ์จิตร
108
1. การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ และการแปรรูปอาหาร เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับวัตถุดิบในท้องถิ่น ให้คำแนะนำ ปรึกษา แก่ผู้ประกอบการ กลุ่มโอทอป และผู้สนใจ
2. มีประสบการณ์ด้านการออกแบบบรรจุภัณฑ์ แนวคิดการพัฒนาบรรจุภัณฑ์ให้กับผลิตภัณฑ์ของผู้ประกอบการโอทอป หรือผู้สนใจ
3. มีประสบการณ์ด้านการจัดโครงการ การบริหารโครงการ ทั้งโครงการบริการวิชาการ โครงการวิจัย ไม่น้อยกว่า 10 ปี
ดร.ยุพารัตน์ โพธิเศษ
88
เทคโนโลยีแปรรูปอาหาร เทคโนโลยีผัก ผลไม้อบแห้ง มาตรฐานอาหารและระบบคุณภาพต่าง ๆ เช่น GMP HACCP ISO22000
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปิยะนุช รสเครือ
107
เชี่ยวชาญทางด้านการอบแห้งผักผลไม้ ได้แก่ ลำไยอบแห้ง แก้วมังกรอบแห้ง แคนตาลูปอบแห้ง.................
เชี่ยวชาญทางด้านการแปรรูปแป้ง ได้แก่ มันม่วงผง มันเทศผง ฟักทองผง กล้วยผง เครื่องเทศผง
...
เชี่ยวชาญทางด้านการแปรรูปน้ำผลไม้พาสเจอร์ไรส์ สเตอริไรส์ และน้ำผลไม้ผง พิวเร่มะม่วง พิวเร่มะขาม เครื่องดื่มสุขภาพ.......
เชี่ยวชาญทางด้านการแปรรูปอาหารสำเร็จรูปด้วยความร้อน อาหารภาชนะบรรจุปิดสนิท แกงบรรจุซอง รีทอร์ทเพาซ์ แกงกระป๋อง
อาจารย์วุฒิกร สระแก้ว
94
เชี่ยวชาญทางด้านการผลิตอาหารสัตว์.................
เชี่ยวชาญทางด้านการแปรรูปอาหารสัตว์
...
อาจารย์ปิยวิทย์ เกสร
63
เทคโนโลยีการสืบพันธุ์ในสัตว์
อาจารย์ปิยวิทย์ เกสร
81
เทคโนโลยีการสืบพันธุ์ในสัตว์
นายสมชาย จอมดวง
115
- วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร
- ระบบคุณภาพของอุสาหกรรมอาหาร ได้แก่ GMP,HACCPและISO22000
ผศ.ดร.เกียรติศักดิ์ แสงประดิษฐ์
105
เป็นการพัฒนาเครื่องมือเพื่อลดขนาดขยะพลาสติกประเภทถุงพลาสติก ขวดพลาสติก ซึ่งเป็นขยะที่มีน้ำหนักเบา ซึ่งเครื่องอัดขยะเป็นการจัดการขยะพลาสติกให้มีขนาดเล็กลง โดยพัฒนาเครื่องอัดขยะถุงพลาสติก ขวดพลาสติกให้เป็นก้อนซึ่งประยุกต์มาจากเครื่องอัดระบบไฮโดรลิคเป็นระบบคันโยกอัดก้อนพลาสติกใช้แรงคนประมาณ 1-3 คน และมีสลักซ้ายขวา เพื่อแกะเอาก้อนพลาสติกออกด้านหน้าได้ โดยขยะ 1 ก้อน จะใช้พลาสติกบีบอัดรวมกันประมาณ 5-20 กก.
ดร.ณรงค์ชัย โอเจริญ
100
เป็นการพัฒนาเครื่องมือเพื่อลดขนาดขยะพลาสติกประเภทถุงพลาสติก ขวดพลาสติก ซึ่งเป็นขยะที่มีน้ำหนักเบา ซึ่งเครื่องอัดขยะเป็นการจัดการขยะพลาสติกให้มีขนาดเล็กลง โดยพัฒนาเครื่องอัดขยะถุงพลาสติก ขวดพลาสติกให้เป็นก้อนซึ่งประยุกต์มาจากเครื่องอัดระบบไฮโดรลิคเป็นระบบคันโยกอัดก้อนพลาสติกใช้แรงคนประมาณ 1-3 คน และมีสลักซ้ายขวา เพื่อแกะเอาก้อนพลาสติกออกด้านหน้าได้ โดยขยะ 1 ก้อน จะใช้พลาสติกบีบอัดรวมกันประมาณ 5-20 กก.
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธีรศาสตร์ คณาศรี
78
เทคโนโลยีอบแห้ง เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ สิ่งประดิษฐ์ และนวัตกรรม
ศูนย์วิจัยและพัฒนานวัตกรรมสินค้าเกษตรและอาหาร ภาคต
92
ศูนย์วิจัยและพัฒนานวัตกรรมสินค้าเกษตรและอาหาร ภาคตะวันออก คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี จันทบุรี เป็นหน่วยสนับสนุนการเรียนการสอน การวิจัย แลบริการวิชาการ มีหน้าที่หลักดังต่อไปนี้ 1. ทดสอบมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร ISO/IEC 17025 ทดสอบตัวอย่างสินค้าด้านการเกษตร เช่น ดิน น้ำ ใบ ผลผลิตทางการเกษตร และผลิตภัณฑ์จากการเกษตร เช่น ผลิตภัณฑ์อาหารแปรรูป น้ำส้มควันไม้ น้้ำดื่ม น้ำพริก ซอส เป็นต้น ทางศูนย์ทดสอบจะทำการวิเคราะห์เพื่อวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1.1 เฝ้าระวังมาตรฐานสินค้าให้ตรงกับมาตรฐานภานในและต่างประเทศ 1.2 ออกใบรายงานผลให้สอดคล้องกับมาตรฐานภานในและต่างประเทศ 1.3 วิเคราะห์สารเคมี และยาฆ่าแมลงตกค้างในผลผลิต และผลิตภัณฑ์แปรรูป 1.4 วิเคราะห์ฉลากโภชนา 1.5 วิเคราะห์จุลินทรีย์ 1.6 วิเคราะห์น้ำเพื่อการอุปโภคบริโภค 2. วิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ด้านเกษตรและอาหาร ทำการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่ใช้พืชปลทางการเกษตร ในภาคตะวันออก เพื่อรองรับการแปรรุปผลผลิตใหม่ๆ สู่ตลาดในยุยไทยแลนด์ 4.0 3. บริการวิชาการ ฝึกอบรม และให้คำปรึกษา เป็นศูนย์บริการให้คำปรึกษาด้านคุณภาพอาหาร และการขึ้นทะเบียนกับหน่วยงานรัฐ เช่น มผช. OTOP อย. และมาตรฐานสากลได้แก่ GMP/HACCP/ISO/HALAL/BRC เป็นต้น และยังเป็นที่ฝึกอบรมด้านการแปรรูปการเกษตร และอื่นๆ ตามโจทย์ท้องถิ่น 4. เป็นพี่เลี้ยงด้านระบบคุณภาอาหาร เป็นพี่เลี้ยงหน้างาน ให้บริการถึงสถานที่ เพื่อคอยแนะนำให้ผู้ประกอบการทุกระดับ ไม่ว่าจะกลุ่มแม่บ้าน วิสาหกิจชุมชน SME เข้าถึงการแปรรูปที่ถูกต้อง และจัดการสถานที่ให้เป็นไปตามมาตรฐานที่ต้องการ รวมทั้งการประยุกต์ใช้ระบบประกันคุณภาพอาหาร ในสถานประกอบการ สถานที่ติดต่อ ศูนย์วิจัยและพัฒนานวัตกรรมสินค้าเกษตรและอาหาร ภาคตะวันออก หลักสูตรวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี เลขที่ 41 ม.5 ต.ท่าช้าง อ.เมือง จ.จันทบุรี 22000 โทรศัพท์ 061 6605306 E mail Classforecastrbru@hotmail.com
ผู้ช่วยศาสตราจารย์เดือนรุ่ง เบญจมาศ
94
การแปรรูปผลไม้ เช่น มังคุด สละ เงาะ ทุเรียน ลำไย มะพร้าว และอื่นๆ
ให้เป็นสินค้าประเภท ผลไม้ลอยแก้ว กวน หยี แยม ทอฟฟี่ น้ำ 100% 80% 60% หรือขึ้นอยู่กับความต้องการของชุมชน เพื่อยกระดับมาตรฐานการแปรรูป ให้ทันต่อการแข่งขัน
นางสาวจีรภัทร พลอยขาว
90
อาหารและโภชนาการ การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร / การทำมาตรฐาน, วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร
ดร.นิศากร ตันติวิบูลชัย
94
การแพทย์แผนไทย/พัฒนายา/สมุนไพร/สุขภาพ/ความงาม สรีรวิทยา และการประเมินสมรรถภาพ
ดร.ปาวลี ศรีสุขสมวงศ์
122
การแพทย์แผนไทย/พัฒนายา/สมุนไพร/สุขภาพ/ความงาม, เทคโนโลยีชีววิทยาและจุลชีววิทยา การเพาะเลี้ยงจุลินทรีย์, การนำจุลินทรีย์มาใช้ประโยชน์, การนำสารสกัดจากพืชพัฒนาเป็นเครื่องสำอาง (เริ่มทำวิจัยปี 2560), การนำข้อมูลทางด้านชีววิทยามาวิเคราะห์โดยใช้วิธีการทางคณิตศาสตร์และสถิติ (เริ่มทำวิจัยปี 2560)
ดร.ป ปัทมา เหมมาชูเกียรติกุล
89
ด้านโมเดลด้านสภาพอากาศและน้ำ วิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับclimate change ด้านneural network ด้านคณิตศาสตร์มัธยมปลาย(สาธิต) "ด้านโมเดลด้านสภาพอากาศและน้ำ (เริ่มทำวิจัยตั้งแต่ปี2550 มีความสัมพันธ์กับบุคลากรในกรมอุตุนิยมวิทยา และสถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำ (องค์การมหาชน)
วิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับclimate change (มีเครือข่ายกับองค์กรในประเทศจีน ที่ใช้ข้อมูลร่วมกันได้)
ด้านneural network (เริ่มทำวิจัยและเขียนเพเพอร์ในปี 2560)
ด้านคณิตศาสตร์มัธยมปลาย(สาธิต)เริ่มสอนในสาธิตมัธยมภูเก็ต ระดับมัธยมปลาย และร่วมร่างหลักสูตรใหม่สำหรับสาธิตเพื่อเริ่มใช้ในปี2564"
ผศ.ดร.ศักดิ์ชาย เพชรช่วย
114
การบริหารจัดการชุมชน/การจัดการองค์กรส่วนท้องถิ่น, การท่องเที่ยว, การท่องเที่ยวเชิงดาราศาสตร์ ดาราศาสตร์ ฟิสิกส์ศึกษา
รศ.ดร.ชญานิศ ลือวานิช
101
เทคโนโลยีโรงเรือน, การแพทย์แผนไทย/พัฒนายา/สมุนไพร/สุขภาพ/ความงาม สุขภาพผู้สูงอายุ การพยาบาลผู้ใหญ่
นายปฐมศร จุฑะกนก
106
ห้องปฏิบัติการทดสอบมาตรฐาน ISO/IEC 17025
ผศ.ชุดาณัฏฐ์ สุดทองคง
121
ผลงานตีพิมพ์
The Computer Instruction Package on the Silkscreen Print Design: Content design techniques; Sudthongkhong C., Ketcham M.; 2017; เทปประชุมเงินสมทบ
The study of the effectiveness of teaching contents through the computer assisted instruction in traditional Thai massage for health: Content design and media; Sudthongkhong C.; 2018; เทปประชุมเงินสมทบ
นายทินกร คุณะแสงคำ
70
มาตรฐาน ISO/IEC 17025
รศ.ดร.วิชัย ฉัตรทินวัฒน์
112
การบริหารงานผลิต และ ระบบคุณภาพ, การพัฒนาผลิตภัณฑ์และการผลิตสำหรับสินค้าโอทอป เเละการวิเคราะห์และลดต้นทุนการผลิตด้วยหลักการมาตรฐาน ISO14051 บัญชีต้นทุนการไหลวัสดุ
นางสาวพรพิมล ควรรณสุ
79
ผลิตภัณฑ์น้ำพริกเห็ดกรอบ จากเห็ดนางฟ้า
1. การพัฒนาสูตรน้ำพริกเห็ดกรอบ
2. การพัฒนาบรรจุภัณฑ์ให้ทันสมัย สวยงาม และ และดึงดูดผู้บริโภค
3. การพัฒนาตลาดออนไลน์ และตลาดออฟไลน์
ขนาดบรรจุ 100 กรัม
ความโดดเด่นคือ กลุ่มวิสาหกิจชุมชนผลิตเห็ดบ้านกลางมีความพิถีพิถันในการเพาะเห็ด โดยมีกระบวนการเพาะแบบปลอดสารเคมี นอกจากนั้นยังมีการคัดสรรวัตถุดิบทีมีคุณภาพเพื่อนำมาแปรรูป และมีการตรวจยืนยันด้านอาหารปลอดภัยจากห้องปฏิบัติการทีได้รับการรับรองคุณภาพ เพื่อให้ผู้บริโภคได้รับสินค้าที่มีรสชาติอร่อยและดีต่อสุขภาพ
นางสาวพรพิมล ควรรณสุ
91
ผลิตภัณฑ์ไส้อั่วเห็ดสมุนไพร
1. การพัฒนาผลิตภัณฑ์ไส้อั่วเห็ดสมุนไพร รสชาติอร่อย ไม่มัน มีไฟเบอร์จากเห็ด
2. การพัฒนาบรรจุภัณฑ์ให้ทันสมัย สวยงาม และ และดึงดูดผู้บริโภค
3. การพัฒนาตลาดออนไลน์ และตลาดออฟไลน์
ขนาดบรรจุ 250 กรัม
นางสาวพรพิมล ควรรณสุ
89
ผลิตภัณฑ์แหนมเห็ด เป็นผลิตภัณฑ์ที่กลุ่มมีการผลิตและจำหน่ายอยู่แล้ว แต่นักวิจัยจากมหาวิทยาลัยนครพนมเข้ามาพัฒนาต่อยอด
1. ขั้นตอนการผลิตให้ปลอดภัย
2. การพัฒนาบรรจุภัณฑ์ให้ทันสมัย สวยงาม และ และดึงดูดผู้บริโภค
3. การพัฒนาตลาดออนไลน์ และตลาดออฟไลน์
ขนาดบรรจุ 200 กรัม
วัตถุดิบมาจาก กลุ่มวิสาหกิจชุมชนเพาะเห็ดบ้านกลาง 355 หมู่ 4 ตำบลโพนแพง อำเภออากาศอำนวย จังหวัดสกลนคร
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ทิพย์วรรณ สรรพสัตย์
94
เรื่องการเลี้ยงผึ้งโพรงไทยตามวิถีภูมิปัญญาและการใช้ประโยชน์
จากผลิตภัณฑ์ผึ้ง
http://www.science.up.ac.th/downloads/1647831490.pdf
อาจารย์บัญจรัตน์ นิรโศก
109
การให้ความรู้ในการเพิ่มช่องทางการขายสินค้า ทางออนไลน์,แนะนำผลิตภัณฑ์ให้มีความทันสมัยน่าสนใจ ให้เข้ากับกลุ่มลูกค้า
อาจารย์วรภรณ์ วงค์สวัสดิ์
95
การแปรรูปอาหาร, การใช้สีธรรมชาติในอาหาร, การพัฒนาผลิตภัณฑ์ขนมอบ และอาหาร
อาจารย์อนุกิจ เสาร์แก้ว
139
iot Smart city, iot ควบคุมทางการเกษตร,iot งานอุตสาหกรรม, iot environment monitoring, Mobile Application Devloper
นางกรรณิกา บัวทองเรือง
72
- การพัฒนารูปแบบบรรจุภัณฑ์
- การพัฒนารูปแบบทางการตลาด
นายศิววงศ์ เพชรจุล
80
- การพัฒนาผลิตภัณฑ์
- การจัดทําบัญชี
นายกิตติศักดิ์ ทวีสินโสภา
63
ความเสี่ยงและการจัดการความเสี่ยงในงานอุตสาหกรรม กลศาสตร์วิศวกรรม คอมพิวเตอร์ พลังงาน
นายกฤดิกร แก้ววงศ์ศรี
84
คอมพิวเตอร์วิทัศน์ (Computer Vision)
นางสาวฉันทนา ธนาพิธานนท์
116
การแปรรูปผลิตภัณฑ์จากผ้า
ดร.ศักยะ สมบัติไพรวัน
150
2553 - ผู้ช่วยสอนนักศึกษาปริญญาตรี รายวิชาปฐพีกลศาสตร์ สาขาวิชาวิศวกรรมเกษตร
2554-2555 - ผู้ช่วยวิจัย งานเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว ศึกษาความสามารถในการยืดอายุการเก็บรักษามะม่วงน้ำดอกไม้โดยใช้ถ่านกัมมันต์ดูดซับเอทิลีนในบรรจุภัณฑ์ระหว่างการขนส่ง
2558 - ผู้ช่วยสอนนักศึกษาปริญญาตรี รายวิชาจุลชีววิทยาอาหาร สาขาวิชาวิศวกรรมเกษตร
2563 - นักวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ ศูนย์อนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
2564 - หัวหน้าโครงการการพัฒนาศักยภาพผลิตภัณฑ์ท้องถิ่นด้วยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม (12 ผลิตภัณฑ์) ภายใต้โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
- เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป หน่วยบริการวิชาการชุมชน เทคโนธานี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
2564 - ผู้ช่วยวิจัยโครงการการตรวจสอบชนิดและปริมาณการปนเปื้อนของสารหนูด้วยเทคนิคขั้นสูงจากเครื่องกำเนิดแสงซินโครตรอน รหัสโครงการ PRP6205012260 สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์กรมหาชน)
2565 - นักวิจัยหลังปริญญาเอก สาขาวิชาเทคโนโลยีอาหาร ภายใต้สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
- คณะกรรมการดำเนินการคัดสรรสุดยอดหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ไทย ปี พ.ศ. 2565 จ. นครราชสีมา ตรวจสอบและกลั่นกรองผลิตภัณฑ์ประเภทสมุนไพรที่ไม่ใช่อาหาร (คำสั่งจังหวัดนครราชสีมา ที่ 4785/2565 ลงวันที่ 5 พฤษภาคม 2565)
- ที่ปรึกษา/ผู้วิจัย กิจกรรมการสร้างผู้ประกอบการชุมชน (Local Startups) ประจำปี 2564 ภายใต้แผนงานส่งเสริมการนำนวัตกรรมไปใช้ประโยชน์ในพื้นที่เพื่อพัฒนาชุมชนและสังคม (Area based Innovation for Community) เทคโนธานี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี โครงการเลขที่ TN026/2565 เรื่อง การพัฒนาสูตรแชมพูสมุนไพรตามคุณค่าทางวิชาการและควบคุมคุณลักษณะให้ผ่านมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน (The evaluation of herbal shampoo according to the community product standards) วิสาหกิจชุมชนกลุ่มเกษตรกรรวมใจบ้านไกลเสนียด อ.ท่าตูม จ.สุรินทร์
- ที่ปรึกษา/ผู้วิจัย กิจกรรมการสร้างผู้ประกอบการชุมชน (Local Startups) ประจำปี 2564 ภายใต้แผนงานส่งเสริมการนำนวัตกรรมไปใช้ประโยชน์ในพื้นที่เพื่อพัฒนาชุมชนและสังคม (Area based Innovation for Community) เทคโนธานี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารีโครงการเลขที่ TN028/2565 เรื่อง การวัดสมบัติทางเคมี-กายภาพ สเปรย์บรรเทาอาการปวดและแมลงสัตว์กัดต่อยเพื่อทำมาตรฐานการผลิตและส่งเสริมการขาย ( A study of chemo-physical properties of pain and insect bites relief spray to standardize production and marketing campaigns) วิสาหกิจชุมชนแปรรูปสมุนไพรหนองสมอ อ.คง จ.นครราชสีมา
- ผู้ช่วยวิจัย โครงการสำรวจความเป็นไปได้ในการใช้ประโยชน์จากของเสียในโรงงานผลิตไส้ กรอก (กู้คืนและปรับสภาพน้ำมันสำหรับใช้เป็นพลังงาน) โรงงานไส้กรอก อ.ขามทะเลสอ จ.นครราชสีมา
รองศาสตราจารย์เสมอขวัญ ตันติกุล
78
รถเกี่ยวนวดขนาดเล็กต้นแบบ (ENG MJU 003)
ผศ.วิภาดา มุนินทร์นพมาศ
95
ดำเนินการโครงการกับวว และสปอว.ตั้งแต่ปี 2560-2566 อย่างต่อเนื่องจนถึงปัจจุบันโดยทำการพัฒนาและยกระดับกลุ่มวิสาหกิจชุมชนในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนใต้ต้านต่าง ๆ ดังนี้
1.ด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์
- ปี 2560 พัฒนาผลิตภัณฑ์ส้มแขกสามรส น้ำส้มแขกเข้มข้น และน้ำพริกเผาส้มแขก ให้กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรบ้านท่าสาป เลขที่ 79 บ้าน ท่าสาป อ.เมือง จ.ยะลา 95000 (สนับสนุนโดยสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ;วว.)
- ปี 2561 การพัฒนาผลิตภัณฑ์ขนมรังผึ้งและวาฟเฟิล ให้นายองอาจ สายวารี
ที่อยู่ บ้านเลขที่ 54 ถนน อนุสรณ์มหาราช ตำบล สะเตง อำเภอเมือง จังหวัดยะลา 95000 โทรศัพท์ 093-6808573 (สนับสนุนโดยสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ;วว.)
- ปี 2562 พัฒนาผลิตภัณฑ์ข้าวแต๋นหน้ากล้วยหินตากเคลือบช็อกโกแลต กลุ่มสตรีบ้านเงาะกาโปร์ บ้านเลขที่ 63/1 ถนน สุขยางค์ ตำบล บันนังสตา อำเภอ นันนังสตา จังหวัดยะลา 95130 (สนับสนุนโดยคูปองวิทย์ ปี 2562)
-ปี 2564 พัฒนาผลิตภัณฑ์เปลือกมะนาวสามรสให้กับกลุ่มวิสาหกิจชุมชนกลุ่มมะนาวสร้างตนเอง อ.โคกโพธิ์ จ.ปัตตานี (สนับสนุนโดยคูปองวิทย์เพื่อโอทอป ปี 64)
- ปี 2564 พัฒนาผลิตภัณฑ์น้ำลองกองผสมน้ำอัญชันเสริมคอลลาเจนแคลลอรี่ต่ำและลองกองหยีให้กับกลุ่มวิสาหกิจแปรรูปผลไม้บ้านเชิงเขา อ.บาเจาะ จ.นราธิวาส (สนับสนุนโดยคูปองวิทย์เพื่อโอทอป ปี 64)
- ปี 2566 การพัฒนาผลิตภัณฑ์แกงไตปลาแห้งและน้ำพริกแกงไตปลาเจเพื่อส่งเสริมการตลาดให้กับกลุ่มวิสาหกิจชุมชนน้ำพริกแม่ผัว อ.เมือง จ.ยะลา (สนับสนุนโดยสปอว.2566)
2.พัฒนาฉลากและบรรจุภัณฑ์
- ปี 2560 การพัฒนาบรรจุภัณฑ์ผลิตภัณฑ์ธัญพืชบด กลุ่มแปรรูปผลิตภัณฑ์การเกษตร ตำบลตาชี อำเภอยะหา จังหวัดยะลา (สนับสนุนโดยสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ;วว.)
- ปี 2561 การพัฒนาฉลากและบรรจุภัณฑ์ผลิตภัณฑ์ขนมรังผึ้งและวาฟเฟิล ให้นายองอาจ สายวารี
ที่อยู่ บ้านเลขที่ 54 ถนน อนุสรณ์มหาราช ตำบล สะเตง อำเภอเมือง จังหวัดยะลา 95000 โทรศัพท์ 093-6808573 (สนับสนุนโดยสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ;วว.)
-ปี 2464 พัฒนาฉลากและบรรจุภัณฑ์ผลิตภัณฑ์เปลือกมะนาวสามรสให้กับกลุ่มวิสาหกิจชุมชนกลุ่มมะนาวสร้างตนเอง อ.โคกโพธิ์ จ.ปัตตานี (สนับสนุนโดยคูปองวิทย์เพื่อโอทอป ปี 64)
- ปี 2564
3.พัฒนามาตรฐาน
- ปี 2560 ขอมาตรฐานอย.จนได้รับรองมาตรฐานให้กับผลิตภัณฑ์ธัญพืชบด กลุ่มแปรรูปผลิตภัณฑ์การเกษตร ตำบลตาชี อำเภอยะหา จังหวัดยะลา (สนับสนุนโดยสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ;วว.)
- ปี 2562 ขอมาตรฐานอย.อาคารผลิตจนได้รับรองมาตรฐานในผลิตภัณฑ์ข้าวแต๋นหน้ากล้วยหินตากเคลือบช็อกโกแลต กลุ่มสตรีบ้านเงาะกาโปร์ บ้านเลขที่ 63/1 ถนน สุขยางค์ ตำบล บันนังสตา อำเภอ นันนังสตา จังหวัดยะลา 95130 (สนับสนุนโดยคูปองวิทย์ ปี 2562)
- ปี 2565 ขอมาตรฐานอย.จนได้รับรองมาตรฐาน อาคารผลิต ผลิตภัณฑ์มะนาวสามรส ผลิตภัณฑ์น้ำมะนาวผสมน้ำผึ้งบรรจุขวดให้กับกลุ่มวิสาหกิจชุมชนกลุ่มมะนาวสร้างตนเอง อ.โคกโพธิ์ จ.ปัตตานี (สนับสนุนโดยคูปองวิทย์เพื่อโอทอป ปี 2565)
4.พัฒนากระบวนการผลิต
- ปี 2565 พัฒนากระบวนการผลิตน้ำมะนาวผสมน้ำผึ้งบรรจุขวดให้กับกลุ่มวิสาหกิจชุมชนมะนาวสร้างตนเอง 16/5 บ้านโพธิ์ หมู่ 2 ถนนเพรชเกษม ต.มะกรูด อ.โคกโพธิ์ จ.ปัตตานี (สนับสนุนโดยคูปองวิทย์เพื่อโอทอป ปี 65)
นายนิกร สาระการ
85
มัคคุเทศก์ ท่องเที่ยวชุมชน
นายสมพร สาระการ
98
มัคคุเทศก์ ท่องเที่ยวชุมชน การบันทึกข้อมูลผลิตภัณพ์ อ.ย. ขลู่ สครับจากเปลือกหอย
อ.กุสุมาวดี ฐานเจริญ
91
สาขาวิชาชีววิทยา
ซูไบดี โตะโมะ
107
มีประสบการณ์ด้านการวิจัยเกี่ยวกับพืชพื้นบ้าน,พืชสมุนไพร,ข้าวพื้นเมือง รวมถึงงานวิจัยด้านความหลากหลายทางชีวภาพ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2566-ปัจจุบัน จากประสบการณ์ดังกล่าว สามารถสร้างองค์ความรู้ในรูปแบบสื่อปประเภทต่างๆ เช่น หนังสือ คู่มือการเรียนรุ้ โปสเตอร์องค์ความรู้ มากกว่า 20 เรื่อง
นายวรุณ วารัญญานนท์
76
Specialize in leading an academic-to-business collaboration ,Specialize in municipal waste management and implementation
,Specialize in Industrial chemical cleaning and hazardous chemical decontamination services ,Specialize in Mercury decontamination and waste management
,Lead a successful business expansion in Indonesia in 2015, Vietnam in 2014, and Singapore in 2009 ,Initiating and lead a successful Merger and Acquisition agreement ,Over 10 years of experiences in managing project-based business ,Specialize in overseas business expansion
ดร.ชัยณรงค์ รัตนกรีฑากุล
89
1.จดอนุสิทธิบัตร "สูตรผสมสำหรับ ผลิตภัณฑ์สารสกัดสมุนไพร ชนิดสารเข้มข้นแขวนลอย"
2. จดลิขสิทธิ์ ปี 2011 จำนวน 4 เรื่อง "สินค้าคุณภาพจากแปลงสู่ผู้บริโภค" "การประเมินความเสี่ยงเป็นการเตรียมระบบ GAP ให้พร้อมกับสิ่งที่เกิดขึ้น" "การระมัดระวังระหว่างการใช้สารเคมี" "สุขอนามัยระหว่างการเก็บเกี่ยว"
3. งานวิจัยที่เป็นการรายงานครั้งแรกของประเทศไทยที่พบว่า เชื้อสาเหตุโรคกิ่งแห้งของทุเรียนเป็นเชื้อรา Fusarium incarnatum และ F. solani ไม่ใช่เชื้อรา Phytophthora palmivora ตามที่นักวิชาการหลายท่านเข้าใจ รวมทั้งพบว่าเชื้อรา Phytopythium vexans สามารถเข้าทำลายทุเรียน และทำให้เกิดโรครากเน่าโคนเน่าได้เช่นเดียวกับ P. palmivora และได้แนะนำสารเคมีป้องกันกำจัดเชื้อราชนิดที่ควบคุมได้ทั้งเชื้อรา Fusarium, Phytophthora, Phytopythium และ Pythium โดยเกษตรกรไม่จำเป็นต้องสิ้นเปลืองซื้อสารเคมีหลายชนิดมาผสมเองเพราะสาเหตุที่แท้จริงของโรคกิ่งแห้งนั้นเกิดจากเชื้อรา Fusarium solani และ F. incarnatum มิได้เกิดจากเชื้อรา Phytophthora palmivora และได้แนะนำสารเคมีที่มีประสิทธิภาพในการควบคุมโรคกิ่งแห้งซึ่งสามารถควบคุมเชื้อรา Phytophthora palmivora สาเหตุโรครากเน่าโคนเน่าของทุเรียนได้อีกด้วย โดยจำเป็นต้องระมัดระวังการใช้สารเคมี benzimidazoles มากยิ่งขึ้น เนื่องจากเชื้อราสาเหตุเกิดการต้านทานได้
4. หาความแตกต่างของสารประกอบบนผิวมะม่วงที่ได้รับสารกลุ่ม salicylic เพื่อกระตุ้นความต้านทานโรคแอนแทรคโนส จากงานวิจัยการกระตุ้นความต้านทานการเกิดโรคในมะม่วงหลังการเก็บเกี่ยว
ดร.รัติยา พงศ์พิสุทธา
85
เป็นทีมวิจัยที่พบสาเหตุโรคกิ่งแห้งของทุเรียนและรายงานว่าเป็นเชื้อรา Fusarium incarnatum และ F. solani พบในประเทศไทย โดยตีพิมพ์ผลงาน ในวารสาร Plants Pongpisutta, R., Keawmanee, P., Sanguansub, S., Dokchan, P., Bincader, S., Phuntumart, V. and Rattanakreetakul, C. 2023. Comprehensive investigation of die-back disease caused by Fusarium in durian. Plants 12, 3045. https://doi.org/10.3390/plants12173045 นอกจากนี้ได้ตีพิมพ์ผลงานวิจัยซึ่งได้รับทุนจากศูนย์นวัตกรรมเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ในวารสารนานาชาติ 2 ฉบับ ได้แก่ 1) Rattanakreetakul, C., Keawmanee, P., Bincader, S., Mongkolporn, O., Phuntumart, V., Chiba, S. and Pongpisutta, R. 2023. Two newly identified Colletotrichum species associated with mango anthracnose in central Thailand. Plants 12, 1130. https://doi.org/10.3390/plants12051130 และ 2) Bincader, S., Pongpisutta, R. and Rattanakreetakul, C. 2022. Diversity of Colletotrichum species causing anthracnose disease from mango cv. Nam Dork Mai See Tong based on ISSR-PCR. Indian Journal of Agricultural Research 56 (1): 81-90. https://doi.org/10.18805/IJARe.AF-691.
ดร.พีรพงษ์ แสงวนางค์กูล
78
1. ผลงาน "ห้องบ่มและเทคนิคการบ่มผลไม้ประโยชน์ 7 อย่าง" ได้รับรางวัลงานวิจัยสร้างผลกระทบสูงระดับ Silver จากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ประจำปี 2564
2. โครงการ "สารเอทีฟอนตกค้างในผลทุเรียนหมอนทองและทางเลือกในการบ่มเพื่อการส่งออก" งบประมาณจาก สวก. ผลวิจัยแสดงถึงความปลอดภัยในการบริโภคทุเรียนไทยทั้งในตลาดท้องถิ่นและตลาดส่งออก สร้างความมั่นใจในสินค้าทุเรียนไทย และลดความตื่นตระหนกความกังวลของผู้บริโภคไทยและจีนที่มีการให้ข้อมูลบิดเบือน
3. ผลวิจัยจาก "โครงการศึกษาเกณฑ์น้ำหนักแห้งของทุเรียนพันธุ์หมอนทอง กระดุมทอง ชะนี พวงมณี และก้านยาว เพื่อเป็นเกณฑ์บ่งชี้คุณภาพ" ใช้ปรับปรุงเกณฑ์น้ำหนักผลและน้ำหนักเนื้อแห้งของทุเรียนในมาตรฐานสินค้าเกษตร (ทุเรียน) มกษ.3-2556 ที่กำลังทบทวนในวาระครบรอบ 20 ปี ในปี 2566
อ.นพ.ปริญญ์ วาทีสาธกกิจ
77
Cardiovascular Disease,Blood Pressure, Hypertension, Physical Activity, Heart Failure, Atherosclerosis, Cytochrome P450, Cardiovascular ,Epidemiology,Arterial Stiffness
นายชยันต์ คำบรรลือ
34
- การปรับปรุงเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพเตาอบรมควันเครื่องจักสาน
- การอบรม การขอรับรองมาตรฐาน มผช.40/2559
นางสาวจิรรัชต์ กันทะขู้
30
การแปรรูปผลิตผลทางการเกษตร
นางสาวอ้อมหทัย ดีแท้
55
วุฒิการศึกษาปริญญาตรี วท.บ. (เทคนิคการแพทย์)
วุฒิการศึกษาปริญญาโท วท.ม. (ชีววิทยา)
วุฒิการศึกษาปริญญาเอก วท.ด. (จุลชีววิทยาประยุกต์)
ความเชี่ยวชาญ จุลชีววิทยาคลินิกและความปลอดภัยทางชีวภาพ
จุลชีววิทยาประยุกต์และเทคโนโลยีชีวภาพ
สาขาความเชียวชาญ การแพทย์แผนไทย/พัฒนายา/สมุนไพร/สุขภาพ/ความงาม [181]
เทคโนโลยีชีววิทยาและจุลชีววิทยา [140]
ผู้ช่วยศาสตราจารย์วาสนา ติวงค์
33
"1. ผ่านการรับรองเป็นนักกำหนดอาหารวิชาชีพ (กอ.ช) Certified Dietitian of Thaniland (CDT) และได้รับการพัฒนาองค์ความรู้ตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
2. ได้รับใบอนุญาต เป็นผู้ประกอบการวิชาชีพครู จากคุรุสภา
3. เข้ารับการอบรม ประชุม สัมมนาด้านอาหารและโภชนาการ อาหารเพื่อสุขภาพและอาหารบำบัดโรค ฯลฯ อย่างต่อเนื่อง
4. เป็นสมาชิกตลอดชีพ ของสมาคมนักโภชนาการแห่งประเทศไทยฯ และสมาคมนักกำหนดอาหารแห่งประเทศไทย
5. เป็นอาจารย์ผู้สอนในรายวิชา อาหารและโภชนาการ อาหารเพื่อสุขภาพและบำบัดโรค การควบคุมและการประกันคุณภาพอาหาร ความปลอดภัยด้านอาหาร โภชนาการเบื้องต้น การถนอมอาหารและการแปรรูปอาหาร เป็นระยะเวลา 10 ปี จนถึงปัจจุบัน"
ชุติภัสร์ เรืองวุฒิ
33
"การปฏิบัติการพัฒนาอาหารและผลิตภัณฑ์
การตรวจสอบคุณภาพวัตถุดิบอาหาร การปรุงผลิตอาหาร และคุณภาพทางประสาทสัมผัส"
ผศ.ดร.ภวิกา มหาสวัสดิ์
33
การเตรียมสารสกัดจากสมุนไพร การทดสอบฤทธิ์ทางชีวภาพต่าง ๆ ของสารสกัด
อาจารย์ ดร.กษิเดช ฉันทกุล
31
การพัฒนาผลิตภัณฑ์และการแปรรูปอาหาร