ดร.ยามีละ ดอแม 100 การแพทย์แผนไทย การส่งเสริมสุขภาพด้านการแพทย์แผนไทย การบริการวิชาการ
นางสาวทิศากร ดำรงพุฒิเดชา 98 การวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ทางด้านสุขภาพและความงาม
นางสาวน้ำฝน ไทยวงษ์ 91 การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร, การแปรรูปอาหาร, สุขาภิบาลอาหาร และจลนพลศาสตร์เอนไวม์ทางอาหาร
อาจารย์จันทร์เพ็ญ บุตรใส 116 1. กฎหมายอาหารและมาตรฐานอาหาร 2.การยกระดับคุณภาพมาตรฐานผลิตภัณฑ์อาหาร อย. /มผช./ GMP/ Primary GMP 3.การสุขาภิบาลโรงงานและกฎหมายอาหาร 4.การแปรรูปผลิตภัณฑ์อาหาร 5.เทคโนโลยีผัก และผลไม้ 6.จุลชีววิทยาอาหาร
ประนัดฎา พิมสี 128 -อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรวิทยาศาสตร์เพื่อสุขภาพและความงาม -อาจารย์ประจำสาขาวิชาเคมี ผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางจากถั่วดาวอินคา ผลิตภัณฑ์ทำความสะอาดจากสมุนไพรในท้องถิ่น สาขาสิ่งแวดล้อม-การวิเคราะห์สารประกอบ PAHs ในน้ำ
อาจารย์ ดร.สุเมธี ส่งเสมอ 95 การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร การสุขาภิบาลอาหาร เทคโนโลยีบรรจุภัณฑ์อาหารต้านเชื้อจุลินทรีย์
อาจารย์ ดร.อโนมา สันติวรกุล 109 กายภาพบำบัดระบบหายใจและไหลเวียนโลหิต การออกกำลังกาย กิจกรรมทางกายเพื่อส่งเสริมสุขภาพ การฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง
ดร.สุรีย์พร กังสนันท์ 89 แปรรูปอาหาร อาหารเพื่อสุขภาพ
อาจารย์วรรภา วงศ์แสงธรรม 95 เทคโนโลยีการแปรรูปอาหาร เทคโนโลยีเครื่องดื่ม เทคโนโลยีการแปรรูปผลิตภัณฑ์อาหารจากพืช สุขาภิบาลและกฎหมายอาหาร
รศ.สุกัญญา กล่อมจอหอ 98 เทคโนโลยีทางด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์ การผลิตอาหารให้ถูกสุขลักษณะ การนำผลิตภัณฑ์ออกสู่ตลาดให้กับผู้ประกอบการด้านการแปรรูปอาหารให้กับผู้สนใจ
นางลักขณา ศิรประภาพูน 93 ด้านสุขภาพ, ความงาม, ด้านเคมี
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปิยะนุช รสเครือ 107 เชี่ยวชาญทางด้านการอบแห้งผักผลไม้ ได้แก่ ลำไยอบแห้ง แก้วมังกรอบแห้ง แคนตาลูปอบแห้ง................. เชี่ยวชาญทางด้านการแปรรูปแป้ง ได้แก่ มันม่วงผง มันเทศผง ฟักทองผง กล้วยผง เครื่องเทศผง ... เชี่ยวชาญทางด้านการแปรรูปน้ำผลไม้พาสเจอร์ไรส์ สเตอริไรส์ และน้ำผลไม้ผง พิวเร่มะม่วง พิวเร่มะขาม เครื่องดื่มสุขภาพ....... เชี่ยวชาญทางด้านการแปรรูปอาหารสำเร็จรูปด้วยความร้อน อาหารภาชนะบรรจุปิดสนิท แกงบรรจุซอง รีทอร์ทเพาซ์ แกงกระป๋อง
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณภัทร ทิพย์ศรี 133 1. เป็นวิทยากรจัดทำแผนธุรกิจ (Business Plan) ของธุรกิจชุมชน และทั่วไป 2. คณะกรรมการขับเคลื่อนโครงการพัฒนาผู้ประกอบการใหม่ (Startup) 3. เป็นที่ปรึกษาโครงการสินเชื่อเพื่อพัฒนาผลิตภาพการผลิต (Productivity Improvement Loan) สำหรับผู้ประกอบการพื้นที่จังหวัดเชียงรายและพะเยา 4. เป็นที่ปรึกษาการประเมินสมรรถนะร่วมที่ปรึกษาอุตสาหกรรม (I3C: Industrial Consultants Common Competency) 5. เป็นที่ปรึกษาอุตสาหกรรม SMEs ของกรมอุตสาหกรรม 6. เป็นที่ปรึกษา Startup SMEs การเขียนแผนธุรกิจและการพัฒนาผู้ประกอบการใหม่ 7. เป็นผู้จัดการและคณะกรรมการจัดโครงการเสริมสร้างองค์กรแห่งความสุขภาคเหนือตอนบน จังหวัดพะเยา
อ.ดร.ณัฐวุฒิ ดอนลาว 118 1. การปรับปรุงกระบวนการผลิตเพื่อยกระดับคุณภาพผลิตภัณฑ์ / ลดต้นทุนในการผลิต / ยืดอายุการเก็บรักษา / รักษาคุณค่าทางโภชนาการของผลิตภัณฑ์ 2. กระบวนการผลิตชา อาหารเพื่อสุขภาพ อาหารทางเลือก 3. การปรับปรุงกระบวนการผลิต การเลือกใช้เครื่องจักรในกระบวนการผลิต 4. การอบแห้งอาหาร
ผศ.ดร. รุ่งอรุณ สาสนทาญาติ 43 การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารจากข้าว แป้งข้าวและพืชอื่น ๆ ก๋วยเตี๋ยว เส้นหมี่ และอาหารเพื่อสุขภาพ
ผศ.ดร.จุฑามาศ นิวัฒน์ 110 1.การแปรรูปผลิตภัณฑ์อาหารจากผัก ผลไม้และข้าว 2.การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพ เช่น ผัก ผลไม้ ข้าวโดยเฉพาะข้าวที่มีสี สมุนไพร ชา
รศ.ดร.สาโรจน์ รอดคืน 107 การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารจากข้าว แป้งข้าวและพืชอื่น ๆ ก๋วยเตี๋ยว เส้นหมี่ และ อาหารเพื่อสุขภาพ
ผศ.วรรธิดา หอมถาวรชู 112 1.แก้ปัญหาในกระบวนการผลิต ยืดอายุการเก็บ การประยุกต์ใช้สารสกัดจากธรรมชาติ 2.การแก้ปัญหาในกระบวนการผลิต การลดการเหม็นหืน การยืดอายุการเก็บรักษา การประยุกต์ใช้สารสกัดจากธรรมชาติ 3. การเพิ่มมูลค่า ผลิตภัณฑ์เกษตร สมุนไพรและวัสดุเศษเหลือทางการเกษตร การพัฒนาฟิล์มจากวัสดุเกษตร 4.การพัฒนา/การเพิ่มมูลค่า ผลิตภัณฑ์ ขนมจีน เส้นจากแป้งข้าว เพื่อสุขภาพ 5.ผลิตภัณฑ์ขนมอบ ผลิตภัณฑ์อาหารทอด ขนมทอด
นางจีราภรณ์ สังข์ผุด 100 การพัฒนาผลิตภัณฑ์สมุนไพรเพื่อสุขภาพและเครื่องสำอาง
นางสาวศศิธร ศิริลุน 119 อาหารและเครื่องดื่ม (สาขาเทคโนโลยีอาหาร) - จุลินทรีย์โพรไบโอติก พรีไบโอติก ซินไบโอติก การใช้ประโยชน์จากจุลินทรีย์เพื่อสุขภาพ การศึกษาฤทธิ์ทางชีวภาพของผลิตภัณฑ์ จุลินทรีย์โพรไบโอติก สาขาเทคโนโลยีชีวภาพ - จุลินทรีย์โพรไบโอติก พรีไบโอติก ซินไบโอติก การใช้ประโยชน์จากจุลินทรีย์เพื่อสุขภาพ การศึกษาฤทธิ์ทางชีวภาพของผลิตภัณฑ์ จุลินทรีย์โพรไบโอติก
นางสุภาพร ชื่นชูจิตร 80 ตรวจสุขภาพ การนวดแผนไทย และการจัดการเกี่ยวกับสุขภาพ
นางสาวเบ็ญจวรรณ บัวขวัญ 112 การบูรณาการภูมิปัญญาเพื่อเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ (การนำภูมิปัญญาและทรัพยากรในท้องถิ่นมาใช้ประโยชน์ให้เกิดประโยชน์ และการสร้างสรรค์สิ่งเหลือใช้จากงานเกษตร งานหัตถกรรม มาพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพและรักษาสิ่งแวดล้อม
นายณัฐอมร จวงเจิม 91 การพัฒนาพืชสมุนไพร ด้านสุขภาพ และความงาม
นางสาวหัสลินดา บินมะแอ 117 อบรมให้ความรู้ด้านเทคนิคทางจุลชีววิทยา, อบรมเจลยับยั้งจุลินทรีย์, การทำโยเกิร์ตอย่างง่าย, การผลิตโยเกิร์ตเพื่อสุขภาพ, การเลี้ยงและขยายเชื้อพันธุ์วุ้นสวรรค์อย่างง่าย, อาหารปลอดภัย ห่างไกลเชื้อโรค
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ฉัตรชัย สังข์ผุด 106 การแปรรูปและพัฒนาผลิตภัณฑ์จากพืชน้ำมันและสมุนไพร วิธีการผลิตน้ำมันมะพร้าวสกัดเย็นที่ให้ผลผลิตสูงและคุณภาพดีสามารถกระทำได้ในระดับครัวเรือน รวมถึงการนำมาใช้เป็นวัตถุดิบในการสกัดสารสำคัญจากสมุนไพรเพื่อนำมาใช้ในการผลิตเครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ
อ.เกรียงศักดิ์ สิงห์แก้ว 88 เป็นการต่อยอดการแปรรูปมะม่วงหาวมะนาวโห่ และแก้วมังกร เพื่อสร้างอัตลักษณ์ให้กับผลิตภัณฑ์ โดยนำวัตถุดิบที่มีอยู่ในท้องถิ่นมาแปรรูปเพื่อให้เกิดมูลค่าเพิ่มในรูปแบบต่างๆ เช่น กวน/หยี/ลอยแก้ว/น้ำพร้อมดื่ม/แยม/น้ำพริก/ชาสำหรับชงดื่ม/ไซเดอร์/ไอศกรีมเพื่อสุขภาพ เป็นต้น
ผศ.พงษ์ศักด์ ทรงพระนาม 85 เป็นการต่อยอดการแปรรูปมะม่วงหาวมะนาวโห่ และแก้วมังกร เพื่อสร้างอัตลักษณ์ให้กับผลิตภัณฑ์ โดยนำวัตถุดิบที่มีอยู่ในท้องถิ่นมาแปรรูปเพื่อให้เกิดมูลค่าเพิ่มในรูปแบบต่างๆ เช่น กวน/หยี/ลอยแก้ว/น้ำพร้อมดื่ม/แยม/น้ำพริก/ชาสำหรับชงดื่ม/ไซเดอร์/ไอศกรีมเพื่อสุขภาพ เป็นต้น
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อรอนงค์ ภูสีฤทธิ์ 104 เคมีอาหาร เคมีธัญพืช ผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพ
อาจารย์ ดร.ธวัชชัย ดาเชิงเขา 105 - การประเมินความเสี่ยงสุขภาพ - การประเมิความเสี่ยงในงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
ผศ.ดร.ณิชารีย์ ใจคำวัง 88 การประเมินผลโครงการ การพยาบาลและสาธารณสุข การวิจัยเชิงคุณภาพ
ดร.อนิตทยา กังแฮ 77 แปรรูปอาหาร เครื่องสำอาง การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร / การทำมาตรฐาน, การแพทย์แผนไทย/พัฒนายา/สมุนไพร/สุขภาพ/ความงาม
นางอุไรวรรณ ไกรนรา มูรานิชิ 114 การแพทย์แผนไทย/พัฒนายา/สมุนไพร/สุขภาพ/ความงาม, โรคติดเชื้อ, ปรสิตวิทยาทางการแพทย์, เทคนิคการแพทย์ ด้านปรสิตทางการแพทย์, โรคติดเชื้อ, ปฏิบัติการชันสูตรทางการแพทย์
ดร.นิศากร ตันติวิบูลชัย 94 การแพทย์แผนไทย/พัฒนายา/สมุนไพร/สุขภาพ/ความงาม สรีรวิทยา และการประเมินสมรรถภาพ
ดร.ปาวลี ศรีสุขสมวงศ์ 122 การแพทย์แผนไทย/พัฒนายา/สมุนไพร/สุขภาพ/ความงาม, เทคโนโลยีชีววิทยาและจุลชีววิทยา การเพาะเลี้ยงจุลินทรีย์, การนำจุลินทรีย์มาใช้ประโยชน์, การนำสารสกัดจากพืชพัฒนาเป็นเครื่องสำอาง (เริ่มทำวิจัยปี 2560), การนำข้อมูลทางด้านชีววิทยามาวิเคราะห์โดยใช้วิธีการทางคณิตศาสตร์และสถิติ (เริ่มทำวิจัยปี 2560)
ดร.พีรพงษ์ พึ่งแย้ม 108 การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร / การทำมาตรฐาน, พืชผัก ผักพื้นบ้าน สมุนไพร, เทคโนโลยีข้าวและเมล็ดพันธุ์, วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร, การแพทย์แผนไทย/พัฒนายา/สมุนไพร/สุขภาพ/ความงาม ชีวเคมีโมเลกุลของพืชและสัตว์ สารต้านอนุมูลอิสระและสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพจากข้าวและพืชสมุนไพร อาหารและโภชนาการ ผลิตภัณฑ์สุขภาพและความงาม (Molecular Biochemistry of Plants and Animals, Antioxidants and Biological Activity of Rice and Medicinal Plants, Food and Nutrition, Healthy Products and Cosmetics)
รศ.ดร.ชญานิศ ลือวานิช 101 เทคโนโลยีโรงเรือน, การแพทย์แผนไทย/พัฒนายา/สมุนไพร/สุขภาพ/ความงาม สุขภาพผู้สูงอายุ การพยาบาลผู้ใหญ่
ดร.สมพงศ์ บุญศรี 117 การแพทย์แผนไทย/พัฒนายา/สมุนไพร/สุขภาพ/ความงาม การสกัด แยกองค์ประกอบทรงเคมี วิเคราะห์โครงสร้างสารผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ ที่ได้จากพืชและสมุนไพร
ดร.สุธิดา รัตนบุรี 95 การแพทย์แผนไทย/พัฒนายา/สมุนไพร/สุขภาพ/ความงาม, เคมีผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ "- สกัดสารจากพืชเพื่อใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ - การศึกษาพฤกษเคมีในพืช - การหาสารออกฤทธิ์จากพืช"
ดร.อรุณศรี ว่องปฏิการ 107 การแพทย์แผนไทย/พัฒนายา/สมุนไพร/สุขภาพ/ความงาม, เทคโนโลยีชีววิทยาและจุลชีววิทยา " จุลชีววิทยาสิ่งแวดล้อม (การนำจุลินทรีย์มาใช้ประโยชน์ในการปรับปรุงแก้ไขมลพิษในสภาวะแวดล้อม เช่น ใช้จุลินทรีย์ในการบำบัดน้ำเสีย) - จุลชีวิทยาอุตสาหกรรม (การนำจุลินทรีย์มาใช้ประโยชน์ทางด้านอุตสาหกรรม เช่น การใช้จุลินทรีย์ในการผลิตผลิตภัณฑ์ต่างๆ - การนำสมุนไพรมาพัฒนาเป็นยาต้านจุลชีพ"
นางสาวอารยา ข้อค้า 122 การแพทย์แผนไทย/พัฒนายา/สมุนไพร/สุขภาพ/ความงาม เภสัชวิทยา และการพยาบาล
ดร.อับดุลวาหาบ สาแล๊ะ 110 พืชผัก ผักพื้นบ้าน สมุนไพร, การแพทย์แผนไทย/พัฒนายา/สมุนไพร/สุขภาพ/ความงาม เคมีผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ (Natural Product Chemistry)
ดร. อรพรรณ เสลามาศสกุล 95 สกัดโปรตีนไฮโดรไลเสต โบรมิเลน สารปรุงแต่งกลิ่นรสอาหารและสารเสริมสุขภาพ การสกัดน้ำมันหอมระเหย เพื่อผลิต ผลิตภัณฑ์สปา
นางสาวรสริน ทักษิณ 84 การดูแลสุขภาพด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย ทั้งสาขาการนวดเพื่อการบำบัด การดูแลผู้สูงอายุด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย การส่งเสริมสุขภาพแบบตะวันตก การแพทย์ทางเลือกต่าง รวมถึงการทำผลิตภัณฑ์ทางด้านสุขภาพและใช้ในการส่งเสริมสุขภาพ รวมถึงการเป็นที่ปรึกษาการเปิดคลินิก ร้านนวด ร้านสปา เเละสามารถเรียนรู้การจัดตั้งสถานพยาบาลเพื่อสุขภาพในศาสตร์ของการแพทย์แผนไทย
ผศ.ดร.อรวัลภ์ อุปถัมภานนท์ 98 การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพ การปรับปรุงคุณภาพอาหารทางโภชนาการ การพัฒนกระบวนการผลิตอาหาร
รองศาสตราจารย์ ดร.สุธัญญา พรหมสมบูรณ์ 103 1.การวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์เครื่องสาอาง 2.อะโรมาเธอราพี 3.อาหารสุขภาพ
ผศ.ดร.กมลมาลย์ วิรัตน์เศรษฐสิน 99 การสร้างเสริมสุขภาพ ดุลยภาพชีวิต
ผศ.สายใจ จริยาเอกภาส 108 1. อาหารปลอดภัย 2. การแปรรูปผลิตภัณฑ์อาหาร 3. การสุขาภิบาลโรงงานอุตสาหกรรมอาหาร 4. การตรวจสอบคุณภาพผลิตภัณฑ์
ดร. อนงค์นาฏ โสภณางกูร 106 1. การแปรรูปอาหาร/เทคโนโลยีการแปรรูปอาหาร 2. วิทยาศาสตร์การประกอบอาหาร 3. บรรจุภัณฑ์อาหาร 4. ผลิตภัณฑ์เบเกอรี่/เบเกอรี่เพื่อสุขภาพ 5. ผลิตภัณฑ์อาหารสุขภาพ
ผศ.ดร.ภาราดร งามดี 119 การทดสอบและยืดอายุผลิตภัณฑ์น้ำแกงส้มบรรจุขวด
ณัชชลิดา ยุคะลัง 148 การจัดการสมุนไพร การจัดการสาธารณสุข
ผศ ดร คันธมาทน์ กาญจนภูมิ 115 สุขภาพ การแพทย์แผนไทย
อาจารย์ธนพร อิสระทะ 101 สุขภาพ การแพทย์แผนไทย
รองศาสตราจารย์ ดร.อุไร จเรประพาฬ 108 การจัดการระบบสุขภาพชุมชน สารสนเทศทางสุขภาพ สารสนเทศทางการพยาบาล การดูแลผู้สูงอายุในชุมชน การดูแลมารดาก่อนและหลังคลอดในชุมชน
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ กำไล สมรักษ์ 104 สุขภาพชุมชน
นายณัฐอมร จวงเจิม 121 เชียวชาญในด้านการออกแบบภูมิทัศน์ เริ่องสมุนไพร/สุขภาพ และผลิตภัณฑ์ด้านความงาม
รศ.ดร.อัจฉราภรณ์ ดวงใจ 95 การสกัดสมุนไพร การตรวจสอบคุณสมบัติทางกายภาพและทางชีวภาพ ผลิตภัณฑ์ส่งเสริมสุขภาพ ระบบทางเดินอาหาร เบาหวาน ลดไขมัน
ดร.วิทวัส สัจจาพงศ์ 135 อาหารเพื่อสุขภาพ อาหารสำหรับผู้สูงอายุ และผลิตภัณฑ์อาหารเพื่ออนาคตจากแมลง เช่น จิ้งหรีด
ดร.สุรสวดี สมนึก 95 เครื่องดื่มเพื่อนำไปพัฒนาที่ส่งเสริมสุขภาพสำหรับผู้ออกกำลังการและผู้เล่นกีฬา
ดร.ปิยนารถ ศรชัย 103 การสร้างผลิตภัณฑ์เพื่อตอบโจทย์เชิงเศรษฐกิจและด้านสุขภาพ
คืนจันทร์ ณ นคร 115 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร, การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร,วิทยาศาสตร์การอาหารและโภชนาการ, เครื่องดื่มและอาหารสุขภาพ, เทคโนโลยีแป้ง, Extrusion technology
นางสาวรุ่งทิวา วงค์ไพศาลฤทธิ์ 117 สารพฤกษเคมีและการประยุกต์ใช้ เคมีอาหาร กระบวนการพัฒนาผลิตภัณฑ์ขั้นสูง อาหารเพื่อสุขภาพ (functional food) การประยุกต์ใช้แป้งดัดแปรและไฮโดรคอลลอยด์ในผลิตภัณฑ์อาหาร
ผศ.จิราภา พงศ์ศุภสมิทธิ 109 งานวิจัยเรื่อง การพัฒนาผ้าพื้นเมืองของ ชาวเขาเผ่าเย้า จังหวัด พะเยา งานวิจัยเรื่อง การศึกษาและพัฒนาด้านวิถีชีวิต ของชาวเขาเผ่ากระหร่าง จังหวัด เพชรบุรี งานวิจัยเรื่อง การศึกษาสุขภาพจิตของผู้ใช้บริการสวนสาธารณะในเขตกรุงเทพมหานคร งานวิจัยเรื่อง การศึกษาความพึงพอใจของสถานประกอบการ ต่อนักศึกษาสาขาวิชาการออกแบบแฟชั่น
ดร.ชูขวัญ เตชานนท์ 99 - การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร และสูตรอาหาร - การออกแบบบรรจุภัณฑ์อาหาร - มาตรฐานอาหารและสุขาภิบาลอาหาร
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สมหวัง เล็กจริง 106 - เทคโนโลยีการแปรรูปอาหาร - การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร และสูตรอาหาร - มาตรฐานอาหารและสุขาภิบาลอาหาร
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปารมี หนูนิ่ม 107 - จุลชีววิทยาอาหาร - การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร และสูตรอาหาร - มาตรฐานอาหารและสุขาภิบาลอาหาร
ผศ.กรรณิการ์ อ่อนสำลี 86 การแปรรูปอาหารและสุขาภิบาลอาหาร
นางสาวพรพิมล ควรรณสุ 79 ผลิตภัณฑ์น้ำพริกเห็ดกรอบ จากเห็ดนางฟ้า 1. การพัฒนาสูตรน้ำพริกเห็ดกรอบ 2. การพัฒนาบรรจุภัณฑ์ให้ทันสมัย สวยงาม และ และดึงดูดผู้บริโภค 3. การพัฒนาตลาดออนไลน์ และตลาดออฟไลน์ ขนาดบรรจุ 100 กรัม ความโดดเด่นคือ กลุ่มวิสาหกิจชุมชนผลิตเห็ดบ้านกลางมีความพิถีพิถันในการเพาะเห็ด โดยมีกระบวนการเพาะแบบปลอดสารเคมี นอกจากนั้นยังมีการคัดสรรวัตถุดิบทีมีคุณภาพเพื่อนำมาแปรรูป และมีการตรวจยืนยันด้านอาหารปลอดภัยจากห้องปฏิบัติการทีได้รับการรับรองคุณภาพ เพื่อให้ผู้บริโภคได้รับสินค้าที่มีรสชาติอร่อยและดีต่อสุขภาพ
อาจารย์ ดร. ชิตาพัณณ์ ใบงิ้ว 122 การพัฒนาสูตรในกระบวนการผลิตและการเก็บรักษา นวัตกรรมอาหารเสริมสุขภาพ เทคโนโลยีการขึ้นรูปเส้นด้วยการ Extrusion และ Spherification การทดสอบความชอบทางด้านประสาทสัมผัสและการยอมรับ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นายสัตวแพทย์ ดร.สุทธิดล ปิยะเดช 119 สัตวศาสตร์,zoonosis,ระบาดวิทยา ชีวะสารสนเทศ,สุขภาพสัตว์ การจัดการฟาร์มและโรคสุกร
ผู้ช่วยศาสตร์จารย์สาโรจน์ ปัญญามงคล 123 เป็นอาจารย์ผู้สอนและทำงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารและเครื่องดื่มโดยบูรณาการศาสตร์ตั้งแต่ผลิตผลทางการเกษตร การแปรรูป การออกแบบพัฒนาบรรจุภัณฑ์ รวมถึงการใช้ประโยชน์จากพืชสมุนไพรเพื่อใช้ทางด้านอาหารและเครื่องดื่มผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อาหาร เช่น การทำสบู่ น้ำมันธรรมชาติ ที่มีส่วนผสมของพืช สมุนไพรเป็นต้น และความเชี่ยวชาญด้านกฎหมายอาหาร สุขภาภิบาลอาหาร การประกันคุณภาพอาหารและการผลิตเครื่องดื่มชนิดอัดแก๊สและไม่อัดแก๊ส
รองศาสตราจารย์ ดร.เอกอุมา อิ้มคำ 103 การพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวชชุมชน
รศ.ดร.พานทิพย์ แสงประเสริฐ 121 การพยาบาลสุขภาพชุมชน
ดร.เสาวนีย์ ทรงประโคน 40 การประเมินสุขภาพเด็กในชุมชน
นางสาวฐานิฏฐ์กานต์ ทวนไธสง 99 การทำลูกประคบเพื่อสุขภาพ การนวดคอ บ่า ไหล่เพื่อความผ่อนคลาย
นายวินัฐ จิตรเกาะ 95 การทำชาใบหม่อนเพื่อสุขภาพ
นางสาวรจนา พิทักษ์ธันยพร 93 การทำชาใบหม่อนเพื่อสุขภาพ
ดร.อัญชลี จันทาโภ 94 ด้านสุขภาพและการพัฒนาผลิตภัณฑ์ การพยาบาลมารดา ทารก และการจัดการเครือข่ายสุขภาพ
ผศ.ดร.หทัยกาญจน์ กกแก้ว 86 กระบวนการแปรรูปผลิตภัณฑ์อาหารสุขภาพจากข้าว และพัฒนาผลิตภัณฑ์จากข้าว
รศ.ดร.ดวงใจ บุญกุศล 110 การแปรรูปผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพ
รศ.ดร.ดวงใจ บุญกุศล 79 การแปรรูปผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพ
นางสาวภคพร สาทลาลัย 93 เคมี/ เคมีผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ การสกัดสารและน้ำมันหอมระเหย การพัฒนาผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพเชิงสร้างสรรค์จากพืชสมุนไพร, สารสกัดธรรมชาติและน้ำมันหอมระเหย
นางสาวฐานิฏฐ์กานต์ ทวนไธสง 92 การทำเทมเป้ อาหารเพื่อสุขภาพ
นางสาวเพ็ญพร มีเงินลาด 110 การทำแชมพูสมุนไพรเพื่อสุขภาพ การสกัดน้ำมันสมุนไพร
อาจารย์ณัฐฌา เหล่ากุลดิลก 111 การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพ
ผศ.ดร.อุราภรณ์ เรืองวัชรินทร์ 113 อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนาการ การพัฒนาและแปรรูปอาหาร
อ.รัฐทิตยา หิรัณยหาด 110 การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ การพัฒนาการท่องเที่ยวทางสังคมและวัฒนธรรม การท่องเที่ยวเชิงนิเวศและผจญภัย การท่องเที่ยวชุมชน
ดร.จุฑาภรณ์ ลิ่มสุวรรณมณี 92 การจัดทำตำรับอาหาร เพื่อสุขภาพ
นายณัฐอมร จวงเจิม 122 เชียวชาญในด้านการออกแบบภูมิทัศน์ เริ่องสมุนไพร/สุขภาพ และผลิตภัณฑ์ด้านความงาม
นายณัฐอมร จวงเจิม 114 เชียวชาญในด้านการออกแบบภูมิทัศน์ เริ่องสมุนไพร/สุขภาพ และผลิตภัณฑ์ด้านความงาม
นางสาวนัฏฐา คเชนทร์ภักดี 73 - ผลิตภัณฑ์ประมง - เทคโนโลยีผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพ - การใช้ประโยชน์จากเศษเหลือใช้
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อิศรา วัฒนนภาเกษม 87 เครื่องสำอางและอาหารสุขภาพ จากสารสกัดข้าวสี เสริมโปรไบโอติก
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สัตวแพทย์หญิง ดร.กฤดา ชูเกียรติ 90 สุขภาพคน จากสุขภาพสัตว์
ดร.วันทกาญจน์ สีมาโรฤทธิ์ 84 การจัดการท่องเที่ยว ธุรกิจการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ
อ.วรรณา คำปวนบุตร 97 การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ
ผศ.ดร.อัจฉริยา อิสสระไพบูลย์ 99 การท่องเที่ยวเชิงสุขภาวะ สมุนไพรในชุมชน การบริหารจัดการชุมชน การจัดการองค์กรส่วนท้องถิ่น
ดร.กัญชลิกา รัตนเชิดฉาย 94 การใช้เชื้อราต่อต้านและชีวผลิตภัณฑ์ ผลิตข้าวเทียมจากเห็ดสู่อาหารเพื่อสุขภาพ
ผศ.วิภาดา มุนินทร์นพมาศ 95 ดำเนินการโครงการกับวว และสปอว.ตั้งแต่ปี 2560-2566 อย่างต่อเนื่องจนถึงปัจจุบันโดยทำการพัฒนาและยกระดับกลุ่มวิสาหกิจชุมชนในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนใต้ต้านต่าง ๆ ดังนี้ 1.ด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์ - ปี 2560 พัฒนาผลิตภัณฑ์ส้มแขกสามรส น้ำส้มแขกเข้มข้น และน้ำพริกเผาส้มแขก ให้กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรบ้านท่าสาป เลขที่ 79 บ้าน ท่าสาป อ.เมือง จ.ยะลา 95000 (สนับสนุนโดยสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ;วว.) - ปี 2561 การพัฒนาผลิตภัณฑ์ขนมรังผึ้งและวาฟเฟิล ให้นายองอาจ สายวารี ที่อยู่ บ้านเลขที่ 54 ถนน อนุสรณ์มหาราช ตำบล สะเตง อำเภอเมือง จังหวัดยะลา 95000 โทรศัพท์ 093-6808573 (สนับสนุนโดยสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ;วว.) - ปี 2562 พัฒนาผลิตภัณฑ์ข้าวแต๋นหน้ากล้วยหินตากเคลือบช็อกโกแลต กลุ่มสตรีบ้านเงาะกาโปร์ บ้านเลขที่ 63/1 ถนน สุขยางค์ ตำบล บันนังสตา อำเภอ นันนังสตา จังหวัดยะลา 95130 (สนับสนุนโดยคูปองวิทย์ ปี 2562) -ปี 2564 พัฒนาผลิตภัณฑ์เปลือกมะนาวสามรสให้กับกลุ่มวิสาหกิจชุมชนกลุ่มมะนาวสร้างตนเอง อ.โคกโพธิ์ จ.ปัตตานี (สนับสนุนโดยคูปองวิทย์เพื่อโอทอป ปี 64) - ปี 2564 พัฒนาผลิตภัณฑ์น้ำลองกองผสมน้ำอัญชันเสริมคอลลาเจนแคลลอรี่ต่ำและลองกองหยีให้กับกลุ่มวิสาหกิจแปรรูปผลไม้บ้านเชิงเขา อ.บาเจาะ จ.นราธิวาส (สนับสนุนโดยคูปองวิทย์เพื่อโอทอป ปี 64) - ปี 2566 การพัฒนาผลิตภัณฑ์แกงไตปลาแห้งและน้ำพริกแกงไตปลาเจเพื่อส่งเสริมการตลาดให้กับกลุ่มวิสาหกิจชุมชนน้ำพริกแม่ผัว อ.เมือง จ.ยะลา (สนับสนุนโดยสปอว.2566) 2.พัฒนาฉลากและบรรจุภัณฑ์ - ปี 2560 การพัฒนาบรรจุภัณฑ์ผลิตภัณฑ์ธัญพืชบด กลุ่มแปรรูปผลิตภัณฑ์การเกษตร ตำบลตาชี อำเภอยะหา จังหวัดยะลา (สนับสนุนโดยสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ;วว.) - ปี 2561 การพัฒนาฉลากและบรรจุภัณฑ์ผลิตภัณฑ์ขนมรังผึ้งและวาฟเฟิล ให้นายองอาจ สายวารี ที่อยู่ บ้านเลขที่ 54 ถนน อนุสรณ์มหาราช ตำบล สะเตง อำเภอเมือง จังหวัดยะลา 95000 โทรศัพท์ 093-6808573 (สนับสนุนโดยสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ;วว.) -ปี 2464 พัฒนาฉลากและบรรจุภัณฑ์ผลิตภัณฑ์เปลือกมะนาวสามรสให้กับกลุ่มวิสาหกิจชุมชนกลุ่มมะนาวสร้างตนเอง อ.โคกโพธิ์ จ.ปัตตานี (สนับสนุนโดยคูปองวิทย์เพื่อโอทอป ปี 64) - ปี 2564 3.พัฒนามาตรฐาน - ปี 2560 ขอมาตรฐานอย.จนได้รับรองมาตรฐานให้กับผลิตภัณฑ์ธัญพืชบด กลุ่มแปรรูปผลิตภัณฑ์การเกษตร ตำบลตาชี อำเภอยะหา จังหวัดยะลา (สนับสนุนโดยสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ;วว.) - ปี 2562 ขอมาตรฐานอย.อาคารผลิตจนได้รับรองมาตรฐานในผลิตภัณฑ์ข้าวแต๋นหน้ากล้วยหินตากเคลือบช็อกโกแลต กลุ่มสตรีบ้านเงาะกาโปร์ บ้านเลขที่ 63/1 ถนน สุขยางค์ ตำบล บันนังสตา อำเภอ นันนังสตา จังหวัดยะลา 95130 (สนับสนุนโดยคูปองวิทย์ ปี 2562) - ปี 2565 ขอมาตรฐานอย.จนได้รับรองมาตรฐาน อาคารผลิต ผลิตภัณฑ์มะนาวสามรส ผลิตภัณฑ์น้ำมะนาวผสมน้ำผึ้งบรรจุขวดให้กับกลุ่มวิสาหกิจชุมชนกลุ่มมะนาวสร้างตนเอง อ.โคกโพธิ์ จ.ปัตตานี (สนับสนุนโดยคูปองวิทย์เพื่อโอทอป ปี 2565) 4.พัฒนากระบวนการผลิต - ปี 2565 พัฒนากระบวนการผลิตน้ำมะนาวผสมน้ำผึ้งบรรจุขวดให้กับกลุ่มวิสาหกิจชุมชนมะนาวสร้างตนเอง 16/5 บ้านโพธิ์ หมู่ 2 ถนนเพรชเกษม ต.มะกรูด อ.โคกโพธิ์ จ.ปัตตานี (สนับสนุนโดยคูปองวิทย์เพื่อโอทอป ปี 65)
ดร.จิราวรรณ ฉายาวัฒน์ 85 เทคโนโลยีการแปรรูปอาหารเพื่อสุขภาพ
ดร.จิราวรรณ ฉายาวัฒน์ 35 เทคโนโลยีการแปรรูปข้าวกล้องบดผงโรยอาหารเพื่อสุขภาพ
ดร.จิราวรรณ ฉายาวัฒน์ 86 การแปรรูปอาหารเสริมอาหารเพื่อสุขภาพ
อ.ธีรวัฒน์ เทพใจกาศ 97 ด้านอาหารและโภชนาการ/เครื่องดื่มและอาหารเพื่อสุขภาพ ด้านพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร เทคโนโลยีด้านการออกแบบบรรจุภัณฑ์ การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร/การทำมาตรฐาน
ดร.อรทัย บุญทวงค์ 90 ด้านอาหารและโภชนาการ/เครื่องดื่มและอาหารเพื่อสุขภาพ ด้านพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร เทคโนโลยีด้านการออกแบบบรรจุภัณฑ์ การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร/การทำมาตรฐาน
อ.วัชรี เทพโยธิน 64 ด้านอาหารและโภชนาการ/เครื่องดื่มและอาหารเพื่อสุขภาพ ด้านพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร เทคโนโลยีด้านการออกแบบบรรจุภัณฑ์ การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร/การทำมาตรฐาน
ดร.ปัศนีย์ กองวงค์ 92 ด้านอาหารและโภชนาการ/เครื่องดื่มและอาหารเพื่อสุขภาพ ด้านพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร เทคโนโลยีด้านการออกแบบบรรจุภัณฑ์ การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร/การทำมาตรฐาน
ผศ.นภาพร ดีสนาม 103 ด้านอาหารและโภชนาการ/เครื่องดื่มและอาหารเพื่อสุขภาพ ด้านพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร เทคโนโลยีด้านการออกแบบบรรจุภัณฑ์ การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร/การทำมาตรฐาน
ผศ.นภาพร ดีสนาม 100 ด้านอาหารและโภชนาการ/เครื่องดื่มและอาหารเพื่อสุขภาพ ด้านพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร เทคโนโลยีด้านการออกแบบบรรจุภัณฑ์ การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร/การทำมาตรฐาน
ดร.ธัญลักษณ์ บัวผัน 93 ด้านอาหารและโภชนาการ/เครื่องดื่มและอาหารเพื่อสุขภาพ ด้านพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร เทคโนโลยีด้านการออกแบบบรรจุภัณฑ์ การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร/การทำมาตรฐาน
ดร.พุทธพร บุณณะ 89 การจัดการธุรกิจเกษตรเพื่อการท่องเที่ยว การจัดการตลาดท่องเที่ยวเชิงเกษตร การนำเที่ยวเชิงเกษตร การพัฒนาผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร สุขภาวะแบบองค์รวม ผู้ดำเนินการสปา Spa Manager
ผศ.สุทธิณี พรพันธ์ไพบูลย์ 93 โมเดลการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ การสื่อความหมายชุมชน ในระดับสากล เกณฑ์การประเมินการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพระดับอาเซียน
อ.วรรณนิสา แก้วบ้านกรูด 68 วิทยาศาสตร์สุขภาพและความงาม
นางสาวสุมนา ปานสมุทร 94 1.นาโนเทคโนโลยีชีวภาพ 2.วัสดุนาโน 3.การเคลือบผิวนาโนคอมโพสิต ใช้ในการเคลือบเนื้อทุเรียนในการแช่แข็งเพื่อยืดอายุของเนื้อทุเรียน และสารชีวภาพ ในการทดแทนสารเคมี
ผศ.น.สพ.ประยุทธ กุศลรัตน์ 93 การจัดการสุขภาพสัตว์ ปรสิตวิทยา
นางสาวปาริชาต ราชมณี 82 เทคโนโลยีการอาหาร การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร มาตรฐานอาหารและสุขาภิบาลโรงงาน
ว่าที่ร้อยตรีธรรมนูญ ม้าวิเศษ 79 การผลิตชาสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
ดร.วีรภรณ์ โตคีรี 91 การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน การท่องเที่ยวและการบริการ การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์
ผศ.ดร. วัชรี สีห์ชำนาญธุรกิจ 88 เคมีวิเคราะห์/อาหารสุขภาพ
ผศ.ดร.นวลพรรณ ศิรินุพงษ 36 เชี่ยวชาญด้านอาหารสุขภาพโภชนาการ
ดร.ชัยณรงค์ รัตนกรีฑากุล 90 1.จดอนุสิทธิบัตร "สูตรผสมสำหรับ ผลิตภัณฑ์สารสกัดสมุนไพร ชนิดสารเข้มข้นแขวนลอย" 2. จดลิขสิทธิ์ ปี 2011 จำนวน 4 เรื่อง "สินค้าคุณภาพจากแปลงสู่ผู้บริโภค" "การประเมินความเสี่ยงเป็นการเตรียมระบบ GAP ให้พร้อมกับสิ่งที่เกิดขึ้น" "การระมัดระวังระหว่างการใช้สารเคมี" "สุขอนามัยระหว่างการเก็บเกี่ยว" 3. งานวิจัยที่เป็นการรายงานครั้งแรกของประเทศไทยที่พบว่า เชื้อสาเหตุโรคกิ่งแห้งของทุเรียนเป็นเชื้อรา Fusarium incarnatum และ F. solani ไม่ใช่เชื้อรา Phytophthora palmivora ตามที่นักวิชาการหลายท่านเข้าใจ รวมทั้งพบว่าเชื้อรา Phytopythium vexans สามารถเข้าทำลายทุเรียน และทำให้เกิดโรครากเน่าโคนเน่าได้เช่นเดียวกับ P. palmivora และได้แนะนำสารเคมีป้องกันกำจัดเชื้อราชนิดที่ควบคุมได้ทั้งเชื้อรา Fusarium, Phytophthora, Phytopythium และ Pythium โดยเกษตรกรไม่จำเป็นต้องสิ้นเปลืองซื้อสารเคมีหลายชนิดมาผสมเองเพราะสาเหตุที่แท้จริงของโรคกิ่งแห้งนั้นเกิดจากเชื้อรา Fusarium solani และ F. incarnatum มิได้เกิดจากเชื้อรา Phytophthora palmivora และได้แนะนำสารเคมีที่มีประสิทธิภาพในการควบคุมโรคกิ่งแห้งซึ่งสามารถควบคุมเชื้อรา Phytophthora palmivora สาเหตุโรครากเน่าโคนเน่าของทุเรียนได้อีกด้วย โดยจำเป็นต้องระมัดระวังการใช้สารเคมี benzimidazoles มากยิ่งขึ้น เนื่องจากเชื้อราสาเหตุเกิดการต้านทานได้ 4. หาความแตกต่างของสารประกอบบนผิวมะม่วงที่ได้รับสารกลุ่ม salicylic เพื่อกระตุ้นความต้านทานโรคแอนแทรคโนส จากงานวิจัยการกระตุ้นความต้านทานการเกิดโรคในมะม่วงหลังการเก็บเกี่ยว
ดร.ศุภชัย ศักดิ์ขจรภพ 76 เซลล์วิทยา, ภูมิคุ้มกันวิทยา, วิทยาศาสตร์สุขภาพ, โรคติดเชื้อ, ชีวการแพทย์
ดร.รัติยา พงศ์พิสุทธา 84 1. อนุกรมวิธานของเชื้อราและชีวโมเลกุล , 2. ความหลากหลายของเชื้อราสาเหตุโรคพืช , 3. เชื้อราที่เป็นสาเหตุของโรคพืชหลังการเก็บเกี่ยว
รศ.ดร.สันทัด วิเชียรโชติ 72 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอาหาร อาหารสุขภาพ พรีไบโอติก
นางอัจฉรา ชินวร 86 ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารพรีไบโอติกสำหรับผู้ใหญ่สุขภาพดี
ดร.ทัศนีย์วรรณ ลักษณะโสภิณ 89 ไบโอเซนเซอร์และเคมิคัลเซนเซอร์สำหรับเฝ้าระวังสุขภาพในผู้สูงอายุ/ด้านIoT ระบบส่งเสริมสุขภาพ/การแพทย์ และการพัฒนาธุรกิจสตาร์ทอัพ
รศ ดร.บุญโชติ เผ่าสวัสดิ์ยรรยง 98 พลาสมาและเทคโนโลยีวัสดุขั้นสูง
รศ.ดร. วรวรรณ พันธุมนาวิน 66 พลาสมาและเทคโนโลยีวัสดุขั้นสูง
ดร.สุรีรัตน์ หอมหวล 83 ไบโอเซนเซอร์และเคมิคัลเซนเซอร์สำหรับเฝ้าระวังสุขภาพในผู้สูงอายุ
ผศ.ดร. ณัฐพร โทณานนท์ 59 พลาสมาและเทคโนโลยีวัสดุขั้นสูง
ผศ.ดร.ชุตินธร พันธ์วงศ์ 60 ไบโอเซนเซอร์และเคมิคัลเซนเซอร์สำหรับเฝ้าระวังสุขภาพในผู้สูงอายุ
รศ.ดร. สกุลธรรม เสนาะพิมพ์ 70 พลาสมาและเทคโนโลยีวัสดุขั้นสูง
รศ.ดร.ชิตนนท์ บูรณชัย 67 ไบโอเซนเซอร์และเคมิคัลเซนเซอร์สำหรับเฝ้าระวังสุขภาพในผู้สูงอายุ
รศ.ดร.ปณต ถาวรังกูร 79 ไบโอเซนเซอร์และเคมิคัลเซนเซอร์สำหรับเฝ้าระวังสุขภาพในผู้สูงอายุ
ผศ.ดร.ธณิกานต์ ธรสินธุ์ 51 อาหารเพื่อสุขภาพ การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร
นางสาว จรินทร โคตพรม 42 1.การนำองค์ความรู้เกี่ยวกับภูมิปัญญาท้องถิ่น การใช้สมนุนไพร มาประยุกต์ใช้การดูแลสุขภาพอาทิเช่น การป้องกันโรค การส่งเสริมสุขภาพ หรือการแก้ปัญหาสุขภาพเบื้องต้น 2.การนำองค์ความรู้ทางการพยาบาลในด้านการป้องกัน ดูแลรักษา ฟื้นฟู และส่เงสริมสุขภาพ
อาจารย์ศศิธร ป้อมเชียงพิณ 32 เครื่องดื่มและอาหารเพื่อสุขภาพ
อาจารย์ณิชกานต์ กลับดี 35 เครื่องดื่มและอาหารเพื่อสุขภาพ
ดร.จักรกฤษณ์ ทองคำ 41 อาหารและโภชนาการ อาหารเพื่อสุขภาพ
อาจารย์ จงรัก ดวงทอง 33 การผลิตและการใช้สมุนไพรเพื่อการดูแลสุขภาพ
ดร.ดลพร ว่องไวเวช 46 - การเพิ่มมูลค่าผลผลิตทางการเกษตร การแปรรูปอาหาร - การสกัดและวิเคราะห์ปริมาณสารสำคัญในผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรและอาหารเพื่อสุขภาพ (Functional food) - การสกัดสารมูลค่าสูงจาก waste อุตสาหกรรมอาหาร
ดร.สุณิษา คงทอง 40 สารเสริมสุขภาพและอาหารเพื่อสุขภาพ เภสัชวิทยา (pharmacology)
ดร.สุณิษา คงทอง 32 การพัฒนาผลิตภัณฑ์ต้นแบบสารเสริมอาหารจากพืชกระท่อมชนิดผงไมโครแกรนูลต่อการส่งเสริมการเจริญเติบโตและสุขภาพลำไส้ในไก่เนื้อ
อาจารย์ณัฐพงศ์ ชัยภักดี 33 เคมีอินทรีย์, อาหารเพื่อสุขภาพที่มีส่วนผสมของสมุนไพรวงศ์ขิง
ผศ.ดร.สุธาสินี ทองนอก 39 พัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร ,อาหารเพื่อสุขภาพ
นางปิยะพร เจริญหล้า 27 ด้านการผลิต และพัฒนาอาหารว่าง เพื่อบำรุงสุขภาพ
นางรัตนาภรณ์ สุขโข 29 ด้านการผลิต และพัฒนาอาหารว่าง เพื่อบำรุงสุขภาพ
นางสิรินทร เขียนสีอ่อน 40 ด้านการผลิต และพัฒนาอาหาร เพื่อบำรุงสุขภาพ
นายธีรชัย ปทุมพร 37 มีความเชี่ยวชาญด้านการผลิต อุปกรณ์ออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศิวาพร มหาทำนุโชค 41 วุฒิการศึกษาปริญญาตรี ส.บ. (สาธารณสุขชุมชน), วท.บ. (กิจกรรมบำบัด) วุฒิการศึกษาปริญญาโท ศษ.ม. (การส่งเสริมสุขภาพ) วุฒิการศึกษาปริญญาเอก ส.ด. (สาธารณสุขศาสตร์) ความเชี่ยวชาญ การสร้างเสริมสุขภาพ สาธารณสุขศาสตร์ ปัญหาการฆ่าตัวตาย สาขาความเชียวชาญ สุขภาพ [181]
นางสาวกัลยา พงสะพัง 46 การวิเคราะห์และการเขียนแผนธุรกิจ ธุรกิจเพื่อสังคม การบริหารจัดการองค์การ การออกแบบผลิตภัณฑ์ การจัดการการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ การผลิตสารสกัดและผลิตภัณฑ์สารสกัดในเชิงการค้า
นางสาวอ้อมหทัย ดีแท้ 55 วุฒิการศึกษาปริญญาตรี วท.บ. (เทคนิคการแพทย์) วุฒิการศึกษาปริญญาโท วท.ม. (ชีววิทยา) วุฒิการศึกษาปริญญาเอก วท.ด. (จุลชีววิทยาประยุกต์) ความเชี่ยวชาญ จุลชีววิทยาคลินิกและความปลอดภัยทางชีวภาพ จุลชีววิทยาประยุกต์และเทคโนโลยีชีวภาพ สาขาความเชียวชาญ การแพทย์แผนไทย/พัฒนายา/สมุนไพร/สุขภาพ/ความงาม [181] เทคโนโลยีชีววิทยาและจุลชีววิทยา [140]
ผู้ช่วยศาสตราจารย์วาสนา ติวงค์ 34 "1. ผ่านการรับรองเป็นนักกำหนดอาหารวิชาชีพ (กอ.ช) Certified Dietitian of Thaniland (CDT) และได้รับการพัฒนาองค์ความรู้ตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง 2. ได้รับใบอนุญาต เป็นผู้ประกอบการวิชาชีพครู จากคุรุสภา 3. เข้ารับการอบรม ประชุม สัมมนาด้านอาหารและโภชนาการ อาหารเพื่อสุขภาพและอาหารบำบัดโรค ฯลฯ อย่างต่อเนื่อง 4. เป็นสมาชิกตลอดชีพ ของสมาคมนักโภชนาการแห่งประเทศไทยฯ และสมาคมนักกำหนดอาหารแห่งประเทศไทย 5. เป็นอาจารย์ผู้สอนในรายวิชา อาหารและโภชนาการ อาหารเพื่อสุขภาพและบำบัดโรค การควบคุมและการประกันคุณภาพอาหาร ความปลอดภัยด้านอาหาร โภชนาการเบื้องต้น การถนอมอาหารและการแปรรูปอาหาร เป็นระยะเวลา 10 ปี จนถึงปัจจุบัน"
อาจารย์ รัฐพรรณ สันติอโนทัย 47 วุฒิการศึกษาปริญญาตรี การแพทย์แผนไทยประยุกต์บัณฑิต วุฒิการศึกษาปริญญาโท วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วิทยาการเภสัชภัณฑ์) ความเชี่ยวชาญ การแพทย์แผนไทย / เครื่องสำอาง / เวชภัณฑ์เภสัชภัณฑ์/ การพัฒนา สารสกัดจากสมุนไพรเพื่อพัฒตาเป็นผลิตภัณฑ์ / Cosmetic nano technology สาขาความเชียวชาญ การแพทย์แผนไทย/พัฒนายา/สมุนไพร/สุขภาพ/ความงาม [181]
ผศ.ดร.อิศรา ศิรมณีรัตน์ 31 ด้านสุขภาพประชากร
อาจารย์สุริยา ชัยวงค์ 37 เภสัชเวทและเภสัชพฤษศาสตร์ (การสกัดและแยกสารจากสมุนไพร) การทดสอบฤทธิ์ทางชีวภาพของสารในหลอดทดลองและสัตว์ทดลอง การพัฒนาผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ การศึกษาทางเซลล์และอณูชีววิทยา ในการตอบสนองต่อสารธรรมชาติหรือผลิตภัณฑ์สุขภาพ
ดร.ศิริลักษณ์ สุรินทร์ 31 พัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพ
อาจารย์ธัญญรัตน์ ศุภการนรเศรษฐ์ 37 ด้านสาธารณสุข ด้านสุขภาพ เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์สมุนไพร การทำสปา