ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณัฐธิญา เบือนสันเทียะ 121 การใช้จุลินทรีย์เพื่อผลิตพืชแบบเกษตรอินทรีย์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อารักษ์ ธีรอำพน 119 การปลูกพืชโดยไม่ใช้ดิน
นางสาวกัญญ์ธศยา อัครศิริฐรัตนา 113 การใช้ประโยชน์จากพืช สมุนไพร การทดสอบฤทธิ์ทางชีวภาพ และการแปรรูปผลิตภัณฑ์
ผศ.ดร.ชัยรัตน์ บูรณะ 130 เทคโนโลยีการผลิตพืช การจัดการเกษตร การวางแผนการใช้ที่ดินเพื่อการเกษตร (สวนพืชเขตร้อนและกึ่งร้อน) เกษตรสมัยใหม่ (Digital Agriculture, Smart Farm)
นายจักรกริช อนันตศรัณย์ 109 มีความชำนาญ: ชีววิทยา กล้วยไม้ การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช การเพาะเห็ดถั่งเช่าสีทอง
นางสาวภวิกา บุณยพิพัฒน์ 97 มีความชำนาญ: ด้านโรคพืช วิทยาการหลังการเก็บเกี่ยว ศัตรูพืชและการป้องกันกำจัด การเพาะเห็ด
นางสาวนพรัตน์ ถวิลเวทิน 113 มีความชำนาญ: - ดูแลงานขยายพันธุ์พืชด้านการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ โครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ฯ โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช และงานตลาดและงานวิจัยของศูนย์ฯ
นายปรีชา ศิริสม 121 1. พืชอาหารสัตว์และการจัดการทุ่งหญ้า 2. การจัดการระบบฟาร์ม (Farming System Management)
นางสาวชนิดา ยุบลไสย 123 1. มาตรฐานระบบ GMP พืช 2. ตรวจวิเคราะห์คุณภาพน้ำ ดิน ปรับปรุงดิน
ดร.อนุวัฒน์ จรัสรัตนไพบูลย์ 126 เทคโนโลยีการขยายพันธ์ุพืช ไม้ผล สมุนไพร การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช
ดร.ละออทิพย์ ไมตรี 109 เทคโนโลยีการผลิตพืชผักเศรษฐกิจ เทคโนโลยีการเก็บเมล็ดพันธุ์ ตรวจประเมินมาตรฐานการผลิตพืชในระบบปลอดภัย
อาจารย์บุษบา มะโนแสน 96 การพัฒนากลุ่มวิสาหกิจผู้ประกอบการแปรรูปอาหารท้องถิ่น การแปรรูปผลิตภัณฑ์พืช การแปรรูปผลิตภัณฑ์ประมง
นายทองมี เหมาะสม 110 ด้านการสกัดสารจากพืช, การกลั่นน้ำมันหอมระเหย
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กฤษดา พงษ์การัณยภาส 50 การปรับปรุงบำรุงดินด้วยจุลินทรีย์ท้องถิ่น การปลูกพืชผัก สมุนไพร สารชีวภัณฑ์ในการกำจัดศัตรูพืช
นายมูฮำหมัดตายุดิน บาฮะคีรี 111 มีความรู้ในเรื่อง พฤกษศาสตร์ เป็นสาขาวิชาหนึ่งของชีววิทยาที่ศึกษาเกี่ยวกับโครงสร้างพืช ส่วนประกอบหน้าที่ของเซลล์ ราก ลำต้น ใบ ดอก ผล และเมล็ด และกระบวนการต่าง ๆ เพื่อการดำรงชีพของพืช
นายชลิต ตรีนิตย์ 100 การปรับปรุงบำรุงดินเพื่อการปลูกพืช
ผศ.ดร.พีระวุฒิ วงศ์สวัสดิ์ 148 จุลทรรศน์อิเล็กตรอน (SEM) ของละอองเรณู อณูชีววิทยา (Molecular Biology) เพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช
ผศ.ดร.เฉลิมศรี นนทสวัสดิ์ศรี 112 ปรับปรุงพันธุ์พืช, พันธุวิศวกรรม (genetic transformation), เพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
นายกิติพงษ์ วุฒิญาณ 108 การวางระบบน้ำแปลงปลูกพืชผัก โดยใช้เทคโนโลยีระบบน้ำอัจฉริยะต้นทุนต่ำ
นายวีรวัตร นามานุศาสตร์ 79 การป้องกันกำจัดโรคพืช พัฒนาชีวภัณฑ์ควบคุมโรคพืช เกษตรอินทรีย์ เกษตรอัจฉริยะ การเพาะเห็ดเศรษฐกิจ
อาจารย์อารยา บุญศักดิ์ 102 การพัฒนาผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ ผลผลิตทางการเกษตรเน้นผลิตภัณฑ์จากพืชผักผลไม้ การเกษตร ด้านสารชีวภัณฑ์กำจัดแมลงศัตรูพืช
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นุชจรี สิงห์พันธ์ 102 ปรับปรุงพันธุ์พืช, เพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ, พืชศาสตร์, การเพาะเลี้ยงเห็ดถั่งเช่า
รศ.ดร.เสมอใจ บุรีนอก 113 การจัดการด้านพืชอาหารสัตว์เขตร้อน
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อมลณัฐ ฉัตรตระกูล 118 การปลูกพืชอินทรีย์ สมุนไพร การอารักขาพืชด้วยสารชีวภัณฑ์ มาตรฐานการเกษตร GAP, PGS พืชอินทรีย์, ปุ๋ยชีวภาพ
ดร.วชิรญา เหลียวตระกูล 135 1. การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร ผลิตภัณฑ์เบเกอรี่ ขนมไทย ข้าวและธัญพืช วิเคราะห์คุณภาพอาหาร และมาตรฐานอาหาร 2.การพัฒนาฟิล์มบริโภคได้ (edible film) สาหรับพัฒนาเป็นบรรจุภัณฑ์อาหาร 3.เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว การยืดอายุการเก็บรักษาผลผลิตทางการเกษตร
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ฉวีวรรณ บุญเรือง 109 1.การจัดการศัตรูพืช การจัดการผลิตผลหลังการเก็บเกี่ยว 2.การผลิตจุลินทรีย์และผลิตภัณฑ์จุลินทรีย์ส่งเสริมการเจริญเติบโตและควบคุมศัตรูของพืช การผลิตเห็ด 3.การผลิตพืชปลอดภัย
ผศ.ดร ทวีสิน นาวารัตน์ 97 มีความเชี่ยวชาญในด้านผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ เคมีอินทรีย์สังเคราะห์ และองค์ประกอบทางเคมีจากพืชสมุนไพร
ดร.ธีรยุทธ์ ศรียาเทพ 94 มีความเชี่ยวชาญในด้านผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ และองค์ประกอบทางเคมีจากพืชสมุนไพร
ผศ.อโนทัย วิงสระน้อย 108 แมลงเศรษฐกิจ, การจัดการศัตรูพืช หรือ การอารักขาพืช, การจัดการศัตรูพืช
ผศ.กรรณิการ์ สมบุญ 51 กระบวนการทางด้านเศรษฐศาสตร์ การแปรรูปผลิตภัณฑ์จากพืชท้องถิ่น
วีระ ยุคุณธร 132 - เทคโนโลยีพืช ผัก ผลไม้ - การปลูกพืชเสริม
ผศ.ดร.มัลลิกา จันทรังษี 115 การสกัดสารจากพืช การเพาะเลี้ยง
อิสราภรณ์ สมบุญวัฒนกุล 93 เทคโนโลยีชีวภาพ ปุ๋ยพืชสด ชุดเครื่องแกงอ่อม
ดร.ยรรยง เฉลิมแสน 90 มีความเชี่ยวชาญด้านโรคและแมลงศัตรูพืช และการป้องกันกำจัดอย่างปลอดภัย
รศ.ดร.สมชาติ หาญวงษา 91 มีความเชี่ยวชาญด้านการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าว และโรคพืช วัชพืชในแปลง และการป้องกันกำจัด
ผศ.มนัส จูมี 93 มีความเชี่ยวชาญด้านการผลิตไม้ผลเมืองร้อน การขยายพันธุ์พืช
อาจารย์วรงศ์ นัยวินิจ 75 การจัดการศัตรูพืชแบบปลอดภัย
นายกิตติคุณ ปิตุพรหมพันธุ์ 83 การพัฒนาเครื่องสับพืชและผสมอาหารสัตว์เพื่อลดต้นทุนการผลิตโคเนื้อ
นางณิชานันท์ กุตระแสง 130 การผลิตและขยายหัวเชื้อชีวภัณฑ์ป้องกันและกำจัดศัตรูพืช
อุมาวดี ศรีเกษตรสรากุล 107 สรีรวิทยาพืช การผลิตพืช
รองศาสตราจารย์ ดร.วาริน อินทนา 96 การควบคุมโรคพืช เกษตรอินทรีย์ การจัดการโรคพืชในระบบเกษตรอินทรีย์
รองศาสตราจารย์ ดร.พจมาลย์ สุรนิลพงศ์ 96 การปรับปรุงพันธุ์พืช
อาจารย์ ดร.อรรถกร พรมวี 109 ทางด้านพืชศาสตร์ ระบบไฮโดรโปนิกส์
ดร.เบญจวรรณ ยันต์วิเศษภักดี 92 เพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช สารออกฤทธิ์ทางชีวภาพจากพืช สารทุติยภูมิจากเห็ดรา การใช้ประโยชน์จากพืช
ผศ.ดร.อมรรัตน์ ชุมทอง 110 การผลิตปุ๋ยอินทรีย์ ชีวภัณฑ์ส่งเสริมการเจริญเติบโตและควบคุมศัตรูพืช
รองศาสตราจารย์ ดร. รวีวรรณ เดื่อมขันมณี 94 โรคพืช อารักขาพืช การกลั่นน้ำมันหอมระเหยเพื่อควบคุมโรคพืชที่เกิดจากเชื้อรา การใช้น้ำส้มควันไม้ควบคุมโรคพืช การควบคุมโรคพืชโดยชีววิธี การใช้เทคโนโลยีผลิตเห็ด การศึกษาเห็ดเอ็คโตมัยคอร์ไรซา การผลิตพืชปลอดภัย ตรวจประเมินเกษตรอินทรีย์ข้าว สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ (มกอช.)
อาจารย์วรรภา วงศ์แสงธรรม 95 เทคโนโลยีการแปรรูปอาหาร เทคโนโลยีเครื่องดื่ม เทคโนโลยีการแปรรูปผลิตภัณฑ์อาหารจากพืช สุขาภิบาลและกฎหมายอาหาร
นายนิคม วงศ์นันตา 82 การปลูกพืชผักปลอดสารพิษ
นายนิคม วงศ์นันตา 94 เทคโนโลยีการปลูกพืชในวัสดุปลูก
นางน้ำอ้อย น้ำดอกไม้ 95 การแปรรูปต่อยอดสินค้าเกษตรผลิตภัณ์จากพืช
ดร.ปรีชา ทุมมุ 117 1. การพัฒนาศักยภาพการผลิตผักปลอดภัย 2. การพัฒนาเครื่องบรรจุพืชอาหารสัตว์ต้นทุนต่ำแบบสุญญากาศ 3. พืชสมุนไพรเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มด้านเวชศาสตร์ฟื้นฟูและเวชศาสตร์อายุรวัฒน์
ผศ.ดร.ไซนีย๊ะ สะมาลา 99 การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช
รศ.ดร.อรพิน เกิดชูชื่น 125 มีความเชี่ยวชาญ และชำนาญการหลายๆด้าน ทั้ง ด้านเกษตร อาหาร สารสำคัญในพืช น้ำมันหอมระเหยและสารสกัดจากพืช นวัตกรรมและการพัฒนาบรรจุภัณฑ์ มีผลงานวิจัยและบทความในวารสารนานาชาติ ไม่ต่ำกว่า 25 เรื่อง และวารสารในประเทศอีกจำนวนมาก
ผศ.ดร.วิพรรพรรณ์ เนื่องเม็ก 90 โรคพืช การผลิตเห็ดเศรษฐกิจ
อาจารย์ประธาน เรียงลาด 95 การผลิตพืชอาหารสัตว์ - การใช้วัสดุเศษเหลือทางการเกษตรให้เป็นอาหารสัตว์ - การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศกับการผลิตสัตว์
อาจารย์ศิวดล แจ่มจำรัส 122 การเลือกพื้นที่ - สารเคมีเกษตร - การปรับปรุงดินสำหรับการปลูกพืช - ชนิดของผัก และระบบการปลูกพืชที่เหมาะสมในแต่ละพื้นที่ - ไม้ผล
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ อรุณรัตน์ ปัญจะกลิ่นเกษร 109 - การแปรรูปผลิตภัณฑ์จากพืชสมุนไพร
อาจารย์สุริยา ทองคุณ 129 ด้านอารักขาพืช(โรคพืช), การเพาะเห็ด, การปลูกเมล่อน ระบบ GAP
ดร.ลัดดาวัลย์ คำมะปะนา 94 การขยายพันธุ์พืช, การเพาะกล้าไม้, การเก็บรักษาและยืดอายุผลิตผลสดทางพืชสวน, การตอน การปักชำ การติดตา ต่อกิ่ง การทาบกิ่ง
นางสาวรุ่งนภา อ่อนชู 32 การแปรรูปผลิตภัณฑ์จากพืชและสัตว์
นายกล้าณรงค์ ข่วงบุญ 103 การจัดออกแบบว่างผังแปลงปลูกพืช การออกแบระบบน้ำสำหรับแปลงปลูกพืช ระบบน้ำอัจฉริยะ การใช้เทคโนโลยีเหนี่ยวนำการเป็นสัดในโค ระบบโซล่าเซลล์พลังงานแสงอาทิตย์
ดร. วรรณา มังกิตะ 108 เทคโนโลยีชีวภาพพืช การปรับปรุงพันธุ์ด้วยเทคนิคเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช การอนุรักษ์และใช้ประโยชน์จากพันธุกรรมพืช ความหลากหลายทางชีวภาพของพืช
ผศ.ดร.วิรงรอง ทองดีสุนทร 124 1. การออกแบบบรรจุภัณฑ์ เพื่อยืดอายุการเก็บรักษาผลิตผลเกษตรและผลิตภัณฑ์อาหาร 2.การใช้ประโยชน์เส้นใยและเซลลูโลสจากพืช / การผลิตฟิล์มบริโภคได้ / สารเคลือบผิวผลไม้ที่รับประทานได้ 3.เทคโนโลยีและนวัตกรรมบรรจุภัณฑ์เพื่อยืดอายุการเก็บของผลิตภัณฑ์
ผศ.ดร.มัชฌิมา นราดิศร 98 1.การจัดการโรคผักและผลไม้หลังการเก็บเกี่ยว 2.การจัดการโรคพืช
ผศ.ดร. รุ่งอรุณ สาสนทาญาติ 43 การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารจากข้าว แป้งข้าวและพืชอื่น ๆ ก๋วยเตี๋ยว เส้นหมี่ และอาหารเพื่อสุขภาพ
รศ.ดร.สาโรจน์ รอดคืน 107 การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารจากข้าว แป้งข้าวและพืชอื่น ๆ ก๋วยเตี๋ยว เส้นหมี่ และ อาหารเพื่อสุขภาพ
รศ.ดร.สรพงค์ เบญจศรี 92 สาขาวิชาพืชศาสตร์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ไกรศรี ศรีทัพไทย 48 การผลิตพืชผลทางการเกษตร
อาจารย์เนติยา การะเกตุ 99 การเพิ่มปริมาณเนื้อเยื่อในหลอดแก้ว การวิเคราะห์สารสำคัญและการกระตุ้นการผลิตสารสำคัญในพืช
นายณัฐอมร จวงเจิม 91 การพัฒนาพืชสมุนไพร ด้านสุขภาพ และความงาม
ดร. สุภาวดี แช่ม 105 1. การแปรรูปผลิตผลทางการเกษตร เช่น ผัก ผลไม้ ธัญพืชโดยเฉพาะด้าน แป้ง ข้าวและผลิตภัณฑ์ (อาหารและเครื่องดื่ม) 2. พัฒนารูปแบบและฉลากของบรรจุภัณฑ์
นางปาริชาติ ณ น่าน 91 1. เทคโนโลยีการผลิตและพัฒนาคุณภาพผัก-ผลไม้ธัญพืชและผลิตภัณฑ์ 2. เทคโนโลยีเนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์
ผศ.ดร. จิรภา พงษ์จันตา 96 1.เทคโนโลยีการผลิตและพัฒนาผลิตภัณฑ์จากธัญพืชและพืชหัว 2.การจัดการมาตรฐานและความปลอดภัยในการผลิตอาหารและเครื่องดื่ม
ผศ.กัทลีวัลย์ สุขช่วย 82 1.การวินิจฉัยโรคพืช การควบคุมโรคพืช 2.การเพาะเห็ด
รศ.ดร.จินันทนา จอมดวง 77 การควบคุมโรคพืชโดยชีววิธี
ผศ.ดร.อรุณ โสตถิกุล 108 1.การควบคุมแมลงศัตรูพืชแบบผสมผสาน 2.การปรับปรุงพันธ์พืช 3.กัญชาทางการแพทย์
รศ.ดร.มาลี ตั้งระเบียบ 75 การควบคุมโรคและแมลงศัตรูพืชโดยชีววิธี
ผศ.สุมาฬี พรหมรุกขชาติ 85 การควบคุมแมลงศัตรูพืชแบบผสมผสาน
นางสาวศิริพร อ่ำทอง 130 1.การวินิจฉัยโรคพืช การควบคุมโรคพืชโดยชีววิธี 2.การเพาะเห็ด
รศ.ดร. ชิติ ศรีตนทิพย์ 129 สรีรวิทยาของไม้ผล เทคโนโลยีการผลิตและจัดการไม้ผล เทคโนโลยีการปลูกพืชโดยไม่ใช้ดินเทคโนโลยีพลาสม่าและไมโคร/นาโนบับเบิล
ผศ.พิทักษ์ พุทธวรชัย 87 เทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช การปรับปรุงพันธุ์ผัก และผักพื้นบ้าน
รศ.ดร.รุ่งนภา ช่างเจรจา 128 สรีรวิทยาและการปรับปรุงพันธุ์ไม้ดอกไม้ประดับ เทคโนโลยีชีวภาพทางพืช
นายศักดา สุขวัฒนากร 111 เทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช
ผศ.ดร.สาวิตร มีจุ้ย 88 การปรับปรุงพันธ์ สรีรวิทยาพืชไร่ (ข้าว ถั่ว)
รศ.ดร.จานุลักษณ์ ขนบดี 99 การปรับปรุงพันธ์พืชผัก
นายชัยวัฒน์ พงศสุขุมาลกุล 106 การปรับปรุงพันธ์พืชผัก
ผศ.พงษ์ยุทธ นวลบุญเรือง 99 เทคโนโลยีชีวภาพทางด้านพืช
ผศ.ดร.จันทร์เพ็ญ ชุมแสง 93 ถ่ายทอดเทคโนโลยีเทคนิคการจัดการเกษตรให้มีคุณภาพ การขยายเชื้อจุลินทรีย์สังเคราะห์แสง เชื้อราไตรโคเดอร์มาและวิธีการใช้งานกับพืชแต่ละชนิด เทคโนโลยีการ ผลิตสับปะรดทั้งในและนอกฤดู
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สายทอง แก้วฉาย 90 เทคโนโลยีการจัดการแมลงศัตรูพืช / เทคโนโลยีสารชีวภัณฑ์
นางสาวทัศนีย์ รัดไว้ 104 เทคโนโลยีการจัดการสวนไม้ผล / การผลิตพืชไร่/การผลิตไม้ผล/การปลูกผักไฮโดรโปนิกส์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ฉัตรชัย สังข์ผุด 106 การแปรรูปและพัฒนาผลิตภัณฑ์จากพืชน้ำมันและสมุนไพร วิธีการผลิตน้ำมันมะพร้าวสกัดเย็นที่ให้ผลผลิตสูงและคุณภาพดีสามารถกระทำได้ในระดับครัวเรือน รวมถึงการนำมาใช้เป็นวัตถุดิบในการสกัดสารสำคัญจากสมุนไพรเพื่อนำมาใช้ในการผลิตเครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ
ดร.วิบูล เป็นสุข 94 เทคโนโลยีการผลิตพืช การปรับปรุงพันธุ์พืช
อ.ดร.วิภานุช ใบศล 97 การสกัดสารและการสกัดน้ำมันหอมระเหยจากพืชหรือวัสดุธรรมชาติ
ผศ.ดร.วีรนุช คฤหานนท์ 99 การสกัดสารและการสกัดน้ำมันหอมระเหยจากพืชหรือวัสดุธรรมชาติ
อ.ดร.อังคณา เชื้อเจ็ดตน 114 การผลิตฟิล์มเคลือบผิวที่บริโภคได้ (Edible film) จากเพคทินที่สกัดจากพืชหรือวัสดุธรรมชาติ
ผศ.ดร.พรอนันต์ บุญก่อน 110 การประยุกต์ใช้สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช ได้แก่ ฮอร์โมนพืชและสารที่ออกฤทธิ์คล้ายฮอร์โมนพืช เพื่อควบคุมการงอก การเจริญเติบโต การผสมเกสร การพัฒนาของผล และการยืดอายุการเก็บรักษาผลผลิตทางการเกษตร
อ.ดร.ไพบูลย์ หมุ่ยมาศ 84 การปลูกพืชแบบปลอดภัยทั้งแบบปลูกในดินและแบบไฮโดรโปนิกส์ การผลิตปุ๋ยไคติน การเลี้ยงไส้เดือนดิน และการใช้ปุ๋ยมูลไส้เดือนดิน
ดร.ชัชวาล แสงฤทธิ์ 83 เทคโนลีการเก็บรักษาและขยายพีนธ์พืชอินทรีย์
อ.บงกชไพร ศรพรหม 84 การจำแนกศํตรูพืชโรคพืช และการเลือกใช้สารชีวภัณฑ์
น.ส.ชนิดา ยุบลไสย์ 78 กระบวนการปลูกผักยกสูงในโรงเรือนเพื่อลดปัญหาวัชพืช โรคแมลง และลดการปวดเมื่อยในการกาทำงานของเกษตรกร
อาจารย์อาทิตย์ บุดดาดวง 87 การปลูกพืชในโรงเรือนกรองแสง
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อรอนงค์ ภูสีฤทธิ์ 104 เคมีอาหาร เคมีธัญพืช ผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพ
อาจารย์ ดร.จรัญญา กุลยะ 86 สรีรวิทยาของพืช
อาจารย์สุฑารัตน์ คนขยัน 97 กายวิภาคศาสตร์ของพืช ความหลากหลายของพืช การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช
อาจารย์ ดร.นภศูล ศิริจันทร์ 103 จุลชีววิทยา จุลชีววิทยาทางการแพทย์ พืชสมุนไพรยับยั้งแบคทีเรียและจุลชีพอื่นๆ การตรวจสอบจุลินทรีย์ในอาหาร มาตรฐานผลิตภัณฑ์ (อาหาร เครื่องสำอาง สมุนไพรที่ไม่ใช่อาหาร ฯลฯ)
อาจารย์ ดร.สุชีลา ตาลอำไพ 87 - ชีววิทยา (Biology) - พันธุศาสตร์โมเลกุล (Molecular genetic) - พันธุศาตร์ของพืชผลและการปรับปรุงพันธุ์พืช (Crop genetic and breeding) - ยีนแป้งในข้าว (Starch Branching Enzyme I (SBE l )Gene ) - ยีนอะไมโลสในข้าว (Amylose Gene in rice ) - ยีนต้านทานโรคไหม้ในข้าว (Rice blast resistance Gene ) - ออกแบบไพรเมอร์เฉพาะยีน (design primer specific Gene ) - วิเคราะห์ผลของลำดับเบสแบบกิ่ง (Phylogenetic tree)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัญญรินทร์ สมพร 79 สรีรวิทยาพืช เทคโนโลยีเมล็ดพันธ์ุ การจัดการและแปรรูปผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร เกษตรอินทรีย์ เทคโนโลยีการผลิตข้าว
อาจารย์ ดร.นราธิษณ์ หมวกรอง 89 - เทคโนโลยีขั้นสูงสำหรับการผลิตพืช
ดร.ศิรศาธิญากร จันทร์ขศิราพร 95 สรีรวิทยาของพืชการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช
นางเกศราภรณ์ จันทร์ประเสริฐ 78 อนุกรมวิธานพืชดอก และเฟิน
ดร.เบญจวรรณ ชิวปรีชา 84 คุณสมบัติไม้, นิเวศวิทยาของพืช, อนุกรมวิธานพืชและสาหร่าย, วิทยาเรณู, กายวิภาคของพืช
ผศ.ดร.วาสินี พงษ์ประยูร 90 โปรติโอมิกส์ชีวเคมีของพืชสรีรวิทยาของพืชชีววิทยาโมเลกุล
อาจารย์อุไรวรรณ วันทอง 100 ระบบจัดการน้ำพืชสวน แบบ Smart farming
ดร.พิณทิพย์ จันทรเทพ 81 เพาะเห็ดนางฟ้า เห็ดฟาง เห็ดแครง เป็นต้น รวมถึงส่งเสริมการปลูกพืชผักสวนครัวแบบเกษตรอินทรีย์ ลด ละ เลิกการใช้ปุ๋ยเคมี
รศ. ดร.อัจฉรา เพ็งหนู 100 การใช้ชีวภัณฑ์บำรุงดิน และจัดการศัตรูพืชแต่ละชนิดด้วยวิธีการต่าง ๆ ที่เหมาะสมทั้งกับพืชและศัตรูพืช หลีกเลี่ยงการใช้สารเคมีหรือยาฆ่าแมลง
ดร.เทวี มณีรัตน์ 67 การใช้แมลงตัวห้ำตัวเบียนมากำจัดศัตรูพืช การทำเกษตรแบบประณีต เกษตรกรต้องเพิ่มทักษะในการสังเกตแมลงศัตรูพืช เพื่อกำจัดได้ถูกต้อง หลีกเลี่ยงการใช้สารเคมีหรือยาฆ่าแมลง
ดร. กฤช ตราชู 104 พลังงานหมุนเวียน, พลังงานสะอาด, Greenhouse, ระบบพลังงานในโรงงานผลิตพืช (Plant Factory), ระบบอบแห้ง, Computational Fluid Dynamics (CFD), Energy in building, Pipe stress Analysis,
ศูนย์วิจัยและพัฒนานวัตกรรมสินค้าเกษตรและอาหาร ภาคต 92 ศูนย์วิจัยและพัฒนานวัตกรรมสินค้าเกษตรและอาหาร ภาคตะวันออก คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี จันทบุรี เป็นหน่วยสนับสนุนการเรียนการสอน การวิจัย แลบริการวิชาการ มีหน้าที่หลักดังต่อไปนี้ 1. ทดสอบมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร ISO/IEC 17025 ทดสอบตัวอย่างสินค้าด้านการเกษตร เช่น ดิน น้ำ ใบ ผลผลิตทางการเกษตร และผลิตภัณฑ์จากการเกษตร เช่น ผลิตภัณฑ์อาหารแปรรูป น้ำส้มควันไม้ น้้ำดื่ม น้ำพริก ซอส เป็นต้น ทางศูนย์ทดสอบจะทำการวิเคราะห์เพื่อวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1.1 เฝ้าระวังมาตรฐานสินค้าให้ตรงกับมาตรฐานภานในและต่างประเทศ 1.2 ออกใบรายงานผลให้สอดคล้องกับมาตรฐานภานในและต่างประเทศ 1.3 วิเคราะห์สารเคมี และยาฆ่าแมลงตกค้างในผลผลิต และผลิตภัณฑ์แปรรูป 1.4 วิเคราะห์ฉลากโภชนา 1.5 วิเคราะห์จุลินทรีย์ 1.6 วิเคราะห์น้ำเพื่อการอุปโภคบริโภค 2. วิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ด้านเกษตรและอาหาร ทำการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่ใช้พืชปลทางการเกษตร ในภาคตะวันออก เพื่อรองรับการแปรรุปผลผลิตใหม่ๆ สู่ตลาดในยุยไทยแลนด์ 4.0 3. บริการวิชาการ ฝึกอบรม และให้คำปรึกษา เป็นศูนย์บริการให้คำปรึกษาด้านคุณภาพอาหาร และการขึ้นทะเบียนกับหน่วยงานรัฐ เช่น มผช. OTOP อย. และมาตรฐานสากลได้แก่ GMP/HACCP/ISO/HALAL/BRC เป็นต้น และยังเป็นที่ฝึกอบรมด้านการแปรรูปการเกษตร และอื่นๆ ตามโจทย์ท้องถิ่น 4. เป็นพี่เลี้ยงด้านระบบคุณภาอาหาร เป็นพี่เลี้ยงหน้างาน ให้บริการถึงสถานที่ เพื่อคอยแนะนำให้ผู้ประกอบการทุกระดับ ไม่ว่าจะกลุ่มแม่บ้าน วิสาหกิจชุมชน SME เข้าถึงการแปรรูปที่ถูกต้อง และจัดการสถานที่ให้เป็นไปตามมาตรฐานที่ต้องการ รวมทั้งการประยุกต์ใช้ระบบประกันคุณภาพอาหาร ในสถานประกอบการ สถานที่ติดต่อ ศูนย์วิจัยและพัฒนานวัตกรรมสินค้าเกษตรและอาหาร ภาคตะวันออก หลักสูตรวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี เลขที่ 41 ม.5 ต.ท่าช้าง อ.เมือง จ.จันทบุรี 22000 โทรศัพท์ 061 6605306 E mail Classforecastrbru@hotmail.com
อาจารย์นภาพร จิตต์ศรัทธา 83 1. เทคโนโลยีการปลูกผักแบบไฮโดรโปนิกส์ 2. เทคโนโลยีการการสร้างโรงเรือนสำหรับปลูกไฮโดรโปนิกส์ 3. การปลูกพืชสวน
ผศ. ดร.ไชยวัฒน์ รงค์สยามานนท์ 98 การพัฒนานวัตกรรมการใช้พืชสมุนไพรท้องถิ่นในการกำจัดศัตรูพืชในนาข้าวอินทรีย์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ปราณี ศรีราช 100 การสกัดน้ำมันหอมระเหย รวมไปถึงการสกัดสารสำคัญจากพืชสมุนไพร
อาจารย์วาสนา แผลติตะ 113 การผลิตพืชผลทางการเกษตร (Crop)
รศ.ดร. วิศิษฐิพร สุขสมบัติ 91 การจัดการโคนม การจัดการโรงงานอาหารสัตว์ (โคนม) การผลิตพืชอาหารสัตว์
ดร.กิตติศักดิ์ โชติกเดชาณรงค์ 117 วุฒิการศึกษาปริญญาตรี วท.บ. (ชีววิทยา) มหาวิทยาลัยนเรศวร วุฒิการศึกษาปริญญาโท วท.ม. (ชีววิทยา) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาเอก วท.ด. (ชีววิทยา) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ความเชี่ยวชาญ -สถิติทางชีววิทยา -การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช -การปรับปรุงพันธุ์พืช
อัตถ์ อัจฉริยมนตรี 86 วุฒิการศึกษาปริญญาตรี วท.บ.(พืชสวน) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาโท วท.ม.(เกษตรศาสตร์เชิงระบบ) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ความเชี่ยวชาญ ระบบผลิตทางการเกษตร
ดร.จันทนา แสงแก้ว 84 พืชผัก ผักพื้นบ้าน สมุนไพร, วิทยาศาสตร์ทางทะเล, เทคโนโลยีชีววิทยาและจุลชีววิทยา สาหร่ายทะเล สาหร่ายน้ำและพรรณไม้
นางสาวกมลวรรณ สุขสวัสดิ์ 77 การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร / การทำมาตรฐาน, พืชผัก ผักพื้นบ้าน สมุนไพร, วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร, การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร อาหารและโภชนาการ ขนมอบ การจัดดอกไม้ การแต่งหน้าเค้ก การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร อาหารและโภชนาการ ขนมอบ การจัดดอกไม้ การแต่งหน้าเค้ก
ดร.ปาวลี ศรีสุขสมวงศ์ 122 การแพทย์แผนไทย/พัฒนายา/สมุนไพร/สุขภาพ/ความงาม, เทคโนโลยีชีววิทยาและจุลชีววิทยา การเพาะเลี้ยงจุลินทรีย์, การนำจุลินทรีย์มาใช้ประโยชน์, การนำสารสกัดจากพืชพัฒนาเป็นเครื่องสำอาง (เริ่มทำวิจัยปี 2560), การนำข้อมูลทางด้านชีววิทยามาวิเคราะห์โดยใช้วิธีการทางคณิตศาสตร์และสถิติ (เริ่มทำวิจัยปี 2560)
ผศ.ดร.ชาลินี ถังมณี 75 การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ หลักการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช
ดร.พีรพงษ์ พึ่งแย้ม 108 การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร / การทำมาตรฐาน, พืชผัก ผักพื้นบ้าน สมุนไพร, เทคโนโลยีข้าวและเมล็ดพันธุ์, วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร, การแพทย์แผนไทย/พัฒนายา/สมุนไพร/สุขภาพ/ความงาม ชีวเคมีโมเลกุลของพืชและสัตว์ สารต้านอนุมูลอิสระและสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพจากข้าวและพืชสมุนไพร อาหารและโภชนาการ ผลิตภัณฑ์สุขภาพและความงาม (Molecular Biochemistry of Plants and Animals, Antioxidants and Biological Activity of Rice and Medicinal Plants, Food and Nutrition, Healthy Products and Cosmetics)
นางสาวภคมน กุลนุวงค์ 86 การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร / การทำมาตรฐาน, พืชผัก ผักพื้นบ้าน สมุนไพร, วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร ด้านอาหารว่าง อาหารประเภทของฝาก
ดร.สมพงศ์ บุญศรี 117 การแพทย์แผนไทย/พัฒนายา/สมุนไพร/สุขภาพ/ความงาม การสกัด แยกองค์ประกอบทรงเคมี วิเคราะห์โครงสร้างสารผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ ที่ได้จากพืชและสมุนไพร
นางสายสนิท พงศ์สุวรรณ 90 ความหลากหลายทางชีวภาพ นิเวศวิทยา ชนิดและการกระจายของสัตว์และพืชในพื้นที่ระบบนิเวศแบบต่างๆ พฤติกรรม และความสามารถการปรับตัวของสิ่งมีชีวิต การคัดเลือกชนิดพันธุ์เป้าหมายเพื่อการอนุรักษ์ และใช้ประโยชน์ในด้านการการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ การออกแบบและสร้างแหล่งเรียนรู้ด้านทรัพยากรธรรมชาติ และการประเมินขีดความสามารถในการรองรับของพื้นที่ในเชิงนิเวศ (Ecology Carrying Capacity)
ดร.สุธิดา รัตนบุรี 95 การแพทย์แผนไทย/พัฒนายา/สมุนไพร/สุขภาพ/ความงาม, เคมีผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ "- สกัดสารจากพืชเพื่อใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ - การศึกษาพฤกษเคมีในพืช - การหาสารออกฤทธิ์จากพืช"
ผศ.ดร.อนงนาฎ ไพนุพงศ์ 103 พืชผัก ผักพื้นบ้าน สมุนไพร, Gene expression, Oxidative stress , Cell Culture and Apoptosis การเลี้ยงเซลล์ การแสดงออกของยีน โดยใช้เทคนิค RT-PCR รวมถึงการวิเคราะห์ผลการแสดงออกของยีน รวมถึงกลไกการส่งสัญญาณภายในเซลล์ ที่นำไปสู่การตายของเซลล์ ที่เรียกว่า กระบวนการ apoptosis
ดร.อับดุลวาหาบ สาแล๊ะ 110 พืชผัก ผักพื้นบ้าน สมุนไพร, การแพทย์แผนไทย/พัฒนายา/สมุนไพร/สุขภาพ/ความงาม เคมีผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ (Natural Product Chemistry)
อุ่นฤทัย ภู่พรประเสริฐ 42 สารสกัดสมุนไพรธรรมชาติเพื่อสร้างผลิตภัณฑ์ต่างๆ เช่น สบู่ โลชั่นบำรุงผิวต่างๆ น้ำยาล้างจาน อื่นๆ " การสกัดสารเคมีจากพืชและสมุนไพรธรรมชาติและสรร้งผลิตภัณฑ์ ต่างๆ เช่น สบู่จากสารสกัดสมุพไพรน้ำยาล้างจาน โลชั่นบำรุงผิว ต่างๆ "
นางสาวลัดดาวัลย์ ชูทอง 95 การดำเนินธุรกิจคลินิกการแพทย์แผนไทย การปลูกพืชสมุนไพรเพื่อการใช้เป็นยา ดูแลรักษาผู้ป่วยที่มารับการรักษาทางการแพทย์แผนไทย การนำสมุนไพรมาพัฒนา
ผศ.ดร. อัจฉรา ดลวิทยาคุณ 90 กระบวนการแปรรูปและโภชนาการ ทดลองอาหาร การควบคุมคุณภาพอาหาร และสกัดสารจากพืชสมุนไพร
ดร.วรินธร บุญยะโรจน์ 119 การเลือกใช้วัสดุที่เป็นมิตรสิ่งแวดล้อม การเลือกใช้ผลิตภัณฑ์ที่ไม่เกิดสารตกค้าง ผลิตภัณฑ์และสารชีวภาพที่สามารถย่อยสลายได้ตามธรรมชาติ การนำของเสียกลับมาใช้ใหม่ (Waste Utilization) การลดของเสียที่แหล่งกำเนิด กระบวนการผลิตที่สะอาด (Clean Technology) เศรษฐกิจหมุนเวียน การทดสอบสารปนเปื้อนของอาหาร น้ำดื่ม และพืชผัก การตกค้างของสารกำจัดศัตรูพืช - การวิเคราะห์สารปนเปื้อนในอาหาร น้ำดื่ม พืชผัก และสมุนไพร ตลอดจนการตกค้างของสารกำจัดศัตรูพืช ในตัวอย่างทางสิ่งแวดล้อม เช่น น้ำดื่มน้ำใช้ น้ำบาดาล น้ำจากแหล่งน้ำสาธารณะ ด้วยเครื่อง Gas Chromatography/Mass Spectrometry - อาหารปลอดภัย (Food Safety) - เทคโนโลยีสะอาด (Clean Technology) - การวิเคราะห์สารองค์ประกอบของสมุนไพร ด้วยเครื่อง Gas Chromatography/Mass Spectrometry - การบำบัดสารปนเปื้อนขนาดเล็ก (Micropollutants)
สุทธิรักษ์ ผลเจริญ 96 1) ปรับปรุงพันธุ์พืช 2) สรีรวิทยาของพืช 3) เคมีวิเคราะห์ขั้นสูง 4) เทคโนโลยีชีวภาพทางพืช 5) สารพิษตกค้างทางการเกษตร 6) มาตรฐานการรับรองทางด้านการเกษตร // เกษตรอินทรีย์ 7) ระบบการให้น้ำแบบอัจฉริยะ
มัลลิกา จินดาซิงห์ 91 1) การใช้เครื่องหมาย โมเลกุลในการปรับปรุงพันธุ์พืช 2) เทคโนโลยีชีวภาพทางพืช 3) จุลินทรีย์ทางการเกษตร 4) การวิเคราะห์สารสำคัญทางพืช 5) สารพิษตกค้างทางการเกษตร 6) มาตรฐานการรับรองทางด้านการเกษตร
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.คมศักดิ์ พินธะ 114 - Cell biology ทดสอบฤทธิ์ทางชีวภาพของสารเคมีจากพืช (phytochemicals) - งานวิจัยเกี่ยวกับการป้องกันและการรักษาโรคมะเร็ง เบาหวาน ความดันและไขมันในเลือด - การแยกสารสำคัญจากพืชสมุนไพร
อ.เพลินพิศ แจ้งโพธิ์นาค 94 1. การผลิตพืช 2. การแปรรูปอาหาร
นางณิชาพล บัวทอง 97 การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช ไม้ดอก ไม้ประดับ พืชเศรษฐกิจ พืชทางใต้ พืชสมุนไพร
ดร.ฐิระ ทองเหลือ 74 การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร การทำมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ออแกนิค ไทยแลนด์ การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียง เกษตรทฤษฎีใหม่ เกษตรอินทรีย์ กระบวนการผลิตพืชอินทรีย์ การพัฒนาชุมชนตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
ผศ.ขนิษฐา ไชยแก้ว 95 พืชศาสตร์ การเตรียมแปลง และการเตรียมปลูก
ผศ.สุดารัตน์ สุตพันธ์ 90 พืชศาสตร์ การเตรียมแปลง และการเตรียมปลูก
นางสาวศิริพร เครื่องพาที 85 การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช กล้วยไม้ และพืชทั่วไป
ผศ.ดร.บุณฑริกา ทองดอนพุ่ม 85 ด้านการเพาะและขยายพันธุ์สัตว์น้ำด้านการเพาะเลี้ยงพืชน้ำ ด้านสิ่งแวดล้องทางประมง
นายทองมี เหมาะสม 78 ด้านการส่งเสริมการเกษตร ด้านบริการวิชาการกลุ่มชุมชน ด้านการผลิตพืช
ผศ.ภูรินทร์ อัครกุลธร 78 การเพาะพันธุ์ และการขยายพันธุ์พืช และวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม
ดร.โชติพงศ์ กาญจนประโชติ 88 เทคโนโลยรีะบบการให้น้ำพืชแบบอัจฉริยะและแม่นยำ
นายนิคม สุทธา 47 องค์ความรู้การผลิตปัจจัยการผลิตพืชระบบเกษตรธรรมชาติและการผลิตเครื่องกรองน้ำเพื่อบริโภคชุมชน
อาจารย์ มาโนช รัตนคุณ 96 ๑. การวิเคราะห์สารอินทรีย์ ๒. การสกัดสารสำคัญในพืชและสมุนไพร
อาจารย์ วชิราภรณ์ เรือนแป้น 99 ๑.เกษตรอินทรีย์ ๒.การปลูกพืชแบบวนเกษตร ๓.การจัดการดินเพื่ออาหารปลอดภัย ๔.การผลิตปุ๋ยหมักและน้ำหมักชีวภาพ
อาจารย์ ดร.รัชษาวรรณ์ มงคล 103 สารสกัดจากพืช และการประยุกต์ใช้โดยเกษตรกรรายย่อย
รองศาสตราจารย์มานะ กาญจนมณีเสถียร 92 การควบคุมศัตรูพืชโดยเชื้อบีเอ็ม และการประยุกต์ใช้โดยเกษตรกรรายย่อย
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สรารัตน์ มนต์ขลัง 72 เชื้อราสาเหตุโรคพืช ความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมของเชื้อราสาเหตุโรคพืช การควบคุมเชื้อราสาเหตุโรคพืชโดยใช้แบคทีเรียปฏิปักษ์
รศ.ดร.พรรณธิภา ณ เชียงใหม่ 96 พืชศาสตร์ เทคโนโลยีการผลิตพืช ปรับปรุงพันธุ์พืช
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วันวิสาข์ ลิจ้วน 73 พืชสมุนไพร
ศุภชัย สุทธิเจริญ 83 ผักอินทรีย์ และพืชผักทุกชนิด
ธายุกร พระบำรุง 106 การจัดการสิ่งแวดล้อม การจัดการชุมชน วัสดุเหลือใช้ในชุมชน วัชพืช
สุรศักดิ์ ขันคำ 106 ชีววิทยา ด้านพืชและสัตว์ การผลิตปุ๋ยชีวภาพ
อ.สุภา ศรียงยศ 95 การผลิตพืชอาหารสัตว์ การเลี้ยงสัตว์ในโรงเรือนระบบปิดและระบบเปิด การเลี้ยงไก่พื้นเมือง
ผศ.ดร.รัตนจิรา รัตนประเสริฐ 84 การปรับปรุงพันธุ์พืชไร่/พืชสมุนไพร ทักษะพื้นฐานทางการเกษตร
อ.ดร.อัจฉราวดี เครือภักดี 88 ด้านการเกษตรและการดูแลปรับปรุงพันธุ์พืช
อาจารย์ ดร.วันเพ็ญ ชลอเจริญยิ่ง 77 การปรับปรุงพันธุ์ข้าวโพด และการใช้เทคโนโลยีชีวภาพในการปรับปรุงพันธุ์พืช
อาจารย์ ดร.พวงเพชร พิมพ์จันทร 82 การปลูกพืชผัก การทำเกษตรอินทรีย์
ผศ.ดร. ภาวิณี อารีศรีสม 94 การแปรรูปผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางและอาหารจากสมุนไพร สมุนไพรวิเคราะห์พืชน้ำมันหอมระเหย
อาจารย์กฤชณัท รวมบุญ 74 โปรแกรมประยุกต์บนเว็บสำหรับวางแผนการเพาะปลูกพืชผัก
ผศ.ดร.บุศราภา ลีละวัฒน์ 103 การแปรรูปข้าวและธัญพืช วิศวกรรมแปรรูปอาหาร สมบัติทางรีโอโลยีของอาหาร การพัฒนาผลิตภัรฑ์จากพืช
อาจารย์นฤมล ชนะไพฑูรณ์ 89 บรรจุภัณฑ์ากเศษซากพืช
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นภนันต์ ศุภศิริพงษ์ชัย 105 กฎหมายลิขสิทธิ์ กฎหมายสิทธิบัตร กฎหมายเครื่องหมายการค้า กฎหมายความลับทางการค้า กฎหมายสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ กฎหมายคุ้มครองแบบผังภูมิของของวงจรรวม กฎหมายคุ้มครองพันธุ์พืชเน้นที่กฎหมายคุ้มครองพันธุ์พืชใหม่และกฎหมายคุ้มครองกรรมวิธีในการปรับปรุงพันธุ์พืช
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นภนันต์ ศุภศิริพงษ์ชัย 108 กฎหมายลิขสิทธิ์ กฎหมายสิทธิบัตร กฎหมายเครื่องหมายการค้า กฎหมายความลับทางการค้า กฎหมายสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ กฎหมายคุ้มครองแบบผังภูมิของของวงจรรวม กฎหมายคุ้มครองพันธุ์พืชเน้นที่กฎหมายคุ้มครองพันธุ์พืชใหม่และกรรมวิธีในการปรับปรุงพันธุ์พืช
อาจารย์ประสาทพร กออวยชัย 87 การอารักขาพืช เทคโนโลยีการเกษตร เทคโนโลยีการผลิตพืช ปรับปรุงพันธุ์พืชปาล์มน้ำมัน ยางพารา ข้าวโพดและข้าว
อาจารย์ปิยนุช จันทรัมพร 65 การอารักขาพืช การจัดการศัตรูพืชแบบปลอดภัย กีฎวิทยา โรคพืช
นายพงศ์ศักดิ์ ชลธนสวัสดิ์ 86 นำระบบให้น้ำและปุ๋ยแ่พืชโดยติดตังในแปลงเพาะปลูกพืช พร้อมติดตั้งระบบให้น้ำ
นายอัครชัย โสมกุล 72 การปลูกและการดูแล การปลูกพืชและผักเขตร้อนที่เหมาะกับสภาพอากาศประเทศไทย
ดร.สุภาวดี แช่ม 97 1. การแปรรูปผลิตผลทางการเกษตร เช่น ผัก ผลไม้ ธัญพืชโดยเฉพาะด้าน แป้ง ข้าวและผลิตภัณฑ์ (อาหารและเครื่องดื่ม) 2. พัฒนารูปแบบและฉลากของบรรจุภัณฑ์
ผศ.ดร. จิรภา พงษ์จันตา 119 1.เทคโนโลยีการผลิตและพัฒนาผลิตภัณฑ์จากธัญพืชและพืชหัว 2.การจัดการมาตรฐานและความปลอดภัยในการผลิตอาหารและเครื่องดื่ม
รศ.ดร.มาลี ตั้งระเบียบ 87 การควบคุมโรคและแมลงศัตรูพืชโดยชีววิธี
ดร.จิระศักดิ์ วิชาสวัสดิ์ 81 การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ เทคโนโลยีการผลิตพืช
ผศ.ดร.สายทอง แก้วฉาย 102 - สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา การป้องกันกำจัดศัตรูพืชโดยชีววิธี ราวิทยา การเพาะเห็ด
อาจารย์ทัศนีย์ รัดไว้ 83 การผลิตพืชผัก และการขยายพันธุ์พืช
อาจารย์ ดร.นราธิษณ์ หมวกรอง 83 การปลูกพืชในระบบโรงเรือนแบบสมาร์ทฟาร์ม
อาจารย์จักรพงศ์ จิระแพทย์ 84 สาขาสรีรวิทยาการผลิตพืช
ผศ.ดร. วิกันดา รัตนพันธ์ 90 การจัดการแมลงศัตรูพืชโดยไม่ใช้สารเคมีอันตราย การใช้พืชกับดัก การพัฒนาผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร
ดร. เยาวพรรณ สนธิกุล 42 เทคโนโลยีการขยายพันธุ์พืชและการเก็บรักษาเชื้อพันธุกรรมพืช
นายบุญทับ กันทะเตียน 94 เพาะขยายพันธุ์พืช ค้นคว้า ทดลองการผลิตน้ำหมักชีวภาพ ปุ๋ยชีวภาพ ทดลองสูตรปุ๋ยหมัก
ผศ.ดร.แววดาว ดาทอง 99 การป้องกันแมลงศัตรูพืชในนาข้าวด้วยชีววิธี และการใช้สารเคมี ในนาข้าวหอมมะลิด าและข้าว สังข์หยดโคราช บริเวณพื้นที่อ าเภอห้วยแถลง จังหวัดนครราชสีมา
นางสาวณัฐชญา สายคำวงศ์ 76 มีความเชี่ยวชาญด้านเมล็ดพันธุ์ และพืชไร่
ดร.สุจริตพรรณ บุญมี 73 มีความเชี่ยวชาญด้านโรคและแมลงศัตรูพืช
อ.วรัญญู แก้วดวงตา 83 เทคโนโลยีการเกษตร การปลูกพืชทุกชนิด
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นิภาวรรณ์ จิตโสภากุล 113 เทคโนโลยีชีวภาพทางด้านพืช การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช การเก็บรักษาพันธุกรรมพืชในไนโตรเจนเหลว การปรับปรุงพันธุ์ และเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อกล้วยไม้
อาจารย์ ดร.วรรัตน์ ขยันการ 127 เป็นอาจารย์ผู้สอนและทำงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารและเครื่องดื่มโดยบูรณาการศาสตร์ตั้งแต่ผลิตผลทางการเกษตร และเนื้อสัตว์ การแปรรูป การออกแบบพัฒนาบรรจุภัณฑ์ รวมถึงการใช้ประโยชน์จากพืชสมุนไพรเพื่อใช้ทางด้านอาหารและเครื่องดื่มผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อาหาร เช่น การทำสบู่ น้ำมันธรรมชาติ ที่มีส่วนผสมของพืช สมุนไพรเป็นต้น
ผู้ช่วยศาสตร์จารย์สาโรจน์ ปัญญามงคล 123 เป็นอาจารย์ผู้สอนและทำงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารและเครื่องดื่มโดยบูรณาการศาสตร์ตั้งแต่ผลิตผลทางการเกษตร การแปรรูป การออกแบบพัฒนาบรรจุภัณฑ์ รวมถึงการใช้ประโยชน์จากพืชสมุนไพรเพื่อใช้ทางด้านอาหารและเครื่องดื่มผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อาหาร เช่น การทำสบู่ น้ำมันธรรมชาติ ที่มีส่วนผสมของพืช สมุนไพรเป็นต้น และความเชี่ยวชาญด้านกฎหมายอาหาร สุขภาภิบาลอาหาร การประกันคุณภาพอาหารและการผลิตเครื่องดื่มชนิดอัดแก๊สและไม่อัดแก๊ส
ผศ.ดร.จริยาวดี สุริยพันธุ์ 118 พรรณไม้น้ำ แพลงก์ตอนพืช แพลงก์ตอนสัตว์ หญ้าทะเล ระบบนิเวศทางทะเล และระบบนิเวศในบ่อเลี้ยงสัตว์น้ำ
อาจารย์น้ำอ้อย ปัญญา 90 การผลิตพืชระบบ GAP (พืชสมุนไพร ข่า ตะไคร้)
รศ.ดร.คริษฐ์สพล หนูพรหม 68 ความเชี่ยวชาญ : พืชศาสตร์
นายฑณัช บูรณวัฒน์ 70 ความเชี่ยวชาญ : พืชศาสตร์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สิริรัตน์ พานิช 130 - ตรวจสอบฤทธิ์ในการต้านอนุมูลอิสระด้วยวิธี FCR, DPPH, ABTS ในอาหาร สมุนไพร เครื่องดื่ม และเครื่องสำอาง -สารสกัดน้ำมันหอมระเหย และไฮโดรโซล -ปรับปรุงและพัฒนาสูตรเซรั่มบำรุงผิว -พัฒนาสูตรเครื่องสำอางค์ที่มีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ -พัฒนาผลิตภัณฑ์แผ่นมาส์คหน้าเพิ่มความชุ่มชื่น -วิเคราะห์คุณภาพ และคุณสมบัติต่าง ๆ ของเครื่องสำอางค์ เช่น ความชุ่มชื้น ฤทธิ์ในการสมานแผน ความสามารถในการลดเลือนริ้วรอย -อาหาร Superfood -อาหารที่มีโปรตีนสูงและมีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ -นมจากพืช -การวิเคราะห์เพื่อจัดทำฉลากทางโภชนการ -การตรวจสอบสารปนเปื้อนในอาหาร เช่น โลหะหนัก สารพิษ และสารปนเปื้อนเป็นต้น -วิธีการสกัด การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากสมุนไพรไทย -การตรวจวิเคราะห์องค์ประกอบ -การควบคุมคุณภาพสมุนไพรไทย -สารลดแรงตึงผิวในเครื่องสำอางค์ -สารลดแรงตึงผิวในผลิตภัณฑ์ที่ใช้ในครัวเรือน เช่น น้ำยาปรับผ้านุ่ม น้ำยาซักผ้า น้ำยาล้างจาน - เซนเซอร์ตรวจจับปริมาณโลหะหนักเช่น ตะกั่ว
ผศ.ประมวล แซ่โค้ว 100 การผลิตพืชผักปลอดภัย
อาจารย์ชื่นสุมณ ยิ้มถิน 88 พัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารและเครื่องดื่มโดยใช้สมุนไพรและพืชสวนครัว
อาจารย์นนทลี บุญทัด การุณยศิริ 100 การออกแบบบรรจุภัณฑ์เพื่อใช้ในการตลาดแบบมืออาชีพ,การพัฒนาด้านอาหารผสมผสานกับคุณค่าของพืชสมุนไพร
นางสาวภคพร สาทลาลัย 93 เคมี/ เคมีผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ การสกัดสารและน้ำมันหอมระเหย การพัฒนาผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพเชิงสร้างสรรค์จากพืชสมุนไพร, สารสกัดธรรมชาติและน้ำมันหอมระเหย
อาจารย์ ดร.กฤษฎิ์พงศ์ ภาษิตวิไลธรรม 94 วิทยาศาสตร์การเกษตร เน้นด้านการผลิตพืช
วรรณวิภา พินธะ 75 ปรับปรุงพันธุ์พืช เทคโนโลยี่เมล็ดพันธุ์
อ.ดร. ทิพรัตน์ ติฆะปัญญา 104 การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารและเครื่องสำอางจากข้าวอินทรีย์ การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารด้วยเทคโนโลยีการหมัก การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารด้วยเทคโนโลยีการทำแห้ง เทคโนโลยีการวิเคราะห์สารพิษตกค้างในพืชผัก
นางปราโมทย์ ทิมขำ 101 ด้านการจัดการดิน และปุ๋ยในพืชเศรษฐกิจ การเพาะเห็ด
รศ.ดร.สุภัค มหัทธนพรรค 75 การหาสาเหตุที่แท้จริงของการเกิดโรคผลแตกผลลาย และข้อมูลของพื้นที่การระบาดโรคพืชสำคัญในลำไย แมลงศัตรูลำไยในแหล่งปลูกที่สำคัญในการผลิตลำไยส่งออกในจังหวัดพะเยาเพื่อใช้เป็นข้อมูลในการเฝ้าระวังและหาแนวทางป้องกันกำจัดโรค
นายบรรจง อูปแก้ว 137 1. การอารักขาพืช การจัดการศัตรูพืชแบบปลอดภัยในสวนส้มสีทอง มะขาม มะม่วง ลำไย มะม่วงหิมพานต์ โกโก้ 2. เทคโนโลยีไม้ผลและไม้ดอก การจัดการด้านเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการผลิตส้มสีทอง มะขาม มะม่วง ลำไย มะม่วงหิมพานต์ โกโก้ 3. พืชผัก ผักพื้นบ้าน สมุนไพร พฤกษเคมีและภูมิปัญญาการใช้ประโยชน์จากความหลากหลายทางชีวภาพของพืชสมุนไพร พืชสมุนไพรพื้นบ้านที่สำคัญในพื้นที่ป่าชุมชน และการอนุรักษ์พันธุกรรมมันพื้นบ้าน 4. เทคโนโลยีด้านการออกแบบบรรจุภัณฑ์ ที่เหมาะสมกับสินค้าบนฐานอัตลักษณ์วิถีชีวิตของชุมชน 5. การท่องเที่ยว การพัฒนาเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศ การจัดการวิสาหกิจชุมชนเพื่อการท่องเที่ยว 6. การออกแบบภูมิทัศน์ การออกแบบและการบริหารจัดการทรัพยากรพิพิธภัณฑ์ชุมชน และการจัดการสิ่งแวดล้อม
ผศ.รัฐพงศ์ ปฏิกานัง 56 เครื่องอัดเม็ดอาหารปลา,จอบหมุนพรวนดิน,โรงเรือนปลูกพืชอัตโนมัติ
ดร.พุทธิพงษ์ หงษ์ทอง 100 การเพิ่มผลผลิตข้าว, ระบบการผลิตพืช, กระบวนการมีส่วนร่วม
ดร.สัญชัย รำเพยพัด 102 การทำความเย็น การอบแห้งและการเก็บรักษาพืชผักผลไม้รวมถึงสมุนไพร ความเชี่ยวชาญด้านการทำความเย็น การอบแห้ง และการเก็บรักษาพืชผัก ผลไม้รวมถึงสมุนไพร
ดร.สัญชัย รำเพยพัด 71 การทำความเย็น การอบแห้งและการเก็บรักษาพืชผักผลไม้รวมถึงสมุนไพร ความเชี่ยวชาญด้านการทำความเย็น การอบแห้ง และการเก็บรักษาพืชผัก ผลไม้รวมถึงสมุนไพร การพัฒนาผลิตภัณฑ์น้ำผลไม้ผสมสมุนไพรของวิสาหกิจชุมชนธนาคารต้นไม้บ้านเพชร จังหวัด ชัยภูมิ
นายอภิเดช บุญเจือ 100 การทำความเย็นและการปรับอากาศ และการเก็บรักษาพืชผักผลไม้รวมถึงสมุนไพร ความเชี่ยวชาญด้านการทำความเย็นและการปรับอากาศ และการเก็บรักษาพืชผัก ผลไม้รวมถึงสมุนไพร
ว่าที่ ร.ต.สมบูรณ์ ระดม 47 การผลิตสารสกัดชีวภาพเพื่อการผลิตพืชปลอดภัย
.ดร.ธิติ ทองคำงาม 112 การควบคุมศัตรูพืชในทุเรียนด้วยวิธีทางชีวภาพ
สุกฤตา อนุตระกูลชัย 67 การควบคุมศัตรูพืชในทุเรียนด้วยวิธีทางชีวภาพ
ผศ.ปฐมาภรณ์ ทิลารักษ์ 80 เพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช
ดร. จินดารัตน์ โตกมลธรรม 100 การพัฒนาผลิตภัณฑ์ประมง การพัฒนาอาหารท้องถิ่น และพืชผักพื้นบ้าน
อ.จิราพร โพธิ์งาม 38 มีความเชี่ยวชาญด้านการบริหารจัดการศัตรูพืช
ผศ.ดร.นิตยา วานิกร 79 เทคโนโลยีการเกษตร การบริการจัดการหลังการเก็บเกี่ยว การกำจัดศัตรูพืช
ดร.ปกรณ์ ประจวบวัน 89 เทคโนโลยีชีวภาพสำหรับพืชผัก
นางสาวศิริพร อ่ำทอง 90 1.การวินิจฉัยโรคพืช การควบคุมโรคพืชโดยชีววิธี 2.การเพาะเห็ด
รศ.ดร. ชิติ ศรีตนทิพย์ 88 สรีรวิทยาของไม้ผล เทคโนโลยีการผลิตและจัดการไม้ผล เทคโนโลยีการปลูกพืชโดยไม่ใช้ดินเทคโนโลยีพลาสม่าและไมโคร/นาโนบับเบิล
ผศ.พิทักษ์ พุทธวรชัย 79 เทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช การปรับปรุงพันธุ์ผัก และผักพื้นบ้าน
รศ.ดร.รุ่งนภา ช่างเจรจา 105 สรีรวิทยาและการปรับปรุงพันธุ์ไม้ดอกไม้ประดับ เทคโนโลยีชีวภาพทางพืช
ผศ.ดร.สาวิตร มีจุ้ย 84 การปรับปรุงพันธ์ สรีรวิทยาพืชไร่ (ข้าว ถั่ว)
นายชัยวัฒน์ พงศสุขุมาลกุล 102 การปรับปรุงพันธ์พืชผัก
ผศ.พงษ์ยุทธ นวลบุญเรือง 90 เทคโนโลยีชีวภาพทางด้านพืช
ผศ.ดร.วรรณวิไล อินทนู 69 การควบคุมโรคเหี่ยวที่เกิดจากแบคทีเรียในพืช การควบคุมโรคใบจุดใบไหม้
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อโนทัย วิงสระน้อย 97 - การบริหารจัดการศัตรูพืช - การควบคุมศัตรูพืชโดยชีววิธี - การผลิตชีวภัณฑ์ควบคุมศัตรูพืช - กีฏวิทยาทางการแพทย์/ปศุสัตว์ การจัดการศัตรูพืชกัญชาในระบบอินทรีย์ Insect Host Plant Relationship - นิเวศวิทยาเคมี(แมลง&พืช) - แมลงกินได้
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อโนทัย วิงสระน้อย 98 - การบริหารจัดการศัตรูพืช - การควบคุมศัตรูพืชโดยชีววิธี - การผลิตชีวภัณฑ์ควบคุมศัตรูพืช - กีฏวิทยาทางการแพทย์/ปศุสัตว์ การจัดการศัตรูพืชกัญชาในระบบอินทรีย์ Insect Host Plant Relationship - นิเวศวิทยาเคมี(แมลง&พืช) - แมลงกินได้
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อโนทัย วิงสระน้อย 109 - การบริหารจัดการศัตรูพืช - การควบคุมศัตรูพืชโดยชีววิธี - การผลิตชีวภัณฑ์ควบคุมศัตรูพืช - กีฏวิทยาทางการแพทย์/ปศุสัตว์ การจัดการศัตรูพืชกัญชาในระบบอินทรีย์ Insect Host Plant Relationship - นิเวศวิทยาเคมี(แมลง&พืช) - แมลงกินได้
ผศ.ดร.พัชราวดี วัฒนวิกย์กิจ 80 การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช
ผศ.ดร.วราพร วีระพลากร 72 เพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช
ผศ.ดร.ลินดา บุหงาเรือง 122 การใช้ประโยชน์จากพืชและสมุนไพร
อ.ดร.โกวิทย์ น้อยโคตร 124 การตรวจสอบชนิดของพืชและสัตว์ด้วยดีเอ็นเอ
ผศ.ดร.วสันต์ เพิงสูงเนิน 107 อนุกรมวิธานไลเคน, ราสาเหตุโรคพืช
อาจารย์ จิรเวฐน์ เพ็ชร์สุทธิ์ 88 ขยายพันธุ์พืช การผลิตผัก ไม้ดอกไม้ปรัดับ การแปรรูปพืชผักการผลิตเมล็ดพันธุ์ผัก
นายวินัฐ จิตรเกาะ 116 รวบรวม เก็บรักษา ทรัพยากรชีวภาพ จุลินทรีย์ พืช และสัตว์ พร้อมทั้งจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ
ดร.สุภาวดี แช่ม 83 1. การแปรรูปผลิตผลทางการเกษตร เช่น ผัก ผลไม้ ธัญพืชโดยเฉพาะด้าน แป้ง ข้าวและผลิตภัณฑ์ (อาหารและเครื่องดื่ม) 2. พัฒนารูปแบบและฉลากของบรรจุภัณฑ์
นางปาริชาติ ณ น่าน 89 1. เทคโนโลยีการผลิตและพัฒนาคุณภาพผัก-ผลไม้ธัญพืชและผลิตภัณฑ์ 2. เทคโนโลยีเนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์
ผศ.ดร. จิรภา พงษ์จันตา 83 1.เทคโนโลยีการผลิตและพัฒนาผลิตภัณฑ์จากธัญพืชและพืชหัว 2.การจัดการมาตรฐานและความปลอดภัยในการผลิตอาหารและเครื่องดื่ม
รศ.ดร.มาลี ตั้งระเบียบ 69 การควบคุมโรคและแมลงศัตรูพืชโดยชีววิธี
ผศ.พงษ์ยุทธ นวลบุญเรือง 97 เทคโนโลยีชีวภาพทางด้านพืช
นายชัยวัฒน์ พงศสุขุมาลกุล 98 การปรับปรุงพันธ์พืชผัก
รศ.ดร.รุ่งนภา ช่างเจรจา 91 สรีรวิทยาและการปรับปรุงพันธุ์ไม้ดอกไม้ประดับ เทคโนโลยีชีวภาพทางพืช
ผศ.พิทักษ์ พุทธวรชัย 89 เทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช การปรับปรุงพันธุ์ผัก และผักพื้นบ้าน
รศ.ดร. ชิติ ศรีตนทิพย์ 104 สรีรวิทยาของไม้ผล เทคโนโลยีการผลิตและจัดการไม้ผล เทคโนโลยีการปลูกพืชโดยไม่ใช้ดินเทคโนโลยีพลาสม่าและไมโคร/นาโนบับเบิล
นางสาวศิริพร อ่ำทอง 83 1.การวินิจฉัยโรคพืช การควบคุมโรคพืชโดยชีววิธี 2.การเพาะเห็ด
นายศักดา สุขวัฒนากร 84 เทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช
กาญจนา ธนนพคุณ 84 Biology, พฤกษศาสตร์ อนุกรมวิธานพืช , Plant taxonomy (Bryophytes), Plant taxonomy
นางสาวณัฐชญา สายคำวงศ์ 81 มีความเชี่ยวชาญด้านเมล็ดพันธุ์ และพืชไร่
นางสาวกาญจนา พิศาภาค 94 เทคโนโลยีการเกษตร -การศึกษาคุณสมบัติของสารต้านอนุมูลอิสระของพืช -การเตรียมและศึกษาสมบัติของถ่านกัมมันต์ที่ผลิตขึ้น จากวัสดุทางธรรมชาติ
ผศ.ดร.วิชนี มัธยม 82 -การศึกษาคุณสมบัติของสารต้านอนุมูลอิสระของพืช -การศึกษาสมบัติทางโครงสร้างและสมบัติทางอิเล็กทรอนิกส์ของวัสดุหรือโครงสร้างอื่นๆด้วยระเบียบวิธีทางเคมีคอมพิวเตอร์
สุพัตรา เจริญภักดี บดีรัฐ 104 fungal taxonomy, fungal diversity, การเพิ่มผลผลิตของพืชด้วยสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต, เทคโนโลยีชีวภาพ/ชีววิทยา, Agriculture
รศ.ดร.สมพงษ์ แสนเสนยา 137 1.ชีวเคมีของสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพ 2.กระบวนการสกัดสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพจากพืช 3.กลไกการยับยั้งเอนไซม์ก่อโรค
ดร.ศักยะ สมบัติไพรวัน 150 2553 - ผู้ช่วยสอนนักศึกษาปริญญาตรี รายวิชาปฐพีกลศาสตร์ สาขาวิชาวิศวกรรมเกษตร 2554-2555 - ผู้ช่วยวิจัย งานเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว ศึกษาความสามารถในการยืดอายุการเก็บรักษามะม่วงน้ำดอกไม้โดยใช้ถ่านกัมมันต์ดูดซับเอทิลีนในบรรจุภัณฑ์ระหว่างการขนส่ง 2558 - ผู้ช่วยสอนนักศึกษาปริญญาตรี รายวิชาจุลชีววิทยาอาหาร สาขาวิชาวิศวกรรมเกษตร 2563 - นักวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ ศูนย์อนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี 2564 - หัวหน้าโครงการการพัฒนาศักยภาพผลิตภัณฑ์ท้องถิ่นด้วยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม (12 ผลิตภัณฑ์) ภายใต้โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี - เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป หน่วยบริการวิชาการชุมชน เทคโนธานี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี 2564 - ผู้ช่วยวิจัยโครงการการตรวจสอบชนิดและปริมาณการปนเปื้อนของสารหนูด้วยเทคนิคขั้นสูงจากเครื่องกำเนิดแสงซินโครตรอน รหัสโครงการ PRP6205012260 สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์กรมหาชน) 2565 - นักวิจัยหลังปริญญาเอก สาขาวิชาเทคโนโลยีอาหาร ภายใต้สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี - คณะกรรมการดำเนินการคัดสรรสุดยอดหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ไทย ปี พ.ศ. 2565 จ. นครราชสีมา ตรวจสอบและกลั่นกรองผลิตภัณฑ์ประเภทสมุนไพรที่ไม่ใช่อาหาร (คำสั่งจังหวัดนครราชสีมา ที่ 4785/2565 ลงวันที่ 5 พฤษภาคม 2565) - ที่ปรึกษา/ผู้วิจัย กิจกรรมการสร้างผู้ประกอบการชุมชน (Local Startups) ประจำปี 2564 ภายใต้แผนงานส่งเสริมการนำนวัตกรรมไปใช้ประโยชน์ในพื้นที่เพื่อพัฒนาชุมชนและสังคม (Area based Innovation for Community) เทคโนธานี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี โครงการเลขที่ TN026/2565 เรื่อง การพัฒนาสูตรแชมพูสมุนไพรตามคุณค่าทางวิชาการและควบคุมคุณลักษณะให้ผ่านมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน (The evaluation of herbal shampoo according to the community product standards) วิสาหกิจชุมชนกลุ่มเกษตรกรรวมใจบ้านไกลเสนียด อ.ท่าตูม จ.สุรินทร์ - ที่ปรึกษา/ผู้วิจัย กิจกรรมการสร้างผู้ประกอบการชุมชน (Local Startups) ประจำปี 2564 ภายใต้แผนงานส่งเสริมการนำนวัตกรรมไปใช้ประโยชน์ในพื้นที่เพื่อพัฒนาชุมชนและสังคม (Area based Innovation for Community) เทคโนธานี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารีโครงการเลขที่ TN028/2565 เรื่อง การวัดสมบัติทางเคมี-กายภาพ สเปรย์บรรเทาอาการปวดและแมลงสัตว์กัดต่อยเพื่อทำมาตรฐานการผลิตและส่งเสริมการขาย ( A study of chemo-physical properties of pain and insect bites relief spray to standardize production and marketing campaigns) วิสาหกิจชุมชนแปรรูปสมุนไพรหนองสมอ อ.คง จ.นครราชสีมา - ผู้ช่วยวิจัย โครงการสำรวจความเป็นไปได้ในการใช้ประโยชน์จากของเสียในโรงงานผลิตไส้ กรอก (กู้คืนและปรับสภาพน้ำมันสำหรับใช้เป็นพลังงาน) โรงงานไส้กรอก อ.ขามทะเลสอ จ.นครราชสีมา
ผศ.ดร.วรรณวิไล อินทนู 61 การควบคุมโรคเหี่ยวที่เกิดจากแบคทีเรียในพืช การควบคุมโรคใบจุดใบไหม้ แอนแทรคโนสในพืช การควบคุมโรคแคงเกอร์ รากโคนเน่า(เชื้อรา)ในพืช
อาขารย์ชญานิน วังตาล 103 การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากการลงพื้นที่ในท้องถิ่น การทดลองพัฒนากระดาษจากพืชท้องถิ่น การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากกระดาษจากพืชท้องถิ่น การถ่ายทอดสู่ชุมชนเช่นการอบรมกลุมสตรีแม่บ้าน การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้ภูมิปัญญาของชุมชนสู่การถ่ายทอดในโรงเรียนโดยวิทยากรท้องถิ่นหรือปราชญ์ชุมชน
อาจารย์ วสา วงศ์สุขแสวง 79 ทรัพยากรพืช พืชศาสตร์และเทคโนโลยี งานฐานทรัพยากรท้องถิ่น(อพ.สธ.)
อาจารย์ ดร. อัจฉราวดี เครือภัคดี 79 ทรัพยากรพืช เทคโนโลยีการเกษตร ปฐพีวิทยา สิ่งแวดล้อมทางการเกษตร
อาจารย์ ดร.โสมนันทน์ ลิพันธ์ 91 ทรัพยากรพืช เทคโนโลยีการเกษตร สิ่งแวดล้อมทางการเกษตร
ผศ.ดรธีระ ธรรมวงษา 83 การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช
นางสาววิจิตรา อมรวิริยะชัย 100 1.การผลิตพืช -การขยายพันธุ์พืช -การผลิตปุ๋ยหมักชีวภาพและสารชีวภัณฑ์ 2.การพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน -การเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ -การวิเคราะห์ตลาดและแผนธุรกิจ -การพัฒนาบรรจุภัณฑ์ 3.การทำงานวิจัยเชิงพื้นที่ปฏิบัติการชุมชน -การจัดเวทีการประชุมโดยการมีส่วนร่วม -การดำเนินการโครงการด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม -การจัดกระบวนการถอดบทเรียน
ดร.พท.พิรุณรัตน์ แซ่ลิ้ม 91 1.เภสัชเวทและเภสัชพฤกษศาสตร์ การสกัดสารสำคัญจากสมุนไพร การแยกสารสำคัญ การควบคุมคุณภาพ การศึกษาความคงตัวของสารและผลิตภัณฑ์ การวิเคราะห์ปริมาณสารสำคัญในพืชสมุนไพร การศึกษาฤทธิ์ ทางเภสัชวิทยาของสมุนไพร การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากสมุนไพร การศึกษาการต้านเซลล์มะเร็ง การศึกษาฤทธิ์แก้ปวดแก้อักเสบ
ดร.พท.ยมล พิทักษ์ภาวศุทธิ 86 1.เภสัชเวทและเภสัชพฤกษศาสตร์ การจัดทำมาตรฐานของสมุนไพร การสกัดสารสำคัญจากสมุนไพร การแยกสารสำคัญ การวิเคราะห์ปริมาณสารสำคัญในพืชสมุนไพร การศึกษาฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาของสมุนไพร
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. พยุงศักดิ์ ตันติไพบูลย์วงศ์ 81 ชีวเคมี ด้านการสกัดสารสำคัญในพืช
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. พยุงศักดิ์ ตันติไพบูลย์วงศ์ 68 ชีวเคมี ด้านการสกัดสารสำคัญในพืช
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุภาพร ภัสสร 85 เทคโนโลยีชีวภาพด้านเชื้อรา ชีวเคมีทางด้านการสังเคราะห์ลิปิด และ สารทุติยภูมิในพืช
อ.ดร. ทิพรัตน์ ติฆะปัญญา 116 การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารและเครื่องสำอางจากข้าวอินทรีย์ การพัมนาผลิตภัณฑ์อาหารด้วยเทคโนโลยีการหมัก การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารด้วยเทคโนโลยีการทำแห้ง เทคโนโลยีการวิเคราะห์สารพิษตกค้างในพืชผัก
ผศ.ดร.ชวโรจน์ ใจสิน 104 ระบบให้แสงแอลอีดีเพราะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช (LED lighting system for plant tissue culture)
นายสมพงษ์ สุปะมา 63 การใช้จุลินทรีย์เพื่อผลิตพืชแบบเกษตรอินทรีย์ และการพัฒนาแหล่งน้ำ
นายพัฒนา ภาสอน 80 การปลูกพืชผักสวนครัว การปรับแต่งพันธุกรรมพืช
ผศ.ดร.สุดารัตน์ ถนนแก้ว 111 การสกัดสมุนไพร ความหลากหลายทางชีวภาพ พันธุกรรมพืช
นางพนิดา เหล่าทองสาร 102 ความหลากหลายทางชีวภาพและพันธุกรรมพืชและสัตว์
ผศ.ดร.ธีระ ธรรมวงศา 74 การอารักขาพืช
ผศ.ทรงทรัพย์ อรุณกมล 97 ทคโนโลยีการเลี้ยงปลา การปลูกพืชไร้ดิน
อาจารย์ ดร.ณัฐพร จิระวัฒนาสมกุล 88 การผลิตสารสกัดจากพืช
ผศ.ดร.วุฒิชัย รสชาติ 99 1.นวัตกรรมพลังงานของชุมชน 2.ผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ จากพืชน้ำมัน 3.ตัวเร่งปฏิกิริยาและการเร่งปฏิกิริยาวิวิธพันธ์ 4. เคมีพื้นผิว การดูดซับ และตัวดูดซับ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ทวีทรัพย์ ไชยรักษ์ 96 ความอุดมสมบูรณ์ของดิน การผลิตปุ๋ยอินทรีย์ การผลิตพืช
ผศ.วิภาดา มุนินทร์นพมาศ 95 ดำเนินการโครงการกับวว และสปอว.ตั้งแต่ปี 2560-2566 อย่างต่อเนื่องจนถึงปัจจุบันโดยทำการพัฒนาและยกระดับกลุ่มวิสาหกิจชุมชนในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนใต้ต้านต่าง ๆ ดังนี้ 1.ด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์ - ปี 2560 พัฒนาผลิตภัณฑ์ส้มแขกสามรส น้ำส้มแขกเข้มข้น และน้ำพริกเผาส้มแขก ให้กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรบ้านท่าสาป เลขที่ 79 บ้าน ท่าสาป อ.เมือง จ.ยะลา 95000 (สนับสนุนโดยสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ;วว.) - ปี 2561 การพัฒนาผลิตภัณฑ์ขนมรังผึ้งและวาฟเฟิล ให้นายองอาจ สายวารี ที่อยู่ บ้านเลขที่ 54 ถนน อนุสรณ์มหาราช ตำบล สะเตง อำเภอเมือง จังหวัดยะลา 95000 โทรศัพท์ 093-6808573 (สนับสนุนโดยสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ;วว.) - ปี 2562 พัฒนาผลิตภัณฑ์ข้าวแต๋นหน้ากล้วยหินตากเคลือบช็อกโกแลต กลุ่มสตรีบ้านเงาะกาโปร์ บ้านเลขที่ 63/1 ถนน สุขยางค์ ตำบล บันนังสตา อำเภอ นันนังสตา จังหวัดยะลา 95130 (สนับสนุนโดยคูปองวิทย์ ปี 2562) -ปี 2564 พัฒนาผลิตภัณฑ์เปลือกมะนาวสามรสให้กับกลุ่มวิสาหกิจชุมชนกลุ่มมะนาวสร้างตนเอง อ.โคกโพธิ์ จ.ปัตตานี (สนับสนุนโดยคูปองวิทย์เพื่อโอทอป ปี 64) - ปี 2564 พัฒนาผลิตภัณฑ์น้ำลองกองผสมน้ำอัญชันเสริมคอลลาเจนแคลลอรี่ต่ำและลองกองหยีให้กับกลุ่มวิสาหกิจแปรรูปผลไม้บ้านเชิงเขา อ.บาเจาะ จ.นราธิวาส (สนับสนุนโดยคูปองวิทย์เพื่อโอทอป ปี 64) - ปี 2566 การพัฒนาผลิตภัณฑ์แกงไตปลาแห้งและน้ำพริกแกงไตปลาเจเพื่อส่งเสริมการตลาดให้กับกลุ่มวิสาหกิจชุมชนน้ำพริกแม่ผัว อ.เมือง จ.ยะลา (สนับสนุนโดยสปอว.2566) 2.พัฒนาฉลากและบรรจุภัณฑ์ - ปี 2560 การพัฒนาบรรจุภัณฑ์ผลิตภัณฑ์ธัญพืชบด กลุ่มแปรรูปผลิตภัณฑ์การเกษตร ตำบลตาชี อำเภอยะหา จังหวัดยะลา (สนับสนุนโดยสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ;วว.) - ปี 2561 การพัฒนาฉลากและบรรจุภัณฑ์ผลิตภัณฑ์ขนมรังผึ้งและวาฟเฟิล ให้นายองอาจ สายวารี ที่อยู่ บ้านเลขที่ 54 ถนน อนุสรณ์มหาราช ตำบล สะเตง อำเภอเมือง จังหวัดยะลา 95000 โทรศัพท์ 093-6808573 (สนับสนุนโดยสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ;วว.) -ปี 2464 พัฒนาฉลากและบรรจุภัณฑ์ผลิตภัณฑ์เปลือกมะนาวสามรสให้กับกลุ่มวิสาหกิจชุมชนกลุ่มมะนาวสร้างตนเอง อ.โคกโพธิ์ จ.ปัตตานี (สนับสนุนโดยคูปองวิทย์เพื่อโอทอป ปี 64) - ปี 2564 3.พัฒนามาตรฐาน - ปี 2560 ขอมาตรฐานอย.จนได้รับรองมาตรฐานให้กับผลิตภัณฑ์ธัญพืชบด กลุ่มแปรรูปผลิตภัณฑ์การเกษตร ตำบลตาชี อำเภอยะหา จังหวัดยะลา (สนับสนุนโดยสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ;วว.) - ปี 2562 ขอมาตรฐานอย.อาคารผลิตจนได้รับรองมาตรฐานในผลิตภัณฑ์ข้าวแต๋นหน้ากล้วยหินตากเคลือบช็อกโกแลต กลุ่มสตรีบ้านเงาะกาโปร์ บ้านเลขที่ 63/1 ถนน สุขยางค์ ตำบล บันนังสตา อำเภอ นันนังสตา จังหวัดยะลา 95130 (สนับสนุนโดยคูปองวิทย์ ปี 2562) - ปี 2565 ขอมาตรฐานอย.จนได้รับรองมาตรฐาน อาคารผลิต ผลิตภัณฑ์มะนาวสามรส ผลิตภัณฑ์น้ำมะนาวผสมน้ำผึ้งบรรจุขวดให้กับกลุ่มวิสาหกิจชุมชนกลุ่มมะนาวสร้างตนเอง อ.โคกโพธิ์ จ.ปัตตานี (สนับสนุนโดยคูปองวิทย์เพื่อโอทอป ปี 2565) 4.พัฒนากระบวนการผลิต - ปี 2565 พัฒนากระบวนการผลิตน้ำมะนาวผสมน้ำผึ้งบรรจุขวดให้กับกลุ่มวิสาหกิจชุมชนมะนาวสร้างตนเอง 16/5 บ้านโพธิ์ หมู่ 2 ถนนเพรชเกษม ต.มะกรูด อ.โคกโพธิ์ จ.ปัตตานี (สนับสนุนโดยคูปองวิทย์เพื่อโอทอป ปี 65)
รศ.ดร.ดวงใจ บุญกุศล 103 การแปรรูปผลิตภัณฑ์เทมเป้โปรตีนธัญพืช
ดร.วิจิตรา โหราเรือง 77 พันธุวิศวกรรม, เซลล์และชีววิทยาโมเลกุล, เทคโนโลยีชีวภาพ, สรีรวิทยาพืช
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.รัชนี บัวระภา 101 พืชอาหารสัตว์ การผลิตสัตว์เคี้ยวเอื้องขนาดเล็ก
พาตีเมาะ อาแยกาจิ 99 การสำรวจ ศึกษา วิจัยด้านความหลากหลายทางชีวภาพของพืช
ดร.ศักดิ์ชัย ดรดี 64 ระบบลำเลียงพืชผลทางการเกษตร
นางสาวจินตนา จำนงค์ศรี 70 การขยายพันธุ์พืช การขยายจุลินทรีย์ EM การทำปุ๋ยหมัก
ซูไบดี โตะโมะ 107 มีประสบการณ์ด้านการวิจัยเกี่ยวกับพืชพื้นบ้าน,พืชสมุนไพร,ข้าวพื้นเมือง รวมถึงงานวิจัยด้านความหลากหลายทางชีวภาพ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2566-ปัจจุบัน จากประสบการณ์ดังกล่าว สามารถสร้างองค์ความรู้ในรูปแบบสื่อปประเภทต่างๆ เช่น หนังสือ คู่มือการเรียนรุ้ โปสเตอร์องค์ความรู้ มากกว่า 20 เรื่อง
รศ.ดร.เทียมหทัย ชูพันธ์ 85 เทคโนโลยีชีววิทยา พืช
ดร.เกียรติสุดา เหลืองวิลัย 86 1.ชีววิทยา สรีรวิทยาและชีวเคมีของผลิตผลทางพืชสวนหลังการเก็บเกี่ยว 2.การควบคุมคาร์เมตาบอลึซึมของคาร์โบไฮเดรตในพืช เช่น เมตาบอลึซึมของแป้งและน้ำตาล 3.เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวเพื่อยืดอายุ และรักษาคุณภาพของผลผลิตพืชสวน เน้น ผัก ผลไม้ และไม้ดอก ที่ปลูกในเขตร้อน (tropical) และเขตกึ่งร้อน (sub-tropical)
ดร.เนตรนภิส เขียวขำ 87 Postharvest Pathology, Phytochemical โรคภายหลังการเก็บเกี่ยว, การใช้สารสกัดจากพืชเพื่อควบคุมโรค
ดร.อัณณ์ชญาน์ มงคลชัยพฤกษ์ 62 1. พัฒนาผลิตภัณฑ์ส่งเสริมการเจริญของพืชจากแบคทีเรียทนเค็มและการทดสอบประสิทธิภาพการส่งเสริมการเจริญของพืชตระกูล Solanaceae ในระดับแปลงปลูก 2. ศึกษาถึงการแสดงออกของยีน Ethylene Response Factors (ERF) ในการควบคุมเสื่อมสภาพของดอกกล้วยไม้สกุลหวายพันธุ์ขาวสนานในระดับการถอดรหัสของยีน 3. การจัดการหลังการเก็บเกี่ยวและการบรรจุภัณฑ์เพื่อควบคุมคุณภาพของผลิตผลและชิ้นผลิตผลตัดแต่งพร้อมบริโภคของพืชเศรษฐกิจบางชนิด 4. พัฒนาศักยภาพของทรัพยากรแบคทีเรียทนเค็มกลุ่มที่สร้างสาร indole-3-acetic acid (IAA) และสารควบคุมราก่อโรคเพื่อการใช้ประโยชน์ในการส่งเสริมการปลูกและคุณภาพของมะเขือเทศหลังการเก็บเกี่ยว
ดร.ธนาทร สวยเสวย 66 เทคโนโลยีชีวภาพของพืช,ผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ
ดร.ณัฐชัย พงษ์ประเสริฐ 82 Micro-nano bubbles Technology, การปลูกพืชในระบบ Plant factory, เทคโนโลยีการผลิตต้นอ่อนพืชในระบบปิด
ดร.ทรงศิลป์ พจน์ชนะชัย 75 เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวเมล็ดพันธุ์พืช และเมล็ดพืชอาหาร
ดร.สมพร เกษแก้ว 80 อันดับ 1 การศึกษาคุณลักษณะโครงสร้างและหน้าที่ของโปรตีน เอนไซม์ เปปไทด์ การศึกษา พัฒนาองค์ความรู้และนวัตกรรมด้านพลังงานและเวชสำอางจากพืช อันดับ 2 พลังงานชีวมวล
ดร.รัติยา พงศ์พิสุทธา 84 1. อนุกรมวิธานของเชื้อราและชีวโมเลกุล , 2. ความหลากหลายของเชื้อราสาเหตุโรคพืช , 3. เชื้อราที่เป็นสาเหตุของโรคพืชหลังการเก็บเกี่ยว
ดร.ชัยณรงค์ รัตนกรีฑากุล 86 1. ความสัมพันธ์ของพืชและเชื้อราสาเหตุโรคพืช , 2. การจัดการโรค และการใช้สารเคมี
ดร.เนตรนภิส เขียวขำ 86 Postharvest Pathology, Phytochemical โรคภายหลังการเก็บเกี่ยว, การใช้สารสกัดจากพืชเพื่อควบคุมโรค
ดร.เกียรติสุดา เหลืองวิลัย 68 1.ชีววิทยา สรีรวิทยาและชีวเคมีของผลิตผลทางพืชสวนหลังการเก็บเกี่ยว , 2.การควบคุมคาร์เมตาบอลึซึมของคาร์โบไฮเดรตในพืช เช่น เมตาบอลึซึมของแป้งและน้ำตาล , 3.เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวเพื่อยืดอายุ และรักษาคุณภาพของผลผลิตพืชสวน เน้น ผัก ผลไม้ และไม้ดอก ที่ปลูกในเขตร้อน (tropical) และเขตกึ่งร้อน (sub-tropical)
ดร.กันตา แสงวิจิตร 93 ฟิสิกส์นวัตกรรมด้วยลำแสงไอออน/พลาสมาสำหรับการปรับปรุงพันธ์พืช/แบคทีเรียเพื่อเพิ่มผลผลิตโคนมและโคเนื้อ
ผศ.ดร.สุกัญญา สืบแสน 78 Plant Biotechnology/ฟิสิกส์นวัตกรรมด้วยลำแสงไอออน/พลาสมาสำหรับการปรับปรุงพันธ์พืช/แบคทีเรียเพื่อเพิ่มผลผลิตโคนมและโคเนื้อ
ธรรมศาสตร์ จันทรัตน์ 92 การผลิตชีวภัณฑ์ควบคุมข้าวศัตรูพืช, Zero Waste, การสร้างมูลค่า
ผศ.ดร. สมพร ศรีวัฒนพล 81 การออกแบบวงจรอิเล็กทรอนิกส์ในกลุ่มโลจิสติก การวางระบบเซนเซอร์สำหรับวัสดุพืชผลเกษตรกรรม
กาญจนวรรณ สีทอง 71 การวิเคราะห์ดิน การวิเคราะห์น้ำ การใช้พืชบำบัดน้ำเสีย
ดร.วิวรรธน์ แก่นสา 72 การแปรรูปพืชผลทางการเกษตร สัตว์ ผลไม้ ฯลฯ
อาจารย์พีรพันธ์ ทองเปลว 49 มีความเชี่ยวชาญด้านพืชไร่ และเมล็ดพันธุ์
อาจารย์พรวิภา สะนะวงศ์ 59 มีความเชี่ยวชาญด้านเมล็ดพันธุ์ และพืชไร่
นายดำรงค์ศักดิ์ สุวรรณศรี 51 มีความเชี่ยวชาญด้านการผลิตพืชไร่
อาจารย์ ดร.นิอร งานฮุย 42 สรีรวิทยาพืช เทคโนโลยีเมล็ดพันธุ์ การผลิตพืชอินทรีย์ เทคโนโลยีการผลิตข้าว
ผศ.นฤมลวรรณ สุขไมตร 48 การแปรรูปผลิตภัณฑ์พืชสมุนไพรเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม
นางสาวกชพร คำล่ำ 20 พืชไร่
อาจารย์อรณิช คำยง 37 มีความเชี่ยวชาญทางด้านไม้ดอกไม้ประดับ พืชผัก และการเพราะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
ดร.สุณิษา คงทอง 32 การพัฒนาผลิตภัณฑ์ต้นแบบสารเสริมอาหารจากพืชกระท่อมชนิดผงไมโครแกรนูลต่อการส่งเสริมการเจริญเติบโตและสุขภาพลำไส้ในไก่เนื้อ
อ.สพ.ญ.ภรณ์ทิพย์ ทองมณี 33 พืชอาหารสัตว์ คุณค่าทางโภชนะ
ผศ.ดร. ปิยนุช คะเณมา 43 ชีวภาพ ชีววิทยา วิเคราะห์สารในพืช
รศ.ดร.จิตรลดา วิชาผง 29 การตรวจวิเคราะห์สารเคมีกำจัดศัตรูพืช เคมีวิเคราะห์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุภาพร ภัสสร 32 เทคโนโลยีชีวภาพด้านเชื้อรา ชีวเคมีทางด้านการสังเคราะห์ลิปิด และ สารทุติยภูมิในพืช
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุมนา เหลืองฐิติกาญจนา 30 ชีววิทยาโมเลกุลของพืช การเพาะเลี้ยงและการเปลี่ยนแปลงของเนื้อเยื่อพืช การดูดซึมธาตุอาหารพืช)
อาจารย์ ดร.นิราณี บือราเฮง 26 การผลิตการดูแลพืชผัก/การผลิตต้นอ่อนพืช การเพาะกล้าและขยายพันธุ์พืช
ผศ.ดร.ศุภัครชา อภิรติกร 29 สรีรวิทยาพืชยืนต้นและไม้ผล
ผศ.ดร.วนิดา เพ็ชร์ลมุล 37 การจัดการศัตรูพืชโดยชีววิธี
ดร.ภาคภูมิ สืบนุการณ์ 14 พืชสวน เพื่อสภาวะเเวดล้อม
นายรักเกียรติ แสนประเสริฐ 19 พืชศาสตร์
ผศ.ดร.ทินน์ พรหมโชติ 14 พืชศาสตร์
ดร.นิมมานรดี พรหมทอง 23 พืชสวน , พืชศาสตร์