ผศ.ว่าที่พันตรีดำรงค์ โลหะลักษณาเดช 127 -การขอรับรองมาตรฐานฟาร์มสัตว์น้ำ - GMP - HACCP - การประเมินคุณภาพทางประสาทสัมผัสและการทดสอบผู้บริโภค - Food Defense การป้องกันการก่อการร้าย การกลั่นแกล้ง การก่ออาชญากรรมทางอาหาร -Food Packaging -ฉลากโภชนาการและการใช้ Healthing Logo
ผศ.ณัฐณิชา ทวีแสง 113 1. การแปรรูปและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร 2. เทคโนโลยีเนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์ 3. การประเมินคุณภาพทางประสาทสัมผัส (Sensory evaluation)
ดร.การัณย์ พรหมเทพ 122 - จุลชีววิทยาทางอาหาร - เทคโนโลยีอาหารหมัก - การแปรรูปและถนอมอาหารโดยเชื้อจุลินทรีย์
นายมูฮำหมัดตายุดิน บาฮะคีรี 111 มีความรู้ในเรื่อง พฤกษศาสตร์ เป็นสาขาวิชาหนึ่งของชีววิทยาที่ศึกษาเกี่ยวกับโครงสร้างพืช ส่วนประกอบหน้าที่ของเซลล์ ราก ลำต้น ใบ ดอก ผล และเมล็ด และกระบวนการต่าง ๆ เพื่อการดำรงชีพของพืช
นางสาวพาตีเมาะ อาแยกาจิ 106 1. ขึ้นทะเบียนทรัพย์สินทางปัญญาประเภท ลิขสิทธิ์ อนุสิทธิบัตร และสิทธิบัตรการออกแบบ 2.ร่างคำขออนุสิทธิบัตร สิทธิบัตร และสิทธิบัตรการออกแบบ(รายละเอียดผลงาน ข้อถือสิทธิ์) 3.ประเมินมูลค่าทรัพย์สินทางปัญญา 4.การออกแบบเครื่องหมายการค้าเพื่อขอรับการคุ้มครอง
นางสาวนัสรี มะแน 95 1. ขึ้นทะเบียนทรัพย์สินทางปัญญาประเภท ลิขสิทธิ์ อนุสิทธิบัตร และสิทธิบัตรการออกแบบ 2.ร่างคำขออนุสิทธิบัตร สิทธิบัตร และสิทธิบัตรการออกแบบ(รายละเอียดผลงาน ข้อถือสิทธิ์) 3.ประเมินมูลค่าทรัพย์สินทางปัญญา 4.การออกแบบเครื่องหมายการค้าเพื่อขอรับการคุ้มครอง
นายสัญชัย รำเพยพัด 105 เตาเผาถ่านอุตสาหกรรม สามารถเผาถ่านไม้ด้วยปริมาณมากๆในครั้งเดียวด้วยเวลาอันสั้น ละได้ถ่านที่มีคุณภาพสูงด้วยการเผาภายใต้อุณหภูมิสูง และระบบน้ำบาดาลเพื่อการเกษตรด้วยพลังงานแสงอาทิตย์
อาจารย์ธนพล กิจพจน์ 135 การพัฒนาผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรการ แปรรูปจากผลิตผลทางเกษตรทั้งที่เป็นอาหารและไม่ใช่อาหาร การวางแผนการทดลองทางอุตสาหกรรมเกษตร การประมวลผลโดยใช้โปรแกรมทางสถิติ ประเมินคุณภาพทางประสาทสัมผัส
อาจารย์ญาณิศา จินดาหลวง 100 การพัฒนาผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเกษตร เพื่อการสร้างมูลค่าเพิ่มและตอบสนองความต้องการของตลาด การแปรรูปผลิตผลทางการเกษตร การประเมินคุณภาพของผลิตภัณฑ์ทางด้านกายภาพเคมีจุลินทรีย์ประสาทสัมผัสและการยอมรับของผู้บริโภค มาตรฐานและความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์
อาจารย์ ดร.สรวิศ สอนสารี 124 วิจัยและพัฒนา, วิศวกรรมคอมพิวเตอร์/วิศวกรรมระบบ, วิศวกรรมเครื่องกล, พลังงานความร้อนจากแสงอาทิตย์ (Solar Thermal) , การเปลี่ยนรูปพลังงาน (Energy Conversion), System Analysis and Design, พลังงานทดแทน เน้นทางด้านแสงอาทิตย์ และชีวมวล
ผศ.ดร.นิชาวดี ตานีเห็ง 118 พัฒนาผลิตภัณฑ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น ออกแบบบรรจุภัณฑ์ การตลาดผลิตภัณฑ์ชุมชน
นายภาณุศักดิ์ มูลศรี 92 ออกแบบระบบผลิตน้ำร้อนพลังงานแสงอาทิตย์
นายอภิเดช บุญเจือ 93 1. เครื่องทำน้ำร้อนจากพลังงานแสงอาทิตย์ 2. ระบบระบายอากาศ
อาจารย์วรชัย ศรีเมือง 96 การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยข้อมูลขนาดใหญ่(Big Data) เทคนิคการวิเคราะห์ด้วยโครงข่ายประสาทเทียม
ดร.ณัฏฐ์ สิริวรรธนานนท์ 106 การพัฒนาและออกแบบเครื่องจักร - การออกแบบเครื่องจักรระบบอัตโนมัติ - การพัฒนาตู้อบพลังงานแสงอาทิตย์ - การพัฒนาและออกแบบเครื่องจักร การออกแบบบรรจุภัณฑ์
ผศ.ดร.ปกรณ์เกียรติ์ เศวตเมธิกุล 97 ระบบไฟฟ้ากำลัง พลังงานแสงอาทิตย์ มอเตอร์และระบบขับเคลื่อน อิเล็กทรอนิกส์กำลัง
ผศ.ดร.ปรรฐมาศ์ พสิษฐ์ภคกุล 114 วิถีชีวิตชุมชน, ศิลปวัฒนธรรม, ภูมิปัญญาท้องถิ่น
ผศ.ดร.นริส ประทินทอง 105 พลังงานทดแทน พลังงานแสงอาทิตย์ อนุรักษ์พลังงาน
สูนฤต เงินส่งเสริม 146 ประวัติศาสตร์และการออกแบบเฟอร์นิเจอร์ พัฒนาการของรูปแบบเครื่องเรือนลอยตัวชนิดสำเร็จรูปภายในอาคารพักอาศัยในประเทศไทย พ.ศ.2538-2548 การออกแบบเฟอร์นิเจอร์ม้านั่งบนบาทวิถีกรุงเทพจากเศษวัสดุกิ่งไม้
นางสาวอิศกฤตา โลหพรหม 139 การศึกษาความเหมาะสมเชื้อเพลิงอัดเม็ดจากกะลามะพร้าวและเปลือกมะพร้าว การศึกษาประสิทธิภาพของระบบปรับอากาศแบบแยกส่วนร่วมกับพลังงานความร้อนทิ้งเหลือใช้ ปัจจัยที่มีผลต่อการผลิตแก๊สไฮโดรเจนโดยใช้ระบบผลิตไฟฟ้าและน้ำร้อนร่วมพลังงานแสงอาทิตย์ สาขาพลังงาน-พลังงานทดแทน สาขาวิศวกรรมศาสตร์-วิศวกรรมเครื่องกล
ผศ.ดร.สุริยาพร นิพรรัมย์ 88 มีความเชี่ยวชาญด้านการแปรรูปสินค้าทางการเกษตร
นายทนงศักดิ์ น้อยคง 86 มีความเชี่ยวชาญด้านวิศกรรมไฟฟ้า การเดินสายไฟในอาคาร พลังงานแสงอาทิตย์
นางสาวดวงฤทัย แก้วคำ 122 การตลาด การสื่อสารการตลาด และการตลาดออนไลน์ การบูรณาการระหว่างการสื่อสารการตลาดกับการพัฒนาบรรจุภัณฑ์ เพื่อบอกเล่าเรื่องราว (Story telling) ของผลิตภัณฑ์ผ่านบรรจุภัณฑ์ เพื่อสร้างเอกลักษณ์ให้กับผลิตภัณฑ์ สร้างคุณค่าทางจิตใจให้กับผู้บริโภค และสร้างมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจให้กับผู้ประกอบการ
ดร.สุพรรณิการ์ ศรีบัวทอง 119 จุลชีววิทยาทางอาหาร การจัดการด้านความปลอดภัยอาหาร โพรไบโอติก อาหารหมัก
ผศ.ดร.น้อมจิตต์ สุธีบุตร 113 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอาหาร การแปรรูปอาหาร การควบคุมและประกันคุณภาพอาหาร เทคโนโลยีการหมัก จุลชีววิทยาทางอาหาร
ผู้ช่วยศาสตราจารย์จิรพัฒน์ นาวารัตน์ 98 กายภาพบำบัดทางระบบประสาท การฟื้นฟูสภาพผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง การสร้างและพัฒนาแบบประเมิน การควบคุมการทรงตัวในผู้สูงอายุ
อาจารย์สุนทร บุญแก้ว 103 การพัฒนาทุนมนุษย์ การเรียนรู้แบบบูรณาการทำงาน และการจัดการการต้อนรับ
นายวิชัย นระมาตย์ 105 สาขาวิชาที่มีความชํานาญพิเศษ -เทคโนโลยีการสื่อสาร -เทคโนโลยีไฟฟ้า -เทคโนโลยีระบบเซ็นเซอร์ -เทคโนโลยีพลังงานเซลล์แสงอาทิตย์ -เทคโนโลยีระบบการให้น้ำ
อ.กฤตชัย บุญศิวนนท 34 การพัฒนาโรงเรือนเกษตรอัจฉริยะด้วยเทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตย์
อ.กฤตชัย บุญศิวนนท 97 การพัฒนาโรงเรือนเกษตรอัจฉริยะด้วยเทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตย์
อาจารย์เปรมชัย มูลหล้า 121 1.วิศวกรรมอุตสาหการ (การศึกษาการทำงาน, การควบคุมคุณภาพ, การเพิ่มผลผลิต, เศรษฐศาสตร์วิศวกรรม, การออกแบบและวางผังโรงงาน, การวางแผนและควบคุมการผลิต, การศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ, การบำรุงรักษาทางวิศวกรรม) 2.เทคโนโลยีสะอาด (Cleaner Technology), กระบวนการผลิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Production) 3.การออกแบบและพัฒนาเครื่องจักร, อุปกรณ์ช่วยในกระบวนการผลิต, การพัฒนาวิสาหกิจชุมชน
ผศ.ดร.นครินทร์ พัฒนบุญมี 100 ขบวนการทางการฉายรังสีลงบนโพลีเมอร์เพื่อย่อยสลาย ผลิตผลทางการเกษตร สารหรือวัสดุอินทรีย์ พลังงานทดแทน พลังงานแสงอาทิตย์ อนุรักษ์พลังงาน
ผู้ช่วยศาสตราจารย์จุฑาทิพย์ อาจชมภู 117 การผลิตสีจากธรรมชาติโดยใช้ได้กับผ้าทุกชนิดติดทนปลอดภัย ประหยัดต้นทุน รวมไปถึงผลิตภัณฑ์ของใช้ต่างๆที่ต้องการสีจากธรรมชาติ
อาจารย์นิสิต องอาจ 99 ระบบไฟฟ้า ระบบพลังงานแสงอาทิตย์ เทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อนนท์ นำอิน 144 1. ระบบส่งกำลังไฟฟ้าไร้สายแบบเหนี่ยวนำ (Inductive Wireless Power Transfer) 2. ระบบอัดประจุแบตเตอรี่ยานยนต์ไฟฟ้าไร้สายแบบเหนี่ยวนำ (Wireless EV Charging System) 3. เครื่องจำลองแสงอาทิตย์ชนิดไดโอดเปล่งแสงสำหรับทดสอบเซลล์แสงอาทิตย์ (LED Solar Simulator for PV Testing) 4. การออกแบบระบบการสอนวิศวกรรมไฟฟ้า (Electrical Engineering Instructional System Design)
นางสาวณฐมน ทรัพย์บุญโต 112 1. การตลาดออนไลน์ 2.เทคนิคการถ่ายรูป การตัดต่อคลิป รูปภาพและวีดีโอ การทำสื่อ การตกแต่งรูปภาพผลิตภัณฑ์ และการสร้างโลโก้ผลิตภัณฑ์ เพื่อการขายสินค้าผ่านช่างทางออนไลน์และออฟไลน์ 3. การตลาดและการพัฒนาผลิตภัณฑ์ 4. ที่ปรึกษาทางการตลาดออนไลน์ ด้านการตลาด ด้านธุรกิจ และด้านเทคโนโลยีทางการตลาด
นายกล้าณรงค์ ข่วงบุญ 104 การจัดออกแบบว่างผังแปลงปลูกพืช การออกแบระบบน้ำสำหรับแปลงปลูกพืช ระบบน้ำอัจฉริยะ การใช้เทคโนโลยีเหนี่ยวนำการเป็นสัดในโค ระบบโซล่าเซลล์พลังงานแสงอาทิตย์
ดร.วิลาสินี บุญธรรม 149 เทคโนโลยีในการทอและพัฒนาลายผ้า เทคโนโลยีการตัดเย็บและแปรรูปเพื่อเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ผ้าทอมือ เทคโนโลยีในการพัฒนาคุณภาพวัตถุดิบ
อ.ดร.ณัฐวุฒิ ดอนลาว 118 1. การปรับปรุงกระบวนการผลิตเพื่อยกระดับคุณภาพผลิตภัณฑ์ / ลดต้นทุนในการผลิต / ยืดอายุการเก็บรักษา / รักษาคุณค่าทางโภชนาการของผลิตภัณฑ์ 2. กระบวนการผลิตชา อาหารเพื่อสุขภาพ อาหารทางเลือก 3. การปรับปรุงกระบวนการผลิต การเลือกใช้เครื่องจักรในกระบวนการผลิต 4. การอบแห้งอาหาร
ผศ.ดร.จิรัฎฐ์ ศิริเมืองมูล 109 1.การวิเคราะห์ปัญหาที่เกิดขึ้นในกระบวนการผลิตอาหารและเครื่องดื่มเพื่อนำไปสู่แนวทางการแก้ไข 2.ประเมินการยอมรับของผู้บริโภคที่มีต่อผลิตภัณฑ์ ด้วยการทดสอบทางประสาทสัมผัส รวมทั้งการวิเคราะห์พฤติกรรมของผู้บริโภคด้วยการเชื่อมโยงกับหลักการตลาด 3.การพัฒนาต่อยอดจากผลิตภัณฑ์เดิม และนำของเหลือใช้จากการเกษตรมาพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ใหม่ เพื่อที่สอดคล้องกับความต้องการของผู้บริโภค หรือสามารถยืดอายุเก็บรักษาได้นานขึ้น
นางจิตตะวัน กุโบลา 100 การแปรรูปอาหาร และการแปรรูปสมุนไพร เพื่อยืดระยะเวลาการจำหน่าย และเพิ่มคุณค่าทางอาหาร
นายวรณ์ ดอนชัย 117 ผ้าและเครื่องแต่งกาย - องค์ความรู้ด้านสิ่งทอพื้นบ้าน/เส้นใยธรรมชาติ/สีย้อมธรรมชาติ ผ้าและเครื่องแต่งกาย - การพัฒนาคุณภาพผ้าทอย้อมสีธรรมชาติ(พัฒนากระบวนการย้อม-การทดสอบคณุภาพผ้า) ผ้าและเครื่องแต่งกาย - การพัฒนากระบวนการผลิตสิ่งทอพื้นบ้านให้เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม - พัฒนากระบวนการฝึกอบรม พัฒนาศักยภาพและประเมินผลวิทยากรชุมชน - การพัฒนาเครือข่ายความร่วมมือระหว่างชุมชนกับหน่วยงานภาครัฐและเอกชน
นายสมเกียรติ ตันตา 93 การเพาะพันธ์ การเลี้ยง การดูแล การรักษาโรคติดต่อ สัตว์น้ำ เช่นปลานิล ปลาทับทิม ปลากดุก แลกบ เป็นต้น
ดร.พรปวีณ์ วรเศรษฐ์พงศา 111 การจัดการการเงินและการลงทุน, การวางแผนการเงินและจัดสรรกำไร, การวิจัยธุรกิจ, การพัฒนาทักษะทางการเงินส่วนบุคคล
ผศ.ดร.นิอร โฉมศรี 106 1.เทคโนโลยีเอนไซม์ทางอาหาร และเทคนิคในการทำโปรตีนให้บริสุทธิ์ 2.จุลชีววิทยาทางอาหาร (เช่น การประยุกต์ใช้จุลินทรีย์กับอาหารหมัก การตรวจวิเคราะห์และการควบคุมคุณภาพอาหารทางจุลินทรีย์ การผลิตกล้าเชื้อจุลินทรีย์ การควบคุมจุลินทรีย์เพื่อความปลอดภัยทางอาหาร ฯลฯ)
อาจารย์รัตนพล พนมวัน ณ อยุธยา 116 1.การผลิตแอลกอฮอล์ 2. เทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานทางเลือก 3.เครื่องจักรกลทางการเกษตร เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว
ผศ.ดร.อรุณ โสตถิกุล 108 1.การควบคุมแมลงศัตรูพืชแบบผสมผสาน 2.การปรับปรุงพันธ์พืช 3.กัญชาทางการแพทย์
อาจารย์ปริญญวัตร ทินบุตร 127 เชี่ยวชาญด้าน การออกแบบกระบวนการผลิต ด้านวิศวกรรมโลหะวิทยาและวัสดุ การพัฒนาเครื่องมือเครื่องจักร การแปรรูปสินค้าทางการเกษตร ด้านวิศวกรรมการเชื่อม
อ.พิภพ นราแก้ว 85 การติดตั้งเซลล์แสงอาทิตย์ การสร้างระบบอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์ ตู้อบลมร้อน และโรงอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์
ผศ.วีระ พันอินทร์ 98 "1. ตู้อบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์สำหรับแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร 2. ถ่านอัดแท่งจากเชื้อเพลิงชีวมวลสำหรับสร้างรายได้ลดรายจ่ายครัวเรือน 3. ระบบผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์สำหรับประหยัดพลังงาน 4. ระบบสูบน้ำพลังงานแสงอาทิตย์สำหรับลดภาระค่าใช้จ่ายเกษตรกร"
น.ส.ชนิดา ยุบลไสย์ 78 กระบวนการปลูกผักยกสูงในโรงเรือนเพื่อลดปัญหาวัชพืช โรคแมลง และลดการปวดเมื่อยในการกาทำงานของเกษตรกร
อาจารย์ ดร.นภศูล ศิริจันทร์ 103 จุลชีววิทยา จุลชีววิทยาทางการแพทย์ พืชสมุนไพรยับยั้งแบคทีเรียและจุลชีพอื่นๆ การตรวจสอบจุลินทรีย์ในอาหาร มาตรฐานผลิตภัณฑ์ (อาหาร เครื่องสำอาง สมุนไพรที่ไม่ใช่อาหาร ฯลฯ)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์เอกบดินทร์ กลิ่นเกษร 73 การประยุกต์ใช้งานพลังงานแสงอาทิตย์
ดร.สุพรรณี ลีโทชวลิต 106 โรคและระบบภูมิคุ้มกันในสัตว์ทะเล,การวินิจฉัยโรคพาราสิตและการรักษาโรคปลาทะเล,พาราสิตในปลาทะเลและหอย
ดร.ชุติวรรณ เดชสกุลวัฒนา 103 การศึกษาผลิตภัณฑ์ธรรมชาติทางทะเล สารออกฤทธิ์ชีวภาพ สารรงควัตถุชีวภาพ และสารอื่นๆที่น่าสนใจ จากแบคทีเรียทะเล,ความหลากหลายของแบคทีเรียทะเล นิเวศวิทยาของจุลชีววิทยาทางน้ำ และ
นางสาวอำพร ท่าดะ 110 ตรวจวิเคราะห์คุณภาพน้ำทางจุลชีววิทยา เช่น Escherichia coli โคลีฟอร์มแบคทีเรีย และการปนเปื้อนของแบคทีเรีย ให้เป็นไปตามเกณฑ์คุณภาพน้ำของกรมอนามัย ตรวจวิเคราะห์คุณภาพอาหารทางจุลชีววิทยา เช่น จำนวนจุลินทรีย์ทั้งหมด การปนเปื้อนของแบคทีเรีย ให้เป็นไปตามมาตรฐาน มผช. ตรวจวิเคราะห์การปนเปื้อนเชื้อจุลินทรีย์ในตัวอย่างวัตถุดิบสมุนไพร เช่น จำนวนแบคทีเรียทั้งหมด จำนวนยีสต์และราทั้งหมด Escherichia coli, Staphylococcus aureus, Enterobacteria การทดสอบตัวอย่างและผลิตภัณฑ์ต่างๆ ด้วยเทคนิกทางจุลชีววิทยาให้เป็นไปตามมาตรฐาน มผช. ให้บริการวิชาการทางด้านวิชาปฏิบัติการทางชีววิทยาให้แก่บุคลากรทางการศึกษาและนักเรียนในโรงเรียน
นางสาวเยาลักษณ์ เชื้อเจ้าทรัพย์ 86 ออกแบบบรรจุภัณฑ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น การออกแบบบรรจุภัณฑ์ การทำดอกไม้จากผ้า
ศูนย์วิจัยและพัฒนานวัตกรรมสินค้าเกษตรและอาหาร ภาคต 92 ศูนย์วิจัยและพัฒนานวัตกรรมสินค้าเกษตรและอาหาร ภาคตะวันออก คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี จันทบุรี เป็นหน่วยสนับสนุนการเรียนการสอน การวิจัย แลบริการวิชาการ มีหน้าที่หลักดังต่อไปนี้ 1. ทดสอบมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร ISO/IEC 17025 ทดสอบตัวอย่างสินค้าด้านการเกษตร เช่น ดิน น้ำ ใบ ผลผลิตทางการเกษตร และผลิตภัณฑ์จากการเกษตร เช่น ผลิตภัณฑ์อาหารแปรรูป น้ำส้มควันไม้ น้้ำดื่ม น้ำพริก ซอส เป็นต้น ทางศูนย์ทดสอบจะทำการวิเคราะห์เพื่อวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1.1 เฝ้าระวังมาตรฐานสินค้าให้ตรงกับมาตรฐานภานในและต่างประเทศ 1.2 ออกใบรายงานผลให้สอดคล้องกับมาตรฐานภานในและต่างประเทศ 1.3 วิเคราะห์สารเคมี และยาฆ่าแมลงตกค้างในผลผลิต และผลิตภัณฑ์แปรรูป 1.4 วิเคราะห์ฉลากโภชนา 1.5 วิเคราะห์จุลินทรีย์ 1.6 วิเคราะห์น้ำเพื่อการอุปโภคบริโภค 2. วิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ด้านเกษตรและอาหาร ทำการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่ใช้พืชปลทางการเกษตร ในภาคตะวันออก เพื่อรองรับการแปรรุปผลผลิตใหม่ๆ สู่ตลาดในยุยไทยแลนด์ 4.0 3. บริการวิชาการ ฝึกอบรม และให้คำปรึกษา เป็นศูนย์บริการให้คำปรึกษาด้านคุณภาพอาหาร และการขึ้นทะเบียนกับหน่วยงานรัฐ เช่น มผช. OTOP อย. และมาตรฐานสากลได้แก่ GMP/HACCP/ISO/HALAL/BRC เป็นต้น และยังเป็นที่ฝึกอบรมด้านการแปรรูปการเกษตร และอื่นๆ ตามโจทย์ท้องถิ่น 4. เป็นพี่เลี้ยงด้านระบบคุณภาอาหาร เป็นพี่เลี้ยงหน้างาน ให้บริการถึงสถานที่ เพื่อคอยแนะนำให้ผู้ประกอบการทุกระดับ ไม่ว่าจะกลุ่มแม่บ้าน วิสาหกิจชุมชน SME เข้าถึงการแปรรูปที่ถูกต้อง และจัดการสถานที่ให้เป็นไปตามมาตรฐานที่ต้องการ รวมทั้งการประยุกต์ใช้ระบบประกันคุณภาพอาหาร ในสถานประกอบการ สถานที่ติดต่อ ศูนย์วิจัยและพัฒนานวัตกรรมสินค้าเกษตรและอาหาร ภาคตะวันออก หลักสูตรวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี เลขที่ 41 ม.5 ต.ท่าช้าง อ.เมือง จ.จันทบุรี 22000 โทรศัพท์ 061 6605306 E mail Classforecastrbru@hotmail.com
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จารินี ม้าแก้ว 88 เทคโนโลยีพลังงาน วิศวกรรมไฟฟ้า พลังงานทดแทน นวัตกรรมเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น เทคโนโลยีอุตสาหกรรม
รองศาสตราจารย์สุกัญญา กล่อมจอหอ 90 การพัฒนาผลิตภัณฑ์ การประเมินคุณภาพโดยประสาทสัมผัส
ดร.เสริมศักดิ์ อาษา 97 วุฒิการศึกษาปริญญาเอก ปร.ด. มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ความเชี่ยวชาญ - ด้านเทคโนโลยีพลังงานสิ่งแวดล้อม - ด้านเทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตย์
ดร.สุพจน์ บุญแรง 103 วุฒิการศึกษาปริญญาตรี สาขาวิชาอุคสาหกรรมอาหาร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ วุฒิการศึกษาปริญญาโท สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ มหาวิทยาเกษตรศาสตร์ วุฒิการศึกษาปริญญาเอก สาขาพัฒนาทรัพยากรชนบท มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ความเชี่ยวชาญ - จุลินทรีย์ อุตสาหกรรมการหมัก
นางอุไรวรรณ ไกรนรา มูรานิชิ 114 การแพทย์แผนไทย/พัฒนายา/สมุนไพร/สุขภาพ/ความงาม, โรคติดเชื้อ, ปรสิตวิทยาทางการแพทย์, เทคนิคการแพทย์ ด้านปรสิตทางการแพทย์, โรคติดเชื้อ, ปฏิบัติการชันสูตรทางการแพทย์
ดร. เกรียงไกร วันทอง 146 เทคโนโลยีสปัตเตอริงหรือ เทคนิคการเคลือบฟิล์มบางในสุญญากาศ กระบวนการนี้ใช้เคลือบฟิล์มได้หลากหลายชนิด เช่น ฟิล์มโลหะ อัลลอย แก้ว เซรามิกส์ ฟิล์มสารกึ่งตัวนำ ในกลุ่มอุตสาหกรรมในประเทศไทยที่ใช้เทคโนโลยี สปัตเตอริง ได้แก่ ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ ฮาร์ดดิสไดรฟ์ ยานยนต์ กระจกอาคาร ใยแก้วนำแสง และเซลล์แสงอาทิตย์, การทดสอบโลหะต่างๆ และการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึก Data Science Semiconductor Physics, Electronics, Crystal Growth, Thin Film Sputtering, C, Python and R programming, Computational Physics, Data Science, Scintillation Materials and Nuclear Physics, Precious Metals Testing
ผศ. นรินทร์ทร พันธ์สวัสดิ์ 104 ความรู้ทางด้านเวชกรรมแผนไทย ด้านเภสัชกรรมแผนไทย ด้านหัตถเวชกรรมแผนไทย ทางด้านมหกายวิภาคศาสตร์ (Gross anatomy) และจุลกายวิภาคศาสตร์ (Microscopic anatomy หรือ Histology) และด้านผดุงครรภ์แผนไทย เช่น การออกแบบและพัฒนาอุปกรณ์ที่ใช้ในการรักาทางการแพทย์แผนไทย เช่นเครื่องช่วยนวดกล้ามเนื้อ อุปกรณ์วิเคราะห์โรคทางการแพทย์แผนไทย การพัฒนาผลิตภัณฑ์ทสมุนไพร การทดสอบผลิตภัณฑ์
นางสาวลัดดาวัลย์ ชูทอง 95 การดำเนินธุรกิจคลินิกการแพทย์แผนไทย การปลูกพืชสมุนไพรเพื่อการใช้เป็นยา ดูแลรักษาผู้ป่วยที่มารับการรักษาทางการแพทย์แผนไทย การนำสมุนไพรมาพัฒนา
นางสาวรุ่งฤทัย รำพึงจิต 104 งานหัตถกรรม ศิลปะประดิษฐ์ และภูมิปัญญาท้องถิ่น
นายจักรกฤษณ์ ยิ้มแฉ่ง 85 การผลิตถ่านอัดแท่งจากวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร การออกแบบเครื่องจักรสำหรับช่วยระบบการผลิต ติดตั้งพลังงานแสงอาทิตย์(โซล่าเซล) วิเคราะห์ระบบการผลิตเพื่อเพิ่มผลผลิตและลดต้นทุน การส่งเสริมคุณภาพที่ยั่งยืนสำหรับชุมชน westeจากการเกษตร การพัฒนาเพิ่มประสิทธิภาพระบบไฟฟ้าพลังน้ำผสมผสานพลังงานแสงอาทิตย์โซล่าเชลล์ด้วยระบบควบคุมอัจฉริยะ(ไฮบริด)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ตวงสิริ สยมภาค 96 1.การผลิตอาหารปลอดภัย 2.การทดสอบตลาดและการทดสอบผู้บริโภค 3.การพัฒนาผลิตภัณฑ์และนวัตกรรม ๔. การประเมินคุณภาพด้านประสาทสัมผัส
ดร.อรรถพล นาขวา 140 การบริหารจัดการความหลากหลายทางชีวภาพ สังคม วัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่น
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กิตติศักดิ์ วิธินันทกิตต์ 84 ๑. เทคโนโลยีการอบแห้ง ๒. การจัดการพลังงานและความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์
นายนเรศ ใหญ่วงศ์ 113 1) ที่ปรึกษา และผู้ทวนสอบ เกี่ยวกับคาร์บอนฟุตพริ้นท์ของผลิตภัณฑ์ และองค์กร , โครงการลดก๊าซเรือนกระจกภาคสมัครใจตามมาตรฐานของประเทศไทย (T-VER) 2)ที่ปรึกษาการพัฒนาระบบพลังงานแสงอาทิตย์สำหรับการผลิตไฟฟ้า การอบแห้ง และการเกษตรสมัยใหม่ 3) ที่ปรึกษาการพัฒนาการแปรรูปชีวมวลเชิงพาณิยช์
ดร.หทัยทิพย์ สินธุยา 149 วุฒิการศึกษาปริญญาตรี วิทยาศาสตรบัณฑิต (เคมี) (เกียรตินิยมอันดับ 1) วุฒิการศึกษาปริญญาเอก - Ph.D. (Electrical and Information Engineering) - ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (เคมี) ความเชี่ยวชาญ - ด้านนาโนเทคโนโลยี - ด้านวัสดุศาสตร์เพื่อสิ่งแวดล้อมและพลังงาน - ด้านเทคโนโลยีเซลล์แสงอาทิตย์ - ด้านพลังงานชุมชน - ด้านระบบจัดการพลังงานและสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ
ดร.ภัทธนาวรรณ์ ฉันท์รัตนโยธิน 112 วุฒิการศึกษาปริญญาตรี วท. บ. (ชีววิทยา) วุฒิการศึกษาปริญญาโท วท.ม.(พิษวิทยาทางอาหารและโภชนาการ) วุฒิการศึกษาปริญญาเอก Ph.D.Biotechnology ความเชี่ยวชาญ 1. เทคโนโลยีชีวภาพ 2. มาตรฐานเกษตรอินทรีย์ 3. พัฒนาผลิตภัณฑ์สินค้าเกษตร
อาจารย์วรพล วัฒนเหลืองอรุณ 113 วุฒิการศึกษาปริญญาตรี ศศ.บ. (อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว) วิทยาลัยครูฉะเชิงเทรา วุฒิการศึกษาปริญญาโท ศศ.ม. (การจัดการอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ความเชี่ยวชาญ การท่องเที่ยว การโรงแรม ด้าน การท่องเที่ยวโดยชุมชน ด้าน การบริการอาหารและเครื่องดื่ม ด้าน เทคนิคการผสมเครื่องดื่ม ด้าน การท่องเที่ยววิถีชุมชนบนพื้นฐานศาสตร์พระราชา ด้าน การบริหารทรัพยากรมนุษย์ ด้าน การเป็นที่ปรึกษาทางธุรกิจ
ดร.เพียงออ ยี่สา 109 การวิเคราะห์ข้อมูลการทดลองทางประสาทสัมผัสในการยอมรับของผู้บริโภค หลังจากใช้ผลิตภัณฑ์สกินครีม เพื่อทดสอบประสิทธิภาพของกรด ทาร์ทาร์ริก ที่ผลิตจากโพแทสเซียมไบทาร์เทรต การวิเคราะห์เปรียบเทียบปริมาตรจําเพาะของขนมเค้กโดยการเปรียบเทียบระหว่าง สูตรควบคุม สูตรท้องตลาด และสูตร ทดลอง เพื่อหาสูตรที่เหมาะสม
ผศ.พลวัฒน์ เกิดศิริ 98 การทดสอบเนื้อดินท้องถิ่นเพื่อนำมาทำบรรจุภัณฑ์ภาชนะหุงต้ม สำหรับใช้ภายในครัวเรือน
อาจารย์กัลย์สุดา ดวงศรีแก้ว 100 จุลชีววิทยาทางอาหารและการเกษตร
ปานใจ สื่อประเสริฐสิทธิ์ 106 สิ่งทอนาโนเทคโนโลยี เช่น ผ้าทอ เสื่อทอ
ผศ.ดร.พรรณธิภา เพชรบุญมี 95 การบูรณาการองค์ความรู้ด้านการพัฒนาและยกระดับผลิตภัณฑ์ผ้าทอใยกัญชง
ดร. ดนชนก เบื่อน้อย 85 Public Relations Human Resource Development Organization Development การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์, การพัฒนาบุคลิกภาพ
ผศ.ดร.จักรกฤช ศรีลออ 102 เทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม, การจัดการของเสีย, พลังงานทดแทน เน้นทางด้านแสงอาทิตย์ และชีวมวล
อ.รัตนเรขา อัจฉริยะพิทักษ์ 111 ด้านผ้าทอ การออกแบบลายผ้าทอ การย้อมสีผ้าจากวัสดุธรรมชาติ การแปรรูปผลิตภัณฑ์ผ้าทออีสาน
อาจารย์สมชัย วะชุม 86 พลังงานแสงอาทิตย์และพลังงานชีวมวล ลดต้นทุนการผลิต อาหารสะอาด และลดระยะเวลาการตากแห้งของสินค้าทางการเกษตร
นายธนกร หอมจำปา 78 การออกแบบเครื่องอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์ เครื่องจักรกล วิศวกรรมเครื่องกล
ผศ. บุญเยี่ยม ยศเรืองศักดิ์ 106 วิเคราะห์การผลิตพลังงานไฟฟ้าและศึกษาความคุ้มค่าต่อการลงทุนติดตั้งระบบผลิตไฟฟ้า จากพลังงานแสงอาทิตย์ระดับครัวเรือน
อาจารย์สมชัย วะชุม 104 ตู้อบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์ และผลิตภัณฑ์ไม้มงคลสำหรับผลิตสีย้อมผ้า ลดระยะเวลาการตากแห้ง ควบคุมและรักษาคุณภาพของสินค้า
ดร.สุนิสา สุวรรณพันธ์ 80 จุลชีววิทยาทางอาหาร เอนไซม์ อาหาร
อาจารย์ศิริรัตน์ สัยวุฒิ 106 การสร้างต้นแบบและถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านการออกแบบบรรจุภัณฑ์ และตราสินค้าที่แปรรูป การสร้างกิจกรรมทางการจัดจำหน่าย ทั้ง Online และOffline ถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านการตลาดในยุคปกติใหม่
ดร.รัชดาภรณ์ บุญทรง 105 การออกแบบอุตสาหกรรม การออกแบบตราสินค้า การออกแบบบรรจุภัณฑ์ เพื่อความเป็นอัตลักษณ์ การออกแบบศาลาไม้ไผ่ขนาดเล็กจากเทคโนโลยีพื้นบ้านและภูมิปัญญาท้องถิ่น
นายสมเกียรติ ตันตา 104 การเพาะพันธ์ การเลี้ยง การดูแล การรักษาโรคติดต่อ สัตว์น้ำ เช่นปลานิล ปลาทับทิม ปลากดุก และกบ เป็นต้น
น.ส ธัญลักษณ์ บัวผัน (จบปริญาโทการแปรรูป และวิจัย) 110 การพัฒนาและแปรรูปด้านอาหาร การทดสอบทางประสาทสัมผัส ทางเคมี ทางการยภาพ ด้านอาหาร
อาจารย์ ดร.สราวุฒิ แนบเนียร 86 การแปรรูปขมิ้นชัน ระบบอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์
อ.วีระวัฒน์ อุดมทรัพย์ 106 วัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์ วิถีของกลุ่มชาติพันธุ์ การประยุกต์ใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น ทุนทางสังคมและทุนทางวัฒนธรรม
อ.มะรอแซะ เล๊าะและ 38 วัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์ วิถีของกลุ่มชาติพันธุ์ การประยุกต์ใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น ทุนทางสังคมและทุนทางวัฒนธรรม
ดร.สุทิน อ้อนอุบล 46 ข้อมูลสารสนเทศวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น
ดร.สุรสวดี สมนึก 95 เครื่องดื่มเพื่อนำไปพัฒนาที่ส่งเสริมสุขภาพสำหรับผู้ออกกำลังการและผู้เล่นกีฬา
อ.ดร.ภวินทื ธัญภัทรานนท์ 95 เรือรดน้ำพลังงานแสงอาทิตย์ ควบคุมด้วยวิทยุบังคับเพื่อให้เหมาะสมกับกับต้องการของเกษตรกร
ผศ.ดร.นิอร โฉมศรี 108 1.เทคโนโลยีเอนไซม์ทางอาหาร และเทคนิคในการทำโปรตีนให้บริสุทธิ์ 2.จุลชีววิทยาทางอาหาร (เช่น การประยุกต์ใช้จุลินทรีย์กับอาหารหมัก การตรวจวิเคราะห์และการควบคุมคุณภาพอาหารทางจุลินทรีย์ การผลิตกล้าเชื้อจุลินทรีย์ การควบคุมจุลินทรีย์เพื่อความปลอดภัยทางอาหาร ฯลฯ)
อาจารย์รัตนพล พนมวัน ณ อยุธยา 78 1.การผลิตแอลกอฮอล์ 2. เทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานทางเลือก 3.เครื่องจักรกลทางการเกษตร เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว
นางกฤษณา ชูโชนาค 129 การศึกษาและทดลองสูตรดินปั้นจากโอเอซิสเหลือใช้ 5 สูตร ประเมินคุณสมบัติและคัดเลือก นำไปศึกษาระยะเวลาที่เหมาะสมในการให้ความร้อนดินปั้นจากโอเอซิสเหลือใช้ในไมโครเวฟที่เวลา 3, 8, 13 และ 18 วินาที ให้ผู้เชี่ยวชาญด้านดินปั้นทดลองและประเมินความพึงพอใจ นำดินปั้นจากโอเอซิสที่พัฒนาประดิษฐ์ผลิตภัณฑ์งานใบตองและประเมินความพึงพอใจของผู้บริโภคต่อผลิตภัณฑ์จากกลุ่มลูกค้าของร้านขายผลิตภัณฑ์ดินปั้นหรืองานใบตองในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล พบว่า ดินปั้นจากโอเอซิสสูตรที่ 4 ให้ความร้อนแต่ละครั้งเป็นระยะเวลา 8 วินาที มีความเหมาะสมสำหรับนำไปใช้ในงานใบตอง ผู้เชี่ยวชาญมีความพึงพอใจในระดับมากที่สุด และกลุ่มผู้บริโภคมีความพึงพอใจในระดับมาก
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชลดรงค์ ทองสง 95 การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน การพัฒนาท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม การพัฒนาโครงข่ายการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
นายทองไส ช่วยชู 78 อิเล็กทรอนิกส์และระบบควบคุมอัตโนมัติ ระบบแสงอาทิตย์
ผศ.ดร. ณฐิตากานต์ พยัคฆา 115 การส่งเสริมเกษตรพัฒนาชนบท การพัฒนามาตรฐานสินค้าเกษตร มาตรฐานสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ไทย การยกระดับสินค้าทางการเกษตรเพื่อการรับรองมาตรฐาน อย.
ดร.บุษราคัม ป้อมทอง 79 การวิเคราะห์ความหอมและคุณค่าทางโภชนาการ และการกำหนดเอกลักษณ์ประจำพันธุ์ของข้าว พันธุ์หอมเตี้ยเพื่อนำไปสู่การอนุรักษ์และการ ส่งเสริมเชิงเศรษฐกิจ
ผศ.ณัฐกฤตา สนองบุญ 99 มีความเชี่ยวชาญทางด้านเศรษฐศาสตร์เกษตร ส่วนเหลื่อมตลาด การส่งผ่านราคา และการประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์
นางสาวพรพิมล ควรรณสุ 79 ผลิตภัณฑ์น้ำพริกเห็ดกรอบ จากเห็ดนางฟ้า 1. การพัฒนาสูตรน้ำพริกเห็ดกรอบ 2. การพัฒนาบรรจุภัณฑ์ให้ทันสมัย สวยงาม และ และดึงดูดผู้บริโภค 3. การพัฒนาตลาดออนไลน์ และตลาดออฟไลน์ ขนาดบรรจุ 100 กรัม ความโดดเด่นคือ กลุ่มวิสาหกิจชุมชนผลิตเห็ดบ้านกลางมีความพิถีพิถันในการเพาะเห็ด โดยมีกระบวนการเพาะแบบปลอดสารเคมี นอกจากนั้นยังมีการคัดสรรวัตถุดิบทีมีคุณภาพเพื่อนำมาแปรรูป และมีการตรวจยืนยันด้านอาหารปลอดภัยจากห้องปฏิบัติการทีได้รับการรับรองคุณภาพ เพื่อให้ผู้บริโภคได้รับสินค้าที่มีรสชาติอร่อยและดีต่อสุขภาพ
ผศ.สุพรรัตน์ ทองฟัก 106 มีความเชี่ยวชาญทางด้านต้นทุนและผลตอบแทน การศึกษาความเป็นไปได้ในการลงทุน การบัญชีและระบบสารสนเทศทางการบัญชี การบริหารจัดการด้านการเงิน และการวิเคราะห์ทางการเงินและมูลค่าทางเศรษฐกิจ
อาจารย์ ดร. ชิตาพัณณ์ ใบงิ้ว 122 การพัฒนาสูตรในกระบวนการผลิตและการเก็บรักษา นวัตกรรมอาหารเสริมสุขภาพ เทคโนโลยีการขึ้นรูปเส้นด้วยการ Extrusion และ Spherification การทดสอบความชอบทางด้านประสาทสัมผัสและการยอมรับ
ผศ.ดร.พรรณราย รักษ์งาร 98 การทดสอบสมบัติสิ่งทอ สมบัติเส้นใยและผ้าที่เหมาะสมกับการนำไปใช้งาน การทดสอบสมบัติวัสดุสิ่งทอ เครื่องจักรในกระบวนการผลิตสิ่งทอ
ผศ.ดร.จริยาวดี สุริยพันธุ์ 118 พรรณไม้น้ำ แพลงก์ตอนพืช แพลงก์ตอนสัตว์ หญ้าทะเล ระบบนิเวศทางทะเล และระบบนิเวศในบ่อเลี้ยงสัตว์น้ำ
นางสาวจินตนาภรณ์ จิกิตศิลปิน 158 1. ด้านการท่องเที่ยว มีความเชี่ยวชาญในด้านการจัดการการท่องเที่ยว การจัดการประชุม การจัดการฝึกอบรมเพื่อพัฒนาทีมงาน การจัดเส้นทางท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์และวัฒนธรรมโดยฐานภูมิปัญญาและทุนท้องถิ่น การจัดเส้นทางท่องเที่ยวโดยชุมชนสำหรับนักท่องเที่ยวชาวไทยและนักท่องเที่ยวต่างชาติ การฝึกอบรมด้านหลักการจัดการการท่องเที่ยวโดยชุมชน การฝึกอบรมหลักการนำชมสำหรับมัคคุเทศก์ท้องถิ่นภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 2. ด้านศิลปะประดิษฐ์และของที่ระลึก/งานหัตถกรรมพื้นบ้าน มีความเชี่ยวชาญด้านการพัฒนาศิลปะหัตถกรรมพื้นบ้านเป็นสินค้าการท่องเที่ยวของชุมชน
นางพจมาน วงษ์วิบูลย์สิน 102 การบริหารจัดการชุมชน/การจัดการองค์กรส่วนท้องถิ่น ได้ดำเนินงานจัดโครงการบริการวิชาการแก่สังคม ทำหน้าที่ได้ประสานงานติดต่อกับผู้นำชุมชน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อดำเนินจัดกิจกรรม จัดโครงการต่างๆ รวมถึงได้ลงพื้นสำรวจความต้องการของชุมชน และหน่วยงานทั้งภายใน ภายนอกมหาวิทยาลัย ซึ่งคณะทำงานมีการจัดการฝึกอบรม ให้ความรู้กับประชาชนในชุมชน นักเรียน นักศึกษา โครงการต่างๆ ที่คณะได้จัดขึ้นจะยึดตามแนวทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งทำให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ไปต่อยอดพัฒนาผลิตภัณฑ์ เพิ่มมูลค่าของชุมชน เพิ่มช่องทางการจัดจำหน่ายสินค้า และเพิ่มยอดขายได้อีกด้วย
นางสาวพัชญทัฬห์ กิณเรศ 72 เทคนิคการแปรรูปอาหารด้วยตู้อบแห้งพลังแสงอาทิตย์
พทป.สรัญญา ชะงัดรัมย์ 80 แปรรูปสมุนไพร ดูแลให้คำปรึกษาที่คลินิกกัญชา
นางสาวนิอร ดาวเจริญพร 101 งานหัตถกรรม ศิลปะประดิษฐ์ และภูมิปัญญาท้องถิ่น
ผศ.เสาวณีย์ อารีจงเจริญ 110 การเตรียมสิ่งทอ - กระบวนการทําความสะอาด การฟอก การย้อมสีธรรมชาติ การพิมพ์ การตกแต่งสําเร็จเส้นใย/เส้นด้าย/ผืนผ้า แยกประเภทโครงสร้างผ้า ผ้าทอ ผ้าถัก ออกแบบลวดลายผ้าทอ - ลายขัด ลายสอง ฯลฯ ทดสอบคุณสมบัติของผ้า/เส้นใย เช่น ทดสอบความคงทนของผ้า และคุณสมบัติทางกายภาพ-เคมี และที่เกี่ยวข้อง
ดร.ไผ่แดง ขวัญใจ 85 การพัฒนาผลิตภัณฑ์แปรรูปจากปลาทับทิมเพื่อเพิ่มมูลค่าเชิงพาณิชย์
ปิยรัตน์ วงศ์จุมมะลิ 84 การค้นหาทุนชุมชน ปราชญ์ และการจัดตั้งกลุ่มแปรรูปผลิตภัณฑ์ชุมชน
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชาญยุทธ์ กาญจนพิบูลย์ 100 ระบบสมองกลฝังตัวในงานเกษตรกรรม ระบบควบคุมอัตโนมัติผ่านอินเทอร์เน็ตประสานสรรพสิ่ง (IoT) ระบบผลิตกำลังไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ ระบบอิเล็กทรอนิกส์กำลัง
ผศ.ดุสิต ศรีวิไล 98 แพลงก์ตอน / ชีววิทยาทางทะเล / การอนุรักษ์สัตว์น้ำและทรัพยากรทางทะเล
อ.พชร วรรณภิวัฒน์ 126 ความหลากหลายทางชีวภาพภูมิปัญญาท้องถิ่น วัฒนธรรม และวิถีชีวิตชุมชน
นายสมเกียรติ ตันตา 88 การเพาะพันธ์ การเลี้ยง การดูแล การรักษาโรคติดต่อ สัตว์น้ำ เช่นปลานิล ปลาทับทิม ปลากดุก และกบ เป็นต้น
นางสาวธัญลักษณ์ บัวผัน 49 การพัฒนาและแปรรูปด้านอาหาร การทดสอบทางประสาทสัมผัส ทางเคมี ทางการยภาพ ด้านอาหาร มีความเชี่ยวชาญด้านชา
นายสุรเชษฐ์ จันทร์แสงศรี 121 การพัฒนาและยกระดับผลิตภัณฑ์ผ้าทอย้อมสีธรรมชาติ
นายอัครชัย บุญประเสริฐ 97 การออกแบบและผลิตบรรจุภัณฑ์ผ้าทอ
ศ.ดร.ทนงเกียรติ เกียรติศิริโรจน 75 การออกแบบระบบระบายความร้อน กระบวนการระบายความร้อนด้วยพลังงานแสงอาทิตย์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อโนทัย วิงสระน้อย 97 - การบริหารจัดการศัตรูพืช - การควบคุมศัตรูพืชโดยชีววิธี - การผลิตชีวภัณฑ์ควบคุมศัตรูพืช - กีฏวิทยาทางการแพทย์/ปศุสัตว์ การจัดการศัตรูพืชกัญชาในระบบอินทรีย์ Insect Host Plant Relationship - นิเวศวิทยาเคมี(แมลง&พืช) - แมลงกินได้
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อโนทัย วิงสระน้อย 98 - การบริหารจัดการศัตรูพืช - การควบคุมศัตรูพืชโดยชีววิธี - การผลิตชีวภัณฑ์ควบคุมศัตรูพืช - กีฏวิทยาทางการแพทย์/ปศุสัตว์ การจัดการศัตรูพืชกัญชาในระบบอินทรีย์ Insect Host Plant Relationship - นิเวศวิทยาเคมี(แมลง&พืช) - แมลงกินได้
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อโนทัย วิงสระน้อย 109 - การบริหารจัดการศัตรูพืช - การควบคุมศัตรูพืชโดยชีววิธี - การผลิตชีวภัณฑ์ควบคุมศัตรูพืช - กีฏวิทยาทางการแพทย์/ปศุสัตว์ การจัดการศัตรูพืชกัญชาในระบบอินทรีย์ Insect Host Plant Relationship - นิเวศวิทยาเคมี(แมลง&พืช) - แมลงกินได้
อ.ดร.สันทนา นาคะพงศ์ 86 การผลิตคาร์โบไฮเดรตที่มีหน้าที่ด้วยกระบวนการทางชีวภาพ
อาจารย์ อัฏฐพร อริยฤทธิ์ 89 การประดิษฐ์เซลล์แสงอาทิตย์,เทคโนโลยีฟิล์มบาง
รศ.ดร.ธรรมศักดิ์ ยีมิน 128 นิเวศวิทยาทางทะเล นิเวศวิทยาแนวปะการัง ชีววิทยาปะการัง การจัดการสิ่งแวดล้อม การจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
ผศ.ดร.มาฆมาส สุทธาชีพ 112 นิเวศวิทยาทางทะเล, การจัดการสิ่งแวดล้อม, การจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
ผศ.ดร.นิอร โฉมศรี 96 1.เทคโนโลยีเอนไซม์ทางอาหาร และเทคนิคในการทำโปรตีนให้บริสุทธิ์ 2.จุลชีววิทยาทางอาหาร (เช่น การประยุกต์ใช้จุลินทรีย์กับอาหารหมัก การตรวจวิเคราะห์และการควบคุมคุณภาพอาหารทางจุลินทรีย์ การผลิตกล้าเชื้อจุลินทรีย์ การควบคุมจุลินทรีย์เพื่อความปลอดภัยทางอาหาร ฯลฯ)
อาจารย์รัตนพล พนมวัน ณ อยุธยา 87 1.การผลิตแอลกอฮอล์ 2. เทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานทางเลือก 3.เครื่องจักรกลทางการเกษตร เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว
ผศ.ณัฐกฤตา สนองบุญ 91 มีความเชี่ยวชาญทางด้านเศรษฐศาสตร์เกษตร ส่วนเหลื่อมตลาด การส่งผ่านราคา และการประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์
ผศ.ดร.กมลวรรณ บุญเจริญ 84 ผลิตตู้พลังงานเสียงอาทิตย์
นฤมล เถื่อนกูล 99 Biology, จุลชีววิทยา ด้าน แบคทีเรีย สีย้อมจากแอคติโนมัยซีส จุลชีววิทยาทางอาหาร
ดร.อรรจ์ เอี่ยมประเสริฐ 105 1.เคมีอินทรีย์สังเคราะห์ 2.เซลล์แสงอาทิตย์ชนิดสีย้อมไวแสง 3.สีย้อมอินทรีย์
นางสาวสมใจ แซ่ภู่ 116 การตลาด ผลิตภัณฑ์จากผ้าทอ
ดร.ศักยะ สมบัติไพรวัน 150 2553 - ผู้ช่วยสอนนักศึกษาปริญญาตรี รายวิชาปฐพีกลศาสตร์ สาขาวิชาวิศวกรรมเกษตร 2554-2555 - ผู้ช่วยวิจัย งานเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว ศึกษาความสามารถในการยืดอายุการเก็บรักษามะม่วงน้ำดอกไม้โดยใช้ถ่านกัมมันต์ดูดซับเอทิลีนในบรรจุภัณฑ์ระหว่างการขนส่ง 2558 - ผู้ช่วยสอนนักศึกษาปริญญาตรี รายวิชาจุลชีววิทยาอาหาร สาขาวิชาวิศวกรรมเกษตร 2563 - นักวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ ศูนย์อนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี 2564 - หัวหน้าโครงการการพัฒนาศักยภาพผลิตภัณฑ์ท้องถิ่นด้วยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม (12 ผลิตภัณฑ์) ภายใต้โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี - เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป หน่วยบริการวิชาการชุมชน เทคโนธานี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี 2564 - ผู้ช่วยวิจัยโครงการการตรวจสอบชนิดและปริมาณการปนเปื้อนของสารหนูด้วยเทคนิคขั้นสูงจากเครื่องกำเนิดแสงซินโครตรอน รหัสโครงการ PRP6205012260 สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์กรมหาชน) 2565 - นักวิจัยหลังปริญญาเอก สาขาวิชาเทคโนโลยีอาหาร ภายใต้สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี - คณะกรรมการดำเนินการคัดสรรสุดยอดหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ไทย ปี พ.ศ. 2565 จ. นครราชสีมา ตรวจสอบและกลั่นกรองผลิตภัณฑ์ประเภทสมุนไพรที่ไม่ใช่อาหาร (คำสั่งจังหวัดนครราชสีมา ที่ 4785/2565 ลงวันที่ 5 พฤษภาคม 2565) - ที่ปรึกษา/ผู้วิจัย กิจกรรมการสร้างผู้ประกอบการชุมชน (Local Startups) ประจำปี 2564 ภายใต้แผนงานส่งเสริมการนำนวัตกรรมไปใช้ประโยชน์ในพื้นที่เพื่อพัฒนาชุมชนและสังคม (Area based Innovation for Community) เทคโนธานี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี โครงการเลขที่ TN026/2565 เรื่อง การพัฒนาสูตรแชมพูสมุนไพรตามคุณค่าทางวิชาการและควบคุมคุณลักษณะให้ผ่านมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน (The evaluation of herbal shampoo according to the community product standards) วิสาหกิจชุมชนกลุ่มเกษตรกรรวมใจบ้านไกลเสนียด อ.ท่าตูม จ.สุรินทร์ - ที่ปรึกษา/ผู้วิจัย กิจกรรมการสร้างผู้ประกอบการชุมชน (Local Startups) ประจำปี 2564 ภายใต้แผนงานส่งเสริมการนำนวัตกรรมไปใช้ประโยชน์ในพื้นที่เพื่อพัฒนาชุมชนและสังคม (Area based Innovation for Community) เทคโนธานี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารีโครงการเลขที่ TN028/2565 เรื่อง การวัดสมบัติทางเคมี-กายภาพ สเปรย์บรรเทาอาการปวดและแมลงสัตว์กัดต่อยเพื่อทำมาตรฐานการผลิตและส่งเสริมการขาย ( A study of chemo-physical properties of pain and insect bites relief spray to standardize production and marketing campaigns) วิสาหกิจชุมชนแปรรูปสมุนไพรหนองสมอ อ.คง จ.นครราชสีมา - ผู้ช่วยวิจัย โครงการสำรวจความเป็นไปได้ในการใช้ประโยชน์จากของเสียในโรงงานผลิตไส้ กรอก (กู้คืนและปรับสภาพน้ำมันสำหรับใช้เป็นพลังงาน) โรงงานไส้กรอก อ.ขามทะเลสอ จ.นครราชสีมา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วัชระ วงค์ปัญโญ 76 โรงอบแห้งแคบหมูพลังงานแสงอาทิตย์แบบเรือนกระจก
ผศ.ดร.ณัฐวุฒิ ดุษฎี 76 ระบบบ่อเลี้ยงปลาแสงอาทิตย์
ดร. ชเนษฎ์ วิชาศิลป์ 98 อุปกรณ์สาหรับพลังงานทดแทน และ พลังงานไฮโดรเจน, เซลล์แสงอาทิตย์ ตัวเก็บประจุและอุปกรณ์พลังงานทดแทน
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วสันต์ ปินะเต 88 พลังงานทดแทน การส่งเสริมพลังงานทดแทน ก๊าซชีวภาพจากมูลสัตว์ โรงอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์
ภาสกร เดชโค้น 66 การอบแห้งโดยใช้พลังงานแสงอาทิตย์
ผศ.จิรทัศน์ ดาวสมบูรณ์ 88 การย้อมผ้าแบบ Eco print การสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ผ้าที่ใช้วัสดุจากธรรมชาติ ทำให้เกิดสีและลวดลาย เป็นการพิมพ์ผ้า ด้วยใบไม้ ดอกไม้จากธรรมชาติ
ผศ.ปกกสิณ ชาทิพฮด 96 ความเชี่ยวชาญ : ภาษาและวรรณกรรมไทย, คติชนวิทยา, ภูมิปัญญาท้องถิ่น, วัฒนธรรมศึกษา, การจัดการมรดกทางวัฒนธรรม, การแปรรูปผลิตภัณฑ์จากหัตถกรรม, เทคโนโลยีสิ่งทอ, การจัดจำหน่ายผลิตภัณฑ์งานหัตถกรรมและภูมิปัญญา
อาจารย์วรเชษฐ์ แสงสีดา 82 ตู้อบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์
ดร.รัชวุธ สุทธิ 79 ระบบสูบน้ำพลังงานแสงอาทิตย์
ดร.รัชวุธ สุทธิ 72 ผ้าทอพื้นเมืองที่มีความเป็นเอกลักษณ์ของชุมชนท้องถิ่น และผ้าสไบลายขิด
นายสิทานนท์ อมตเวทย์ 93 วิศวกรรมอุตสาหการ ทรัพย์สินทางปัญญา การประเมินมูลค่าทรัพย์สินทางปัญญา
ดร. สุภัทรา พงศ์ภราดร 103 ชีววิทยาและนิเวศวิทยาทางทะเล สาหร่ายทะเล
ศาสตราจารย์ ดร. อัญชนา ประเทพ 107 ชีววิทยาและนิเวศวิทยาทางทะเล หญ้าทะเล สาหร่ายทะเล
ดร. เอกลักษณ์ รัตนโชติ 95 ชีววิทยาและนิเวศวิทยาทางทะเล สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
นายปิยะลาภ ตันติประภาส 107 ชีววิทยาและนิเวศวิทยาหญ้าทะเล
นางสาวจันทร์มณี ปัญญาไว 91 นิเวศวิทยาระบบนิเวศหญ้าทะเล และ พะยูน
ดร.ชัยณรงค์ รัตนกรีฑากุล 89 1.จดอนุสิทธิบัตร "สูตรผสมสำหรับ ผลิตภัณฑ์สารสกัดสมุนไพร ชนิดสารเข้มข้นแขวนลอย" 2. จดลิขสิทธิ์ ปี 2011 จำนวน 4 เรื่อง "สินค้าคุณภาพจากแปลงสู่ผู้บริโภค" "การประเมินความเสี่ยงเป็นการเตรียมระบบ GAP ให้พร้อมกับสิ่งที่เกิดขึ้น" "การระมัดระวังระหว่างการใช้สารเคมี" "สุขอนามัยระหว่างการเก็บเกี่ยว" 3. งานวิจัยที่เป็นการรายงานครั้งแรกของประเทศไทยที่พบว่า เชื้อสาเหตุโรคกิ่งแห้งของทุเรียนเป็นเชื้อรา Fusarium incarnatum และ F. solani ไม่ใช่เชื้อรา Phytophthora palmivora ตามที่นักวิชาการหลายท่านเข้าใจ รวมทั้งพบว่าเชื้อรา Phytopythium vexans สามารถเข้าทำลายทุเรียน และทำให้เกิดโรครากเน่าโคนเน่าได้เช่นเดียวกับ P. palmivora และได้แนะนำสารเคมีป้องกันกำจัดเชื้อราชนิดที่ควบคุมได้ทั้งเชื้อรา Fusarium, Phytophthora, Phytopythium และ Pythium โดยเกษตรกรไม่จำเป็นต้องสิ้นเปลืองซื้อสารเคมีหลายชนิดมาผสมเองเพราะสาเหตุที่แท้จริงของโรคกิ่งแห้งนั้นเกิดจากเชื้อรา Fusarium solani และ F. incarnatum มิได้เกิดจากเชื้อรา Phytophthora palmivora และได้แนะนำสารเคมีที่มีประสิทธิภาพในการควบคุมโรคกิ่งแห้งซึ่งสามารถควบคุมเชื้อรา Phytophthora palmivora สาเหตุโรครากเน่าโคนเน่าของทุเรียนได้อีกด้วย โดยจำเป็นต้องระมัดระวังการใช้สารเคมี benzimidazoles มากยิ่งขึ้น เนื่องจากเชื้อราสาเหตุเกิดการต้านทานได้ 4. หาความแตกต่างของสารประกอบบนผิวมะม่วงที่ได้รับสารกลุ่ม salicylic เพื่อกระตุ้นความต้านทานโรคแอนแทรคโนส จากงานวิจัยการกระตุ้นความต้านทานการเกิดโรคในมะม่วงหลังการเก็บเกี่ยว
ดร.วาณี ชนเห็นชอบ 80 1. ความสามารถของภาชนะบรรจุเพื่อการขนส่งในการปกป้องผลิตผลเกษตร 2. การพัฒนาฟิล์มเพื่อยืดอายุและรักษาคุณภาพผลิตผลเกษตร (ร่วมกับศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ) 3. รางวัลชนะเลิศ สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ "อุปกรณ์เพิ่มความแม่นยำในการวิเคราะห์อะฟลาทอกซิน บี 1" และรางวัลผลงานประดิษฐ์คิดค้น KU-AF2 : คอลัมน์ขจัดสิ่งรบกวนสำหรับการวิเคราะห์อะฟลาทอกซิน " จากโครงการวิจัย การเพิ่มศักยภาพของชุดตรวจสอบสารพิษเชื้อราซีราลีโนนและอิมมูโนแอฟฟินิตีคอลัมน์สำหรับอะฟลาทอกซินเพื่อการผลิตเชิงพาณิชย์
ดร.พีรพงษ์ แสงวนางค์กูล 78 1. ผลงาน "ห้องบ่มและเทคนิคการบ่มผลไม้ประโยชน์ 7 อย่าง" ได้รับรางวัลงานวิจัยสร้างผลกระทบสูงระดับ Silver จากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ประจำปี 2564 2. โครงการ "สารเอทีฟอนตกค้างในผลทุเรียนหมอนทองและทางเลือกในการบ่มเพื่อการส่งออก" งบประมาณจาก สวก. ผลวิจัยแสดงถึงความปลอดภัยในการบริโภคทุเรียนไทยทั้งในตลาดท้องถิ่นและตลาดส่งออก สร้างความมั่นใจในสินค้าทุเรียนไทย และลดความตื่นตระหนกความกังวลของผู้บริโภคไทยและจีนที่มีการให้ข้อมูลบิดเบือน 3. ผลวิจัยจาก "โครงการศึกษาเกณฑ์น้ำหนักแห้งของทุเรียนพันธุ์หมอนทอง กระดุมทอง ชะนี พวงมณี และก้านยาว เพื่อเป็นเกณฑ์บ่งชี้คุณภาพ" ใช้ปรับปรุงเกณฑ์น้ำหนักผลและน้ำหนักเนื้อแห้งของทุเรียนในมาตรฐานสินค้าเกษตร (ทุเรียน) มกษ.3-2556 ที่กำลังทบทวนในวาระครบรอบ 20 ปี ในปี 2566
รศ.ดร. อภิชาติ กาญจนทัต 76 เทคโนโลยีชีวภาพของเอนไซม์,เคมีของโปรตีน: โครงสร้าง และหน้าที่, เคมีของผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ, ชีววิธีการฟื้นฟูสภาพแวดล้อมโดยเชื้อรา
ดร.อัญชนา ประเทพ 84 นิเวศวิทยาทางทะเล, นิเวศวิทยาของสาหร่ายและหญ้าทะเล
ดร.สมพร เกษแก้ว 80 อันดับ 1 การศึกษาคุณลักษณะโครงสร้างและหน้าที่ของโปรตีน เอนไซม์ เปปไทด์ การศึกษา พัฒนาองค์ความรู้และนวัตกรรมด้านพลังงานและเวชสำอางจากพืช อันดับ 2 พลังงานชีวมวล
ดร.รัติยา พงศ์พิสุทธา 84 1. อนุกรมวิธานของเชื้อราและชีวโมเลกุล , 2. ความหลากหลายของเชื้อราสาเหตุโรคพืช , 3. เชื้อราที่เป็นสาเหตุของโรคพืชหลังการเก็บเกี่ยว
อ.ดร.นพ.ดุลยพัฒน์ สงวนรักษา 140 อณูชีววิทยาทางการแพทย์
ผศ.ดร.อภิโชค ตั้งตระการ 63 การประดิษฐ์สารกึ่งตัวนำชนิดพีเพื่อประยุกต์ใช้ในเซลล์แสงอาทิตย์ชนิดเพอรอฟสไกต์
รศ. ดร.จิตรลดา ทองใบ 54 อิเล็กตรอนและโฟตอนห้วงเฟมโตวินาที
รศ. ดร.อธิพงศ์ งามจารุโรจน์ 70 เซลล์แสงอาทิตย์ชนิดเพอรอฟสไกด์ที่มีประสิทธิภาพสูงและราคาถูกเพื่อทดแทนการใช้เซลล์แสงอาทิตชนิดซิลิกอน
รศ. ดร.อัจฉรา ปัญญา เจริญจิตติชัย 78 เซลล์แสงอาทิตย์ชนิดเพอรอฟสไกด์ที่มีประสิทธิภาพสูงและราคาถูกเพื่อทดแทนการใช้เซลล์แสงอาทิตชนิดซิลิกอน
ดร.ปริศนา ทำบุญ 67 อิเล็กตรอนและโฟตอนห้วงเฟมโตวินาที
ผศ.ดร.คมศิลป์ โคตมูล 60 การพัฒนาสมบัติเชิงแม่เหล็กไฟฟ้าและสมบัติเชิงกลของวัสดุต้นแบบเซลล์แสงอาทิตย์อุบัติใหม่และวัสุกักเก็บไฮโดรเจนโดยเทคนิคสภาวะรุนแรง
ผศ.ดร.จตุพร สายสุด 72 อิเล็กตรอนและโฟตอนห้วงเฟมโตวินาที
ผศ.ดร.ธิติ เตชธนพัฒน์ 102 การเพิ่มประสอทธิภาพของเซลล์แสงอาทิตย์ชนิด CIGS ด้วยโครงสร้างเซลล์แบบแทนเดม Perovskite-CIGS
ผศ.ดร.รังสิมา ชาญพนา 101 การเพิ่มประสอทธิภาพของเซลล์แสงอาทิตย์ชนิด CIGS ด้วยโครงสร้างเซลล์แบบแทนเดม Perovskite-CIGS
ผศ.ดร.วีรมลล์ ไวลิขิต 78 เซลล์แสงอาทิตย์ชนิดเพอรอฟสไกด์ที่มีประสิทธิภาพสูงและราคาถูกเพื่อทดแทนการใช้เซลล์แสงอาทิตชนิดซิลิกอน / เคมีวิเคราะห์
ผศ.ดร.สุรเชษฐ์ ผดุงธิติธาดา 80 เซลล์แสงอาทิตย์ชนิดเพอรอฟสไกต์ / การสังเคราะห์สารประกอบควอนตัมดอท
รศ.ดร.เอกสิทธิ์ วงศ์ราษฎร์ 71 เซลล์แสงอาทิตย์ชนิดเพอรอฟสไกด์ที่มีประสิทธิภาพสูงและราคาถูกเพื่อทดแทนการใช้เซลล์แสงอาทิตชนิดซิลิกอน
รศ.ดร.พรจักร ศรีพัชราวุธ 77 การจำลองแบบเพื่อการเพิ่มประสิทธิภาพการแปลงพลังงานแสงอาทิตย์และเสถียรภาพเชิงโครงสร้างจองสารกึ่งตัวนำCH3NH3Pb1-xSnx(Br,Cl)y)3 และ CsSnxPb1-xI3 ในเซลล์แสงอาทิตย์ชนิดเพอรอฟสไกต์
รศ.ดร.พาวินี กลางท่าไค่ 80 การประดิษฐ์สารกึ่งตัวนำชนิดพีเพื่อประยุกต์ใช้ในเซลล์แสงอาทิตย์ชนิดเพอรอฟสไกต์
รศ.ดร.พิพัฒน์ เรือนคำ 76 เซลล์แสงอาทิตย์ชนิดเพอรอฟสไกด์ที่มีประสิทธิภาพสูงและราคาถูกเพื่อทดแทนการใช้เซลล์แสงอาทิตชนิดซิลิกอน
รศ.ดร.อัฐสิษฐ์ ทับทิมแท้ 99 เซลล์แสงอาทิตย์ชนิดเพอรอฟสไกด์ที่มีประสิทธิภาพสูงและราคาถูกเพื่อทดแทนการใช้เซลล์แสงอาทิตชนิดซิลิกอน
รศ.ดร.วิยะดา หาญชนะ 58 การประดิษฐ์สารกึ่งตัวนำชนิดพีเพื่อประยุกต์ใช้ในเซลล์แสงอาทิตย์ชนิดเพอรอฟสไกต์
นายสุธีร์ เงิมสันเทียะ 68 เจ้าหน้าที่พัฒนาธุรกิจ ที่ปรึกษาของ UBI มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นัจภัค สุขสวัสดิ์ 84 มีประสบการณ์ถ่ายทอดเทคโนโลยีเรื่องการแปรรูปวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรในระดับจังหวัดฉะเชิงเทรา 2 ครั้งให้กับกลุ่มเกษตรกร และเรื่องการใช้ประโยชน์ไผ่ไม้เศรษฐกิจในระดับตำบลของจังหวัดชลบุรี จังหวัดสุรินทร์ จังหวัดยโสธร และจังหวัดกาญจนบุรี ให้กับกลุ่มเกษตรกรรมทั้งเจ้าหน้าที่ภาครัฐ เช่น กรมพัฒนาชุมชน สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด และสำนักงานเกษตรกร เป็นผู้ช่วยศาสตราจารย์ด้านวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมและมีงานวิจัยตีพิมพ์เผยแพร่ด้าน Agricultural waste treatment and utilization
ผศ. ดร.วารุณี ศรีสงคราม 97 การพัฒนาชุมชนด้วยเทคโนโลยี, การควบคุมระบบการผลิตแบบอัตโนมัติ ( ระบบ IOT /นิวเมติก / โปรแกรมเมเบิ้ลคอนโทรลเลอร์/ การควบคุมระบบต่างๆ), พลังงานทดแทน ( การผลิตกระแสไฟฟ้าด้วยพลังงานแสงอาทิตย์ /พลังงานลม ),งานวิศวกรรมไฟฟ้าแรงสูง (การวิเคราะห์การเกิดทรานเซียนบนอุปกรณ์ไฟฟ้าแรงสูง , การตรวจวัดการเกิดดีสชาจน์)
ดร.พีรรัตน์ ดวงติ๊บ 56 เชี่ยวชาญในด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์ การแปรรูปอาหาร การใช้โปรแกรมทางสถิติ และการทดสอบทางประสาทสัมผัส
ผศ.ดร.สุพรรัตน์ ทองฟัก 57 มีความเชี่ยวชาญทางด้านต้นทุนและผลตอบแทน การศึกษาความเป็นไปได้ในการลงทุน การบัญชีและระบบสารสนเทศทางการบัญชี การบริหารจัดการด้านการเงิน และการวิเคราะห์ทางการเงินและมูลค่าทางเศรษฐกิจ
อาจารย์ปุณณะวุทฒ์ ยะมา 81 มีความเชี่ยวชาญทางด้านสรีรวิทยาทางการสืบพันธุ์
อาจารย์ สิริยาพร สาลีพันธ์ 40 การออกแบบแต่งกายรูปแบบอนุรักษ์ การออกแบบแต่งกายแฟชั่น(สมัยนิยม)จากผ้าทอพื้นเมือง
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ปรัชพงศ์ นับถือตรง 36 การอนุรักษ์พลังงานในอาคารและโรงงาน การใช้ประโยชน์จากพลังงานหมุนเวียน เช่น พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานลม พลังงานจากชีวมวล
นางสาว จรินทร โคตพรม 42 1.การนำองค์ความรู้เกี่ยวกับภูมิปัญญาท้องถิ่น การใช้สมนุนไพร มาประยุกต์ใช้การดูแลสุขภาพอาทิเช่น การป้องกันโรค การส่งเสริมสุขภาพ หรือการแก้ปัญหาสุขภาพเบื้องต้น 2.การนำองค์ความรู้ทางการพยาบาลในด้านการป้องกัน ดูแลรักษา ฟื้นฟู และส่เงสริมสุขภาพ
นางสาววนิดา ถาปันแก้ว 47 กระบวนกรค้นหาอัตลักษณ์ชุมชนเพื่อพัฒนากระบวนการผลิตผ้า ลายผ้า บรรจุภัณฑ์ผ้าทอ และจักสาน,กระบวนกรวิเคราะห์จุดอ่อนจุดแข็งของชุมชนและผู้ประกอบการ, การทำการตลาดออนไลน์, งานด้านการยกระดับเศรษฐกิจชุมชนด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์ในท้องถิ่น
รศ.ดร.กันต์ อินทุวงศ์ 24 1. เทคโนโลยีเครื่องผ่าไม้ไผ่ 2. การติดตั้งระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์และมีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบจากโซล่าเซลล์เพื่อการเกษตร
ดร.ณัฏวลิณคล เศรษฐปราโมทย์ 45 - การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร - การแปรรูปอาหาร - การทดสอบทางด้าน ประสาทสัมผัส - การศึกษาอายุการเก็บรักษาอาหาร
อ.สพ.ญ.ภรณ์ทิพย์ ทองมณี 33 พืชอาหารสัตว์ คุณค่าทางโภชนะ
ผศ.ดร.ศิรินาถ ศรีอ่อนนวล 35 เทคโนโลยีจุลชีววิทยาทางอาหาร
ชุติภัสร์ เรืองวุฒิ 33 "การปฏิบัติการพัฒนาอาหารและผลิตภัณฑ์ การตรวจสอบคุณภาพวัตถุดิบอาหาร การปรุงผลิตอาหาร และคุณภาพทางประสาทสัมผัส"
อาจารย์สุริยา ชัยวงค์ 37 เภสัชเวทและเภสัชพฤษศาสตร์ (การสกัดและแยกสารจากสมุนไพร) การทดสอบฤทธิ์ทางชีวภาพของสารในหลอดทดลองและสัตว์ทดลอง การพัฒนาผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ การศึกษาทางเซลล์และอณูชีววิทยา ในการตอบสนองต่อสารธรรมชาติหรือผลิตภัณฑ์สุขภาพ
ผศ. ดร.พรรณนภา หาญมนตรี 28 การประเมินทางประสาทสัมผัส/การพัฒนาผลิตภัณฑ์
ผศ.ดร.ธิติมา พานิชย์ 24 เทคโนโลยีการแปรรูปอาหาร การวิเคราะห์คุณค่าทาง โภชนาการอาหาร
ดร.ประชา คำภักดี 31 1. อิเล็กทรอนิกส์กำลัง (Power Electronics) 2. การขับเคลื่อนมอเตอร์ไฟฟ้า (Electric Motor Drives) 3. เครื่องจักรไฟฟ้า (Electrical Machines) 4. การควบคุมแบบเรียงลำดับ (Sequence Control System) 5. การวิเคราะห์วงจรไฟฟ้า (Electrical Circuit Analysis) 6. การประยุกต์ใช้งานระบบเซลล์แสงอาทิตย์ (Solar PV System) 7.ระบบสมองกลฝังตัว (Embedded System) และประยุกต์ใช้งานเทคโนโลยีไอโอที (ioT)
ดร.จารุวรรณ เอกสะพัง 32 นวัตกรรมผ้าทออีสาน
นางสาวจินดาพร ปัสสาโก 30 การพัฒนาผลิตภัณฑ์ผ้าทอมือมัดย้อมสีธรรมชาติ