ผศ.ว่าที่พันตรีดำรงค์ โลหะลักษณาเดช 127 -การขอรับรองมาตรฐานฟาร์มสัตว์น้ำ - GMP - HACCP - การประเมินคุณภาพทางประสาทสัมผัสและการทดสอบผู้บริโภค - Food Defense การป้องกันการก่อการร้าย การกลั่นแกล้ง การก่ออาชญากรรมทางอาหาร -Food Packaging -ฉลากโภชนาการและการใช้ Healthing Logo
นางสาวชนิดา ยุบลไสย 123 1. มาตรฐานระบบ GMP พืช 2. ตรวจวิเคราะห์คุณภาพน้ำ ดิน ปรับปรุงดิน
ดร.ละออทิพย์ ไมตรี 109 เทคโนโลยีการผลิตพืชผักเศรษฐกิจ เทคโนโลยีการเก็บเมล็ดพันธุ์ ตรวจประเมินมาตรฐานการผลิตพืชในระบบปลอดภัย
อ.แสงแข สพันธุพงศ์ 89 การพัฒนาและแปรรูปผลิตภัณฑ์ มาตรฐานผลิตภัณฑ์ การยืดอายุผลิตภัณฑ์ การพัฒนาตำรับอาหาร
ดร.กูรอซียะห์ ยามิรูเด็ง 124 1. การแปรรูปผลิตภัณฑ์จากข้าว เนื้อสัตว์ และการทำมาตรฐานผลิตภัณฑ์และสถานที่ผลิตอาหารต่างๆ. 2. การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารฮาลาลทั้งในผลิตภัณฑ์อาหารทั่วไปและอาหารอัตลักษณ์ท้องถิ่น
ดร.รณกร สร้อยนาค 104 ด้านการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต การยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์/ระบบมาตรฐาน บริการปรึกษาแนะนำการจัดทำระบบ GMP การวิจัย และพัฒนาผลิตภัณฑ์การแปรรูปอาหารทุกประเภท
นายสันติโรจน์ เกียรติศิริโรจน์ 97 การผลิต การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร สมุนไพร ระบบมาตรฐานทางด้านการเกษตร
ภัทรวดี เอียดเต็ม 105 พัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร, ยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์และสถานประกอบการ
อาจารย์ธวัลรัตน์ สัมฤทธิ์ 114 การพัฒนาผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ของอาหารหรือเครื่องดื่ม วิศวกรรมอาหารการออกแบบเครื่องจักรกลอาหาร กระบวนการแปรรูปอาหารระบบทำความเย็นในอุตสาหกรรมการจำลองสถานการณ์เชิงวิศวกรรม การวางแผนกระบวนการผลิตอาหารมาตรฐานความปลอดภัยของการผลิตอาหาร การจัดการผลผลิตทางการเกษตรหลังการเก็บเกี่ยว
อาจารย์ญาณิศา จินดาหลวง 100 การพัฒนาผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเกษตร เพื่อการสร้างมูลค่าเพิ่มและตอบสนองความต้องการของตลาด การแปรรูปผลิตผลทางการเกษตร การประเมินคุณภาพของผลิตภัณฑ์ทางด้านกายภาพเคมีจุลินทรีย์ประสาทสัมผัสและการยอมรับของผู้บริโภค มาตรฐานและความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์
อาจารย์สุรินทราพร ชั่งไชย 101 วิศวกรรมอาหาร การออกแบบเครื่องจักรกลอาหาร กระบวนการแปรรูปอาหารและการยืดอายุการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์ การออกแบบโรงงานอาหาร การวางแผนกระบวนการผลิตอาหาร มาตรฐานความปลอกภัยของอาหารในระดับสากล การประเมินคุณภาพอาหารและผลผลิตทางการเกษตรทางคุณสมบัติทางกายภาพและเคมี และเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว
นางสาวนุชเนตร ตาเยีะ 109 พัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร ยกระดับสถานประกอบการ ิวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร มาตรฐานฮาลาล แปรรูปข้าว
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อมลณัฐ ฉัตรตระกูล 118 การปลูกพืชอินทรีย์ สมุนไพร การอารักขาพืชด้วยสารชีวภัณฑ์ มาตรฐานการเกษตร GAP, PGS พืชอินทรีย์, ปุ๋ยชีวภาพ
อาจารย์รัตนากร แสนทำพล 164 การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร, การแปรรูปผลิตผลปศุสัตว์(เนื้อ นม ไข่) การทำมาตรฐานอาหารปลอดภัย, การทำมาตรฐานฟาร์ม
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วิจิตรา เหลียวตระกูล 115 1. การสกัดและวิเคราะห์สาระสาคัญจากผลผลิตทางการเกษตร 2. การวิเคราะห์คุณภาพอาหาร เทคโนโลยีแป้ง เทคโนโลยีอาหารผง มาตรฐานอาหาร 3. วิศวกรรมอาหาร โดยเฉพาะกระบวนการให้ความร้อนแก่อาหาร และการทาแห้งด้วยเทคนิคต่าง ๆ เช่น การทาแห้งแบบพ่นฝอย การทาแห้งแบบแช่เยือกแข็ง และการทาแห้งด้วยเตาอบลมร้อน เป็นต้น
ดร.วชิรญา เหลียวตระกูล 135 1. การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร ผลิตภัณฑ์เบเกอรี่ ขนมไทย ข้าวและธัญพืช วิเคราะห์คุณภาพอาหาร และมาตรฐานอาหาร 2.การพัฒนาฟิล์มบริโภคได้ (edible film) สาหรับพัฒนาเป็นบรรจุภัณฑ์อาหาร 3.เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว การยืดอายุการเก็บรักษาผลผลิตทางการเกษตร
อาจารย์จันทร์เพ็ญ บุตรใส 116 1. กฎหมายอาหารและมาตรฐานอาหาร 2.การยกระดับคุณภาพมาตรฐานผลิตภัณฑ์อาหาร อย. /มผช./ GMP/ Primary GMP 3.การสุขาภิบาลโรงงานและกฎหมายอาหาร 4.การแปรรูปผลิตภัณฑ์อาหาร 5.เทคโนโลยีผัก และผลไม้ 6.จุลชีววิทยาอาหาร
ผศ.ดร.สุกาญจน์ รัตนเลิศนุสรณ์ 104 "1.การผลิตสารชีวภาพและสารสกัดสาอาหารหลักรองและเสริม สารชีวภาพ สารปฏิชีวนะ ด้วยชีวเทคโนโลยี เทคโนโลยีนาโนและเทคโนโลยีเอนไซม์ร่วมกับกลไกหัวเชื้อจุลินทรีย์นาโน เพื่อการเกษตรอินทรีย์ ประมงอินทรีย์ มาตรฐานอินทรีย์ไทย 2.การแปรรูปวัสดุเหลอทิ้งจากโรงงานอุตสาหกรรมด้วยชีวเทคโนโลยี เทคโนโลยีนาโนและเทคโนโลยีเอนไซม์ร่วมกับกลไกหัวเชื้อจุลินทรีย์นาโน เพิ่มเพิ่มมูลค่า รายได้ ลดปัญหามลพิษสิ่งแวดล้อม "
ผศ.ดร.ดวงฤทัย ธำรงโชติ 118 1.อาจารย์ประจำหลักสูตรพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร2.วิทยากรให้ความรู้เรื่องการแปรรูปอาหาร/การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร/บรรจุภัณฑ์อาหาร/ การควบคุมคุณภาพผลิตภัณฑ์อาหาร3.กรรมการผู้ตรวจประเมินสถานประกอบการ และผลิตภัณฑ์ เพื่อขอการรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน
ผู้ช่วยศาสตราจารย์นพรัตน์ ภัยวิมุติ 118 IT , การพัฒนาระบบทางคอมพิวเตอร์ สื่อประชาสัมพันธ์ออนไลน์ ความเชี่ยวชาญที่ขึ้นทะเบียน อนุกรรมการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ สาขาอาชีพเจ้าพนักงานธุรการ โปรแกรมประมวลผลคำ สาขาอาชีพเจ้าพนักงานธุรการ โปรแกรมนำเสนอผลงาน สาขาอาชีพเจ้าพนักงานธุรการ โปรแกรมตารางทำการ
สุชาติ ปุริตธรรม 113 การออกแบบอุปกรณ์ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้สูงอายุ การออกแบบและพัฒนาแท่นเลื่อนสำหรับเครื่องเร้าเตอร์ ประธานอนุกรรมการกำหนดมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ สาขาช่างประกอบติดตั้งเฟอร์นิเจอร์ ระดับ 1 และระดับ 2 การผลิตและการออกแบบอุปกรณ์ช่วยการผลิต
นวลละออง อรรถรังสรรค์ 117 การบริหารการจัดาการชุมชนท้องถิ่น และการส่งเสริมด้านการตลาดและการทำมาตรฐาน
อัจฉรี จันทมูล 136 การพัฒนาการท่องเที่ยว และการบริหารจัดการชุมชน และการจัดทำมาตรฐาน
นางสาวณวรรณพร จิรารัตน์ 103 มีความเชี่ยวชาญด้านการเลี้ยงสัตว์ปีกเพื่อเศรษฐกิจ และการรับรองมาตรฐานฟาร์มสัตว์ปีก
ผศ.ดร.เอกสิทธิ์ อ่อนสอาด และ ผศ.ดร.วิริยา อ่อนสอาด 96 การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร/ การทำมาตรฐาน
รองศาสตราจารย์ ดร. รวีวรรณ เดื่อมขันมณี 94 โรคพืช อารักขาพืช การกลั่นน้ำมันหอมระเหยเพื่อควบคุมโรคพืชที่เกิดจากเชื้อรา การใช้น้ำส้มควันไม้ควบคุมโรคพืช การควบคุมโรคพืชโดยชีววิธี การใช้เทคโนโลยีผลิตเห็ด การศึกษาเห็ดเอ็คโตมัยคอร์ไรซา การผลิตพืชปลอดภัย ตรวจประเมินเกษตรอินทรีย์ข้าว สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ (มกอช.)
รศ.ดร.ธนิดา ผาติเสนะ 92 การทำและการใช้ผลิตภัณฑ์สมุนไพรอบตัว พัฒนากระโจมอบตัวสมุนไพรอบตัว การทำผลิตภัณฑ์ดระโจมอบตัวสมุนไพรให้ได้มาตรฐานตามมารตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน
นายสรศักดิ์ ประทิศ 103 การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร/การทำมาตรฐาน
ดร.ยุพารัตน์ โพธิเศษ 88 เทคโนโลยีแปรรูปอาหาร เทคโนโลยีผัก ผลไม้อบแห้ง มาตรฐานอาหารและระบบคุณภาพต่าง ๆ เช่น GMP HACCP ISO22000
นางหทัยรัตน์ เทพสถิตย์ 99 การทำสารชีวภัณฑ์ทางการเกษตร การปลูกผักอินทรีย์ การปลูกเมล่อนมาตรฐานอาหารปลอดภัยในโรงเรือน
อาจารย์สุชิรา นวลกำแหง 118 เก็บตัวอย่างดินของงานโยธาเพื่อวิเคราะห์ดิน - หาขนาดของเม็ดดิน - หาปริมาณความชื้นของดิน - หาความเหนียวของดิน 2. เก็บตัวอย่างดินของงานโยธาเพื่อวิธีบดอัดดินให้ได้ความแน่นสูงตามความต้องการหรือตามจุดประสงค์ของการใช้งาน โดยวิธีทดสอบมาตรฐาน เป็นการบดอัดดินในงานก่อสร้างโดยทั่วไป เช่น การทดสอบสำหรับควบคุมงานก่อสร้างถนน
ธานินทร์ นิ่มแสง 120 การทดสอบวัดสภาพต้านทานไฟฟ้าด้วยเครื่อง four point probe, การวัดสภาพต้านทานไฟฟ้าของกระจกเคลือบ ITO เพื่อนำวัสดุที่ได้ให้เป็นไปตามมาตรฐานในการใช้ในวิสาหกิจชุมชน
นางพิไลรัก อินธิปัญญา 96 วิศวกรรมอาหาร มาตรฐาน คุณภาพ
นางสาวเจิมขวัญ ศรีสวัสดิ์ 119 1. เครื่องใช้ ของตกแต่ง และของที่ระลึก การผลิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 2.เกณฑ์มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน (สิ่งทอ) 3.การย้อมสีธรรมชาติ (สิ่งทอ) 4.การเลี้ยงและแปรรูปผลิตภัณฑ์จากไหมอีรี่(สิ่งทอ)
ดร.จตุพร คงทอง 121 มาตรฐาน GMP ผลิตภัณฑ์นมและเนื้อสัตว์
นายสืบศักดิ์ ก้อนคำดี 100 การย้อมสีธรรมชาติ / เคมี การตกแต่งผ้าไหม (กลิ่น นุ่มลื่น NANO) การตรวจสอบคุณภาพ มาตรฐานผลิตภัณฑ์สิ่งทอ
นางสาวอมรรัตน์ เฉลิมรัตน์ 100 การแปรรูปผลิตภัณฑ์สิ่งทอ (เสื้อผ้า กระเป๋า ของใช้ภายในบ้าน) การจัดการสิ่งทอ การแปรรูปผลิตภัณฑ์สิ่งทอ (เสื้อผ้า กระเป๋า ของใช้ภายในบ้าน) การจัดการสิ่งทอ การย้อมสีธรรมชาติ / เคมี การตกแต่งผ้าไหม (กลิ่น นุ่มลื่น NANo) การตรวจสอบคุณภาพ มาตรฐานผลิตภัณฑ์สิ่งทอ
ดร.อรทัย บุญทะวงศ์ 93 การแปรูปผลิตภัณฑ์ด้านอาหาร การเก็บรักษา การเลือกใช้บรรจุภัณฑ์ การยืดอายุการเก็บรักษา และการพัฒนาสถานที่การผลิตอาหารเพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐาน อย.
น.ส.ชณิชา จินาการ 106 ให้คำปรึกษาพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารให้ได้มาตรฐาน มผช ,มาตรฐาน GMP การพัฒนาผลิตภัณฑ์ด้านอาหาร
ดร.ภัทราภรณ์ ศรีสมรรถการ 137 1. เทคโนโลยีการผลิตและพัฒนาคุณภาพผัก-ผลไม้และผลิตภัณฑ์ (เครื่องดื่มคุณภาพไวน์) 2.เทคโนโลยีเนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์ 3.การจัดการมาตรฐานและความปลอดภัยในการผลิตอาหารและเครื่องดื่ม
ผศ.ดร. จิรภา พงษ์จันตา 96 1.เทคโนโลยีการผลิตและพัฒนาผลิตภัณฑ์จากธัญพืชและพืชหัว 2.การจัดการมาตรฐานและความปลอดภัยในการผลิตอาหารและเครื่องดื่ม
อาจารย์ ดร.พจนีย์ แสงมณี 95 เคมีวิเคราะห์ขั้นสูง การตรวจวิเคราะห์ดินและการใช้ปุ๋ยอย่างถูกวิธีเพื่อเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร การใช้สารชีวภัณฑ์ทางการเกษตร การขอมาตรฐานทางการเกษตร
อาจารย์ ดร. นันทา เป็งเนตร์ 114 1.การแปรรูปและพัฒนาผลิตภัณฑ์ผักและผลไม้ 2.ระบบมาตรฐานการผลิตอาหาร 3.การตรวจวิเคราะห์คุณภาพอาหารทางด้านจุลินทรีย์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์วราศรี แสงกระจ่าง 131 1. เทคโนโลยีและกระบวนการแปรรูป/การเลือกบรรจุภัณฑ์/การทำฉลากโภชนาการ และการยืดอายุการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์แป้งข้าวเล็บนกและการแปรรูปเป็นขนมอย่างง่าย 2. การส่งเสริมความพร้อมของผู้ประกอบการด้านการผลิตอาหารปลอดภัยตามมาตรฐานอาหาร (GMP/อย./ฮาลาล) สำหรับการผลิตแป้งข้าวและขนมจากแป้งข้าว
อาจารย์ ดร.นางดรุณี นาคเสวี 107 1 การแปรรูปและพัฒนาผลิตภัณฑ์ผักและผลไม้ 2 ระบบมาตรฐานการผลิตอาหาร 3 การตรวจวิเคราะห์คุณภาพอาหารทางด้านเคมี
อาจารย์วรรณกนก เขื่อนสุข 92 1 การแปรรูปและพัฒนาผลิตภัณฑ์ผักและผลไม้ 2 ระบบมาตรฐานการผลิตอาหาร
ผศ.ดร.เสาวคนธ์ เหมวงษ์ 75 การส่งเสรืมการเกษตรโดยมุ้งเน้นเทคโนโลยีที่ถ่ายทอดการทำข้าวอินทรีย์ -การจัดการหลังการเก็บเกี่ยง -การแปรรูป -ใบรับรองมาตรฐาน -การจัดจำหน่าย
ผู้ช่วยศาสตราจารย์จิตติมา พีรกมล 94 1. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร 2.การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร/การทำมาตรฐาน 3.เทคโนโลยีการส่งเสริมด้านการตลาด
อาจารย์ ดร.นภศูล ศิริจันทร์ 103 จุลชีววิทยา จุลชีววิทยาทางการแพทย์ พืชสมุนไพรยับยั้งแบคทีเรียและจุลชีพอื่นๆ การตรวจสอบจุลินทรีย์ในอาหาร มาตรฐานผลิตภัณฑ์ (อาหาร เครื่องสำอาง สมุนไพรที่ไม่ใช่อาหาร ฯลฯ)
นายนิรันดร หนักแดง 80 - เทคโนโลยีการตัดแต่งซากแพะ เพื่อยกระดับและเพิ่มมูลค่าให้กับเนื้อแพะ - เทคโนโลยีการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากแพะเพื่อเพิ่มมูลค่า ด้วย วทน. - เทคโนโลยีการเพิ่มรสสัมผัสปรุงแต่งเนื้อแพะ ด้วย วทน. - เทคโนโลยี กระบวนการผลิตเพื่อ ยกระดับ ผลิตภัณฑ์แปรรูป ที่ได้มาตรฐานฮาลาล - กระจัดการวางแผนกระบวนการตลาดและการจัดจำหน่าย
อาจารย์ น.สพ.เอลฮัม แวฮามะ 80 - การทอดเทคโนโลยีการผลิตโคเนื้อที่ได้ มาตรฐาน
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ซารีนา สือแม 101 - มาตรฐานฟาร์มแพะเนื้อ และแพะนม
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จักรพันธ์ พิชญพิพัฒกุล 78 - การถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตโคเนื้อที่ได้มาตรฐาน
นางสาวอำพร ท่าดะ 110 ตรวจวิเคราะห์คุณภาพน้ำทางจุลชีววิทยา เช่น Escherichia coli โคลีฟอร์มแบคทีเรีย และการปนเปื้อนของแบคทีเรีย ให้เป็นไปตามเกณฑ์คุณภาพน้ำของกรมอนามัย ตรวจวิเคราะห์คุณภาพอาหารทางจุลชีววิทยา เช่น จำนวนจุลินทรีย์ทั้งหมด การปนเปื้อนของแบคทีเรีย ให้เป็นไปตามมาตรฐาน มผช. ตรวจวิเคราะห์การปนเปื้อนเชื้อจุลินทรีย์ในตัวอย่างวัตถุดิบสมุนไพร เช่น จำนวนแบคทีเรียทั้งหมด จำนวนยีสต์และราทั้งหมด Escherichia coli, Staphylococcus aureus, Enterobacteria การทดสอบตัวอย่างและผลิตภัณฑ์ต่างๆ ด้วยเทคนิกทางจุลชีววิทยาให้เป็นไปตามมาตรฐาน มผช. ให้บริการวิชาการทางด้านวิชาปฏิบัติการทางชีววิทยาให้แก่บุคลากรทางการศึกษาและนักเรียนในโรงเรียน
ผู้ช่วยศาสตราจารย์เดือนรุ่ง เบญจมาศ 76 ระบบคุณภาพอาหาร 1. การเตรียมความพร้อมด้านมาตรฐานสินค้าเกษตรแปรรูป สู่ตลาด AEC 2. การจัดระบบ GMP และ อย. 3. การจัดการวัตถุดิบด้านการเกษตรให้มีมูลค่าเพิ่ม
ผู้ช่วยศาสตราจารย์เดือนรุ่ง เบญจมาศ 90 1. การยกระดับผลิตภัณฑ์อาหาร 2. การแปรรูปอาหาร และผลผลิตทางการเกษตร 3. การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร 4. การวิจัยด้านการพัฒนามาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร ให้มีความปลอดภัย
ศูนย์วิจัยและพัฒนานวัตกรรมสินค้าเกษตรและอาหาร ภาคต 92 ศูนย์วิจัยและพัฒนานวัตกรรมสินค้าเกษตรและอาหาร ภาคตะวันออก คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี จันทบุรี เป็นหน่วยสนับสนุนการเรียนการสอน การวิจัย แลบริการวิชาการ มีหน้าที่หลักดังต่อไปนี้ 1. ทดสอบมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร ISO/IEC 17025 ทดสอบตัวอย่างสินค้าด้านการเกษตร เช่น ดิน น้ำ ใบ ผลผลิตทางการเกษตร และผลิตภัณฑ์จากการเกษตร เช่น ผลิตภัณฑ์อาหารแปรรูป น้ำส้มควันไม้ น้้ำดื่ม น้ำพริก ซอส เป็นต้น ทางศูนย์ทดสอบจะทำการวิเคราะห์เพื่อวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1.1 เฝ้าระวังมาตรฐานสินค้าให้ตรงกับมาตรฐานภานในและต่างประเทศ 1.2 ออกใบรายงานผลให้สอดคล้องกับมาตรฐานภานในและต่างประเทศ 1.3 วิเคราะห์สารเคมี และยาฆ่าแมลงตกค้างในผลผลิต และผลิตภัณฑ์แปรรูป 1.4 วิเคราะห์ฉลากโภชนา 1.5 วิเคราะห์จุลินทรีย์ 1.6 วิเคราะห์น้ำเพื่อการอุปโภคบริโภค 2. วิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ด้านเกษตรและอาหาร ทำการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่ใช้พืชปลทางการเกษตร ในภาคตะวันออก เพื่อรองรับการแปรรุปผลผลิตใหม่ๆ สู่ตลาดในยุยไทยแลนด์ 4.0 3. บริการวิชาการ ฝึกอบรม และให้คำปรึกษา เป็นศูนย์บริการให้คำปรึกษาด้านคุณภาพอาหาร และการขึ้นทะเบียนกับหน่วยงานรัฐ เช่น มผช. OTOP อย. และมาตรฐานสากลได้แก่ GMP/HACCP/ISO/HALAL/BRC เป็นต้น และยังเป็นที่ฝึกอบรมด้านการแปรรูปการเกษตร และอื่นๆ ตามโจทย์ท้องถิ่น 4. เป็นพี่เลี้ยงด้านระบบคุณภาอาหาร เป็นพี่เลี้ยงหน้างาน ให้บริการถึงสถานที่ เพื่อคอยแนะนำให้ผู้ประกอบการทุกระดับ ไม่ว่าจะกลุ่มแม่บ้าน วิสาหกิจชุมชน SME เข้าถึงการแปรรูปที่ถูกต้อง และจัดการสถานที่ให้เป็นไปตามมาตรฐานที่ต้องการ รวมทั้งการประยุกต์ใช้ระบบประกันคุณภาพอาหาร ในสถานประกอบการ สถานที่ติดต่อ ศูนย์วิจัยและพัฒนานวัตกรรมสินค้าเกษตรและอาหาร ภาคตะวันออก หลักสูตรวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี เลขที่ 41 ม.5 ต.ท่าช้าง อ.เมือง จ.จันทบุรี 22000 โทรศัพท์ 061 6605306 E mail Classforecastrbru@hotmail.com
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุนิษา สุวรรณเจริญ 88 - พัฒนาผลิตภัณฑ์ชาใบขลู่ และพัฒนาผลิตภัณฑ์แชมพูและครีมนวดผมสมุนไพร - พัฒนาบรรจุภัณฑ์ - พัฒนากระบวนการผลิต - มาตรฐาน อย. หรือ มผช. - มาตรฐาน การจดแจ้งเครื่องสำอาง
ดร.จันทิรา วงศ์วิเชียร 128 -การส่งเสริมความพร้อมของผู้ประกอบการด้านการผลิตอาหารปลอดภัยตามมาตรฐานอาหาร (GMP/อย./ฮาลาล) -การแปรรูปผลิตภัณฑ์อาหารสำหรับการผลิตขนมอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์เดือนรุ่ง เบญจมาศ 94 การแปรรูปผลไม้ เช่น มังคุด สละ เงาะ ทุเรียน ลำไย มะพร้าว และอื่นๆ ให้เป็นสินค้าประเภท ผลไม้ลอยแก้ว กวน หยี แยม ทอฟฟี่ น้ำ 100% 80% 60% หรือขึ้นอยู่กับความต้องการของชุมชน เพื่อยกระดับมาตรฐานการแปรรูป ให้ทันต่อการแข่งขัน
นางสาวจีรภัทร พลอยขาว 90 อาหารและโภชนาการ การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร / การทำมาตรฐาน, วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร
ดร.อนิตทยา กังแฮ 77 แปรรูปอาหาร เครื่องสำอาง การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร / การทำมาตรฐาน, การแพทย์แผนไทย/พัฒนายา/สมุนไพร/สุขภาพ/ความงาม
นางสาวกมลวรรณ สุขสวัสดิ์ 77 การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร / การทำมาตรฐาน, พืชผัก ผักพื้นบ้าน สมุนไพร, วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร, การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร อาหารและโภชนาการ ขนมอบ การจัดดอกไม้ การแต่งหน้าเค้ก การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร อาหารและโภชนาการ ขนมอบ การจัดดอกไม้ การแต่งหน้าเค้ก
ดร.พีรพงษ์ พึ่งแย้ม 108 การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร / การทำมาตรฐาน, พืชผัก ผักพื้นบ้าน สมุนไพร, เทคโนโลยีข้าวและเมล็ดพันธุ์, วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร, การแพทย์แผนไทย/พัฒนายา/สมุนไพร/สุขภาพ/ความงาม ชีวเคมีโมเลกุลของพืชและสัตว์ สารต้านอนุมูลอิสระและสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพจากข้าวและพืชสมุนไพร อาหารและโภชนาการ ผลิตภัณฑ์สุขภาพและความงาม (Molecular Biochemistry of Plants and Animals, Antioxidants and Biological Activity of Rice and Medicinal Plants, Food and Nutrition, Healthy Products and Cosmetics)
นางสาวภคมน กุลนุวงค์ 86 การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร / การทำมาตรฐาน, พืชผัก ผักพื้นบ้าน สมุนไพร, วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร ด้านอาหารว่าง อาหารประเภทของฝาก
ดร.สัญชัย ยอดมณี 117 การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร / การทำมาตรฐาน, วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร, เทคโนโลยีกลิ่นรส (Flavour sciences) "1. การวิคราะห์รูปแบบของกลิ่น และรสชาติในอาหาร 2. การวิเคราะห์คุณภาพของผลิตภัณฑ์อาหาร 3. กระบวนการและเทคโนโลยีการแปรรูปอาหาร"
นางสาวน้ำทิพย์ เรืองดี 102 มีความเชี่ยวชาญการจัดทำมาตรฐานอาหาร ได้แก่ การขออนุญาตสถานที่ผลิตอาหาร และการขออนุญาตผลิตอาหาร (ขอเลขสารบบอาหาร / เลข อย.) รวมถึงระบบ GMP, Halal และระบบ HACCP
สุทธิรักษ์ ผลเจริญ 96 1) ปรับปรุงพันธุ์พืช 2) สรีรวิทยาของพืช 3) เคมีวิเคราะห์ขั้นสูง 4) เทคโนโลยีชีวภาพทางพืช 5) สารพิษตกค้างทางการเกษตร 6) มาตรฐานการรับรองทางด้านการเกษตร // เกษตรอินทรีย์ 7) ระบบการให้น้ำแบบอัจฉริยะ
มัลลิกา จินดาซิงห์ 91 1) การใช้เครื่องหมาย โมเลกุลในการปรับปรุงพันธุ์พืช 2) เทคโนโลยีชีวภาพทางพืช 3) จุลินทรีย์ทางการเกษตร 4) การวิเคราะห์สารสำคัญทางพืช 5) สารพิษตกค้างทางการเกษตร 6) มาตรฐานการรับรองทางด้านการเกษตร
ดร.ศศิธร เพชรแสน 85 ระบบการจัดการผักปลอดภัย และการรับรองมาตรฐาน
ดร.ฐิระ ทองเหลือ 74 การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร การทำมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ออแกนิค ไทยแลนด์ การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียง เกษตรทฤษฎีใหม่ เกษตรอินทรีย์ กระบวนการผลิตพืชอินทรีย์ การพัฒนาชุมชนตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
ดร.ทัศนีย์ ธรรมติน 92 การส่งเสริมเกษตรกรเข้าสู่มาตรฐานเกษตร เช่น GAP หรือ Organic
นายนเรศ ใหญ่วงศ์ 113 1) ที่ปรึกษา และผู้ทวนสอบ เกี่ยวกับคาร์บอนฟุตพริ้นท์ของผลิตภัณฑ์ และองค์กร , โครงการลดก๊าซเรือนกระจกภาคสมัครใจตามมาตรฐานของประเทศไทย (T-VER) 2)ที่ปรึกษาการพัฒนาระบบพลังงานแสงอาทิตย์สำหรับการผลิตไฟฟ้า การอบแห้ง และการเกษตรสมัยใหม่ 3) ที่ปรึกษาการพัฒนาการแปรรูปชีวมวลเชิงพาณิยช์
ผศ.ดร.ปิยพร ศรีสม 112 1. การตั้งตำรับเครื่องสำอาง-เวชสำอางจากผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ 2. การตรวจวิเคราะห์ทางเคมีเพื่อควบคุมคุณภาพและมาตรฐานผลิตภัณฑ์
ดร.ภัทธนาวรรณ์ ฉันท์รัตนโยธิน 112 วุฒิการศึกษาปริญญาตรี วท. บ. (ชีววิทยา) วุฒิการศึกษาปริญญาโท วท.ม.(พิษวิทยาทางอาหารและโภชนาการ) วุฒิการศึกษาปริญญาเอก Ph.D.Biotechnology ความเชี่ยวชาญ 1. เทคโนโลยีชีวภาพ 2. มาตรฐานเกษตรอินทรีย์ 3. พัฒนาผลิตภัณฑ์สินค้าเกษตร
นางสาวนงคราญ มหาวัง 97 วุฒิการศึกษาปริญญาตรี วศ.บ. (วิศวกรรมอาหาร) วุฒิการศึกษาปริญญาโท บธ.ม.บริหารธุรกิจ ความเชี่ยวชาญ 1.วิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ 2.วิศวกรรมอาหาร 3.บริหารธุรกิจ 4.มาตรฐานเกษตรอินทรีย์
สพ.ญ.ดร.พิมพ์ชนก โล่ห์ทองคำ 113 การผลิตโคเนื้อปลอดภัยตามมาตรฐาน GAP และฟาร์มมาตรฐาน
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ภานุวัฒน์ ทรัพย์ปรุง 75 การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร/การทำมาตรฐาน
ปริญญวัตร ทินบุตร 102 การนำสินค้า OTOP เข้าสู่มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน
อ.ธนพัฒน์ สุระนรากุล 107 ลดต้นทุนการผลิต เพิ่มมูลค่าสินค้า มาตรฐาน GMP อย. การสร้างแบรนด์ และการส่งเสริมการขาย
อาจารย์วรรภา วงษ์แสงธรรม 102 การยกระดับมาตรฐาน สินค้า นวัตกรรมอาหาร
รศ.ดร.ดุสิต อธินุวัฒน์ 115 มาตรฐานการเกษตร การจัดการแปลงในการขอรับมาตรฐาน การใช้จุลินทรีย์ผลิตปุ๋ยหมัก
อาจารย์ศศิวัลย์ พูลสวัสดิ์ 96 มาตรฐานอาหาร, การจัดการ, วิทยากรชุมชน
ดร.เอนก ศรีสุวรรณ 77 การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร/การทำมาตรฐาน
นางสาวจุฑามาศ ทองสุวรรณ์ 98 ด้านการจัดทำมาตรฐาน อย. การจัดทำระบบ GMP&HACCP และการออกแบบกระบวนการผลิตและออกแบบแผนผังการผลิต
ดร.อรทัย บุญทะวงศ์ 123 การแปรูปผลิตภัณฑ์ด้านอาหาร การเก็บรักษา การเลือกใช้บรรจุภัณฑ์ การยืดอายุการเก็บรักษา และการพัฒนาสถานที่การผลิตอาหารเพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐาน อย.
น.ส.ชณิชา จินาการ 114 ให้คำปรึกษาพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารให้ได้มาตรฐาน มผช ,มาตรฐาน GMP การพัฒนาผลิตภัณฑ์ด้านอาหาร การถนอมอาหาร และการเก็บรักษา ด้านการตรวจคุณภาพอาหาร
นายปฐมศร จุฑะกนก 106 ห้องปฏิบัติการทดสอบมาตรฐาน ISO/IEC 17025
ดร.ภัทราภรณ์ ศรีสมรรถการ 94 1. เทคโนโลยีการผลิตและพัฒนาคุณภาพผัก-ผลไม้และผลิตภัณฑ์ (เครื่องดื่มคุณภาพไวน์) 2.เทคโนโลยีเนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์ 3.การจัดการมาตรฐานและความปลอดภัยในการผลิตอาหารและเครื่องดื่ม
ผศ.ดร. จิรภา พงษ์จันตา 119 1.เทคโนโลยีการผลิตและพัฒนาผลิตภัณฑ์จากธัญพืชและพืชหัว 2.การจัดการมาตรฐานและความปลอดภัยในการผลิตอาหารและเครื่องดื่ม
ดร.ชูขวัญ เตชานนท์ 99 - การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร และสูตรอาหาร - การออกแบบบรรจุภัณฑ์อาหาร - มาตรฐานอาหารและสุขาภิบาลอาหาร
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สมหวัง เล็กจริง 106 - เทคโนโลยีการแปรรูปอาหาร - การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร และสูตรอาหาร - มาตรฐานอาหารและสุขาภิบาลอาหาร
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปารมี หนูนิ่ม 107 - จุลชีววิทยาอาหาร - การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร และสูตรอาหาร - มาตรฐานอาหารและสุขาภิบาลอาหาร
ผศ. มานพ ธรสินธุ์ 88 การใช้ประโยชน์ไม้มีค่าในพื้นที่ และการผลิตถ่านและน้ำส้มควันไม้ที่ได้มาตรฐานทางการเกษตร
นางสาวนชพรรณ จั่นทอง 128 การพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนให้สามารถยกระดับมาตรฐานและตอบโจทย์กลุ่มตลาดใหม่
นายทินกร คุณะแสงคำ 70 มาตรฐาน ISO/IEC 17025
ผศ.ดร.ศศิธร ใบผ่อง 112 มาตรฐานการผลิต การวิเคราะห์คุณภาพ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ อายุการเก็บรักษา การปรับปรุงคุณภาพ การเเปรรูป พัฒนากระบวนการผลิต
รศ.ดร.วิชัย ฉัตรทินวัฒน์ 112 การบริหารงานผลิต และ ระบบคุณภาพ, การพัฒนาผลิตภัณฑ์และการผลิตสำหรับสินค้าโอทอป เเละการวิเคราะห์และลดต้นทุนการผลิตด้วยหลักการมาตรฐาน ISO14051 บัญชีต้นทุนการไหลวัสดุ
ผศ.ดร. ณฐิตากานต์ พยัคฆา 115 การส่งเสริมเกษตรพัฒนาชนบท การพัฒนามาตรฐานสินค้าเกษตร มาตรฐานสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ไทย การยกระดับสินค้าทางการเกษตรเพื่อการรับรองมาตรฐาน อย.
ผศ.ดร. มานิดา เชื้ออินสูง 80 การตลาดแห้วปลอดภัยตามมาตรฐานจีเอพีและแห้วอินทรีย
ผศ.ดร.กัญลยา มิขะมา 117 การพัฒนาระบบการเกษตรสู่มาตรฐานการผลิต (GAP/อินทรีย์) การบริหารจัดการชุมชน เพื่อส่งเสริมการเกษตรให้ได้มาตรฐาน
คุณรัตนา นวลทอง 90 มาตรฐานผลิตภัณฑ์ อย./สถานที่ผลิต
ดร.สุทธิดา ปัญญาอินทร์ 99 การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร/การทำมาตรฐาน, วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร และ ด้านพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร
นายศุภศักดิ์ หนูเจริญ 82 การรักษาเมล็ดพันธุ์ข้าว การขอรับรองมาตรฐานข้าว
ดร.ศิริพรรณ จีนะบุญเรือง 98 โลจิสติกส์และโซ่อุปทาน มีประสบการณ์ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุุมชน การจัดการด้านบรรจุภัณฑ์ การสร้างมาตรฐานผลิตภัณฑ์ การตลาดในรูปแบบดิจิทัล
ดร.อรทัย บุญทะวงศ์ 57 การแปรูปผลิตภัณฑ์ด้านอาหาร การเก็บรักษา การเลือกใช้บรรจุภัณฑ์ การยืดอายุการเก็บรักษา และการพัฒนาสถานที่การผลิตอาหารเพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐาน อย.
นางวัชรี เทพโยธิน 96 การแปรูปผลิตภัณฑ์ด้านอาหาร การเก็บรักษา การเลือกใช้บรรจุภัณฑ์ การยืดอายุการเก็บรักษา และการพัฒนาสถานที่การผลิตอาหารเพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐาน อย.
น.ส.ชณิชา จินาการ 77 ให้คำปรึกษาพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารให้ได้มาตรฐาน มผช ,มาตรฐาน GMP การพัฒนาผลิตภัณฑ์ด้านอาหาร การถนอมอาหาร และการเก็บรักษา ด้านการตรวจคุณภาพอาหาร
นายธีรวัฒน์ เทพใจกาศ 113 การแปรูปผลิตภัณฑ์ด้านอาหาร การเก็บรักษา การเลือกใช้บรรจุภัณฑ์ การยืดอายุการเก็บรักษา และการพัฒนาสถานที่การผลิตอาหารเพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐาน อย.
นางสาวพวงเพชร ฤทธิพรพันธุ์ 79 การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร/การทำมาตรฐาน / คอมพิวเตอร์/เทคโนโลยีสารสนเทศ /การบริหารจัดการชุมชน/การจัดการองค์กรส่วนท้องถิ่น
ดร.ภัทราภรณ์ ศรีสมรรถการ 95 1. เทคโนโลยีการผลิตและพัฒนาคุณภาพผัก-ผลไม้และผลิตภัณฑ์ (เครื่องดื่มคุณภาพไวน์) 2.เทคโนโลยีเนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์ 3.การจัดการมาตรฐานและความปลอดภัยในการผลิตอาหารและเครื่องดื่ม
ผศ.ดร. จิรภา พงษ์จันตา 83 1.เทคโนโลยีการผลิตและพัฒนาผลิตภัณฑ์จากธัญพืชและพืชหัว 2.การจัดการมาตรฐานและความปลอดภัยในการผลิตอาหารและเครื่องดื่ม
ดร.ศักยะ สมบัติไพรวัน 150 2553 - ผู้ช่วยสอนนักศึกษาปริญญาตรี รายวิชาปฐพีกลศาสตร์ สาขาวิชาวิศวกรรมเกษตร 2554-2555 - ผู้ช่วยวิจัย งานเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว ศึกษาความสามารถในการยืดอายุการเก็บรักษามะม่วงน้ำดอกไม้โดยใช้ถ่านกัมมันต์ดูดซับเอทิลีนในบรรจุภัณฑ์ระหว่างการขนส่ง 2558 - ผู้ช่วยสอนนักศึกษาปริญญาตรี รายวิชาจุลชีววิทยาอาหาร สาขาวิชาวิศวกรรมเกษตร 2563 - นักวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ ศูนย์อนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี 2564 - หัวหน้าโครงการการพัฒนาศักยภาพผลิตภัณฑ์ท้องถิ่นด้วยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม (12 ผลิตภัณฑ์) ภายใต้โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี - เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป หน่วยบริการวิชาการชุมชน เทคโนธานี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี 2564 - ผู้ช่วยวิจัยโครงการการตรวจสอบชนิดและปริมาณการปนเปื้อนของสารหนูด้วยเทคนิคขั้นสูงจากเครื่องกำเนิดแสงซินโครตรอน รหัสโครงการ PRP6205012260 สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์กรมหาชน) 2565 - นักวิจัยหลังปริญญาเอก สาขาวิชาเทคโนโลยีอาหาร ภายใต้สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี - คณะกรรมการดำเนินการคัดสรรสุดยอดหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ไทย ปี พ.ศ. 2565 จ. นครราชสีมา ตรวจสอบและกลั่นกรองผลิตภัณฑ์ประเภทสมุนไพรที่ไม่ใช่อาหาร (คำสั่งจังหวัดนครราชสีมา ที่ 4785/2565 ลงวันที่ 5 พฤษภาคม 2565) - ที่ปรึกษา/ผู้วิจัย กิจกรรมการสร้างผู้ประกอบการชุมชน (Local Startups) ประจำปี 2564 ภายใต้แผนงานส่งเสริมการนำนวัตกรรมไปใช้ประโยชน์ในพื้นที่เพื่อพัฒนาชุมชนและสังคม (Area based Innovation for Community) เทคโนธานี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี โครงการเลขที่ TN026/2565 เรื่อง การพัฒนาสูตรแชมพูสมุนไพรตามคุณค่าทางวิชาการและควบคุมคุณลักษณะให้ผ่านมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน (The evaluation of herbal shampoo according to the community product standards) วิสาหกิจชุมชนกลุ่มเกษตรกรรวมใจบ้านไกลเสนียด อ.ท่าตูม จ.สุรินทร์ - ที่ปรึกษา/ผู้วิจัย กิจกรรมการสร้างผู้ประกอบการชุมชน (Local Startups) ประจำปี 2564 ภายใต้แผนงานส่งเสริมการนำนวัตกรรมไปใช้ประโยชน์ในพื้นที่เพื่อพัฒนาชุมชนและสังคม (Area based Innovation for Community) เทคโนธานี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารีโครงการเลขที่ TN028/2565 เรื่อง การวัดสมบัติทางเคมี-กายภาพ สเปรย์บรรเทาอาการปวดและแมลงสัตว์กัดต่อยเพื่อทำมาตรฐานการผลิตและส่งเสริมการขาย ( A study of chemo-physical properties of pain and insect bites relief spray to standardize production and marketing campaigns) วิสาหกิจชุมชนแปรรูปสมุนไพรหนองสมอ อ.คง จ.นครราชสีมา - ผู้ช่วยวิจัย โครงการสำรวจความเป็นไปได้ในการใช้ประโยชน์จากของเสียในโรงงานผลิตไส้ กรอก (กู้คืนและปรับสภาพน้ำมันสำหรับใช้เป็นพลังงาน) โรงงานไส้กรอก อ.ขามทะเลสอ จ.นครราชสีมา
อาจารย์ ดร.พรวิชัย เต็มบุตร 105 1.การแปรรูปสินค้าเกษตรสู่ผลิตภัณฑ์มูลค่าสูง แปรรูปสินค้าเกษตร สู่ผลิตภัณฑ์มูลค่าสูง ทางด้านอาหารและเครื่องสำอาง โดยใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมในการแปรรูป 2.การพัฒนาผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร พัฒนาผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร ตั้งแต่ การแปรรูป คิดค้นสูตร ออกแบบสูตร ทดลองคุณภาพ ประสิทธิภาพ และความปลอดภัย การพัฒนาผลิตภัณฑ์ไปสู่มาตรฐานที่สูงขึ้น 3.การทดสอบผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร ทดสอบคุณสมบัติทางเคมี-กายภาพ คุณสมบัติความคงตัว ทดสอบคุณภาพ ประสิทธิภาพ และความปลอดภัย 4.ชีวเคมี ชีวฟิสิกส์ ระบบนำส่งยา การศึกษา ค้นคว้า ที่เกี่ยวข้องกับการตรวจสอบกลไกการออกฤทธิ์ของสารสำคัญ ตัวยา
ดร.พท.ยมล พิทักษ์ภาวศุทธิ 86 1.เภสัชเวทและเภสัชพฤกษศาสตร์ การจัดทำมาตรฐานของสมุนไพร การสกัดสารสำคัญจากสมุนไพร การแยกสารสำคัญ การวิเคราะห์ปริมาณสารสำคัญในพืชสมุนไพร การศึกษาฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาของสมุนไพร
นางสุภัทรตรา สุขะ 90 การตรวจวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์อาหาร การตรวจมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน
อ.นวรัตน์ เมืองเล็น 76 มาตรฐาน มผช. ตรวจมาตรฐานห้อง Lab
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธนกร ราชพิลา 133 ผู้กำหนดกระบวนการฆ่าเชื้อด้วยความร้อนในการผลิตอาหารในภาชนะบรรจุ ที่ปิดสนิทชนิดที่มีความเป็นกรดต่ำและชนิดปรับกรด (Process Authority) การพัฒนาผลิตภัณฑ์ด้วยวิธีระเหยน้ำแบบพ่นฝอย (Spray Drying) การพัฒนาผลิตภัณฑ์ด้วยวิธีระเหิด (Freeze Drying) การพัฒนาเทคโนโลยีการแปรรูปอาหารสมัยใหม่ที่ไม่ใช้ความร้อน (Novel food Technology) การจัดการสายโซ่อุปทานอุตสาหกรรมเกษตร การบริหารคุณภาพอาหาร สมุนไพร ตามมาตรฐานอาหารสากล การปรับปรุงกระบวนการผลิตเพื่อเพิ่มผลผลิต สถิติในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ การวางแผน ควบคุมและติดตามกระบวนการผลิต
ผศ.วิภาดา มุนินทร์นพมาศ 95 ดำเนินการโครงการกับวว และสปอว.ตั้งแต่ปี 2560-2566 อย่างต่อเนื่องจนถึงปัจจุบันโดยทำการพัฒนาและยกระดับกลุ่มวิสาหกิจชุมชนในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนใต้ต้านต่าง ๆ ดังนี้ 1.ด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์ - ปี 2560 พัฒนาผลิตภัณฑ์ส้มแขกสามรส น้ำส้มแขกเข้มข้น และน้ำพริกเผาส้มแขก ให้กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรบ้านท่าสาป เลขที่ 79 บ้าน ท่าสาป อ.เมือง จ.ยะลา 95000 (สนับสนุนโดยสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ;วว.) - ปี 2561 การพัฒนาผลิตภัณฑ์ขนมรังผึ้งและวาฟเฟิล ให้นายองอาจ สายวารี ที่อยู่ บ้านเลขที่ 54 ถนน อนุสรณ์มหาราช ตำบล สะเตง อำเภอเมือง จังหวัดยะลา 95000 โทรศัพท์ 093-6808573 (สนับสนุนโดยสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ;วว.) - ปี 2562 พัฒนาผลิตภัณฑ์ข้าวแต๋นหน้ากล้วยหินตากเคลือบช็อกโกแลต กลุ่มสตรีบ้านเงาะกาโปร์ บ้านเลขที่ 63/1 ถนน สุขยางค์ ตำบล บันนังสตา อำเภอ นันนังสตา จังหวัดยะลา 95130 (สนับสนุนโดยคูปองวิทย์ ปี 2562) -ปี 2564 พัฒนาผลิตภัณฑ์เปลือกมะนาวสามรสให้กับกลุ่มวิสาหกิจชุมชนกลุ่มมะนาวสร้างตนเอง อ.โคกโพธิ์ จ.ปัตตานี (สนับสนุนโดยคูปองวิทย์เพื่อโอทอป ปี 64) - ปี 2564 พัฒนาผลิตภัณฑ์น้ำลองกองผสมน้ำอัญชันเสริมคอลลาเจนแคลลอรี่ต่ำและลองกองหยีให้กับกลุ่มวิสาหกิจแปรรูปผลไม้บ้านเชิงเขา อ.บาเจาะ จ.นราธิวาส (สนับสนุนโดยคูปองวิทย์เพื่อโอทอป ปี 64) - ปี 2566 การพัฒนาผลิตภัณฑ์แกงไตปลาแห้งและน้ำพริกแกงไตปลาเจเพื่อส่งเสริมการตลาดให้กับกลุ่มวิสาหกิจชุมชนน้ำพริกแม่ผัว อ.เมือง จ.ยะลา (สนับสนุนโดยสปอว.2566) 2.พัฒนาฉลากและบรรจุภัณฑ์ - ปี 2560 การพัฒนาบรรจุภัณฑ์ผลิตภัณฑ์ธัญพืชบด กลุ่มแปรรูปผลิตภัณฑ์การเกษตร ตำบลตาชี อำเภอยะหา จังหวัดยะลา (สนับสนุนโดยสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ;วว.) - ปี 2561 การพัฒนาฉลากและบรรจุภัณฑ์ผลิตภัณฑ์ขนมรังผึ้งและวาฟเฟิล ให้นายองอาจ สายวารี ที่อยู่ บ้านเลขที่ 54 ถนน อนุสรณ์มหาราช ตำบล สะเตง อำเภอเมือง จังหวัดยะลา 95000 โทรศัพท์ 093-6808573 (สนับสนุนโดยสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ;วว.) -ปี 2464 พัฒนาฉลากและบรรจุภัณฑ์ผลิตภัณฑ์เปลือกมะนาวสามรสให้กับกลุ่มวิสาหกิจชุมชนกลุ่มมะนาวสร้างตนเอง อ.โคกโพธิ์ จ.ปัตตานี (สนับสนุนโดยคูปองวิทย์เพื่อโอทอป ปี 64) - ปี 2564 3.พัฒนามาตรฐาน - ปี 2560 ขอมาตรฐานอย.จนได้รับรองมาตรฐานให้กับผลิตภัณฑ์ธัญพืชบด กลุ่มแปรรูปผลิตภัณฑ์การเกษตร ตำบลตาชี อำเภอยะหา จังหวัดยะลา (สนับสนุนโดยสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ;วว.) - ปี 2562 ขอมาตรฐานอย.อาคารผลิตจนได้รับรองมาตรฐานในผลิตภัณฑ์ข้าวแต๋นหน้ากล้วยหินตากเคลือบช็อกโกแลต กลุ่มสตรีบ้านเงาะกาโปร์ บ้านเลขที่ 63/1 ถนน สุขยางค์ ตำบล บันนังสตา อำเภอ นันนังสตา จังหวัดยะลา 95130 (สนับสนุนโดยคูปองวิทย์ ปี 2562) - ปี 2565 ขอมาตรฐานอย.จนได้รับรองมาตรฐาน อาคารผลิต ผลิตภัณฑ์มะนาวสามรส ผลิตภัณฑ์น้ำมะนาวผสมน้ำผึ้งบรรจุขวดให้กับกลุ่มวิสาหกิจชุมชนกลุ่มมะนาวสร้างตนเอง อ.โคกโพธิ์ จ.ปัตตานี (สนับสนุนโดยคูปองวิทย์เพื่อโอทอป ปี 2565) 4.พัฒนากระบวนการผลิต - ปี 2565 พัฒนากระบวนการผลิตน้ำมะนาวผสมน้ำผึ้งบรรจุขวดให้กับกลุ่มวิสาหกิจชุมชนมะนาวสร้างตนเอง 16/5 บ้านโพธิ์ หมู่ 2 ถนนเพรชเกษม ต.มะกรูด อ.โคกโพธิ์ จ.ปัตตานี (สนับสนุนโดยคูปองวิทย์เพื่อโอทอป ปี 65)
อ.ธีรวัฒน์ เทพใจกาศ 97 ด้านอาหารและโภชนาการ/เครื่องดื่มและอาหารเพื่อสุขภาพ ด้านพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร เทคโนโลยีด้านการออกแบบบรรจุภัณฑ์ การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร/การทำมาตรฐาน
ดร.อรทัย บุญทวงค์ 90 ด้านอาหารและโภชนาการ/เครื่องดื่มและอาหารเพื่อสุขภาพ ด้านพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร เทคโนโลยีด้านการออกแบบบรรจุภัณฑ์ การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร/การทำมาตรฐาน
อ.วัชรี เทพโยธิน 64 ด้านอาหารและโภชนาการ/เครื่องดื่มและอาหารเพื่อสุขภาพ ด้านพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร เทคโนโลยีด้านการออกแบบบรรจุภัณฑ์ การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร/การทำมาตรฐาน
ดร.ปัศนีย์ กองวงค์ 92 ด้านอาหารและโภชนาการ/เครื่องดื่มและอาหารเพื่อสุขภาพ ด้านพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร เทคโนโลยีด้านการออกแบบบรรจุภัณฑ์ การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร/การทำมาตรฐาน
ผศ.นภาพร ดีสนาม 103 ด้านอาหารและโภชนาการ/เครื่องดื่มและอาหารเพื่อสุขภาพ ด้านพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร เทคโนโลยีด้านการออกแบบบรรจุภัณฑ์ การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร/การทำมาตรฐาน
ผศ.นภาพร ดีสนาม 100 ด้านอาหารและโภชนาการ/เครื่องดื่มและอาหารเพื่อสุขภาพ ด้านพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร เทคโนโลยีด้านการออกแบบบรรจุภัณฑ์ การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร/การทำมาตรฐาน
ดร.ธัญลักษณ์ บัวผัน 93 ด้านอาหารและโภชนาการ/เครื่องดื่มและอาหารเพื่อสุขภาพ ด้านพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร เทคโนโลยีด้านการออกแบบบรรจุภัณฑ์ การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร/การทำมาตรฐาน
นางสาวศุฐิษา เผ่าจันทวงค์ 97 โครงการปลูกกระชายตามมาตรฐานGAP(มกอช.)
ดร. ณัฐพันธ์ ปัญญโรจน์ ผู้ร่วมโครงการ 96 การขอรับรองมาตรฐาน GMP
นางวรรณิศา ทิพย์ปัญญาไชย 84 การแปรรูปอาหาร การวิเคราะห์ทดสอบผลิตภัณฑ์อาหารและเครื่องดื่ม ที่ปรึกษาการยื่นขอการรับรองมาตรฐานอาหารและยา (อย.) ผลิตภัณฑ์อาหารและเครื่องดื่ม
ผู้ช่วยศาสตราจารย์จริยา สุขจันทรา 106 - การพัฒนายกระดับสถานที่ผลิตอาหารให้เป็นไปตามมาตรฐาน - การพัฒนาผลิตภัณฑ์อัตลักษณ์
นางสาวปาริชาต ราชมณี 82 เทคโนโลยีการอาหาร การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร มาตรฐานอาหารและสุขาภิบาลโรงงาน
ดร.วิไลวรรณ ไชยศร 84 การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร/การทำมาตรฐานต่างๆ
ดร.พีรพงษ์ แสงวนางค์กูล 78 1. ผลงาน "ห้องบ่มและเทคนิคการบ่มผลไม้ประโยชน์ 7 อย่าง" ได้รับรางวัลงานวิจัยสร้างผลกระทบสูงระดับ Silver จากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ประจำปี 2564 2. โครงการ "สารเอทีฟอนตกค้างในผลทุเรียนหมอนทองและทางเลือกในการบ่มเพื่อการส่งออก" งบประมาณจาก สวก. ผลวิจัยแสดงถึงความปลอดภัยในการบริโภคทุเรียนไทยทั้งในตลาดท้องถิ่นและตลาดส่งออก สร้างความมั่นใจในสินค้าทุเรียนไทย และลดความตื่นตระหนกความกังวลของผู้บริโภคไทยและจีนที่มีการให้ข้อมูลบิดเบือน 3. ผลวิจัยจาก "โครงการศึกษาเกณฑ์น้ำหนักแห้งของทุเรียนพันธุ์หมอนทอง กระดุมทอง ชะนี พวงมณี และก้านยาว เพื่อเป็นเกณฑ์บ่งชี้คุณภาพ" ใช้ปรับปรุงเกณฑ์น้ำหนักผลและน้ำหนักเนื้อแห้งของทุเรียนในมาตรฐานสินค้าเกษตร (ทุเรียน) มกษ.3-2556 ที่กำลังทบทวนในวาระครบรอบ 20 ปี ในปี 2566
ดร.ธเนศ พฤทธิวรสิน 85 นาฬิกาอะตอมเชิงแสงสำหรับมาตรฐานความถี่ของประเทศไทย
ดร.ธารา เฉลิมทรางศักดิ์ 68 นาฬิกาอะตอมเชิงแสงสำหรับมาตรฐานความถี่ของประเทศไทย
ดร.ปิยพัฒน์ พูลทอง 82 นาฬิกาอะตอมเชิงแสงสำหรับมาตรฐานความถี่ของประเทศไทย
ดร. วรินพร กลั่นกลิ่น อาจารย์ 53 การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร/การทำมาตรฐาน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร
ผศ.ดร.ศศิธร ใบผ่อง 54 หลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิตอาหาร, มาตรฐานและความปลอดภัยอาหาร, การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร
รศ.วิชัย ฉัตรทินวัฒน์ 50 การพัฒนาระบบการผลิตและระบบการจัดการคุณภาพตามมาตรฐาน สำหรับโรงงานและผู้ประกอบการโอทอป การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต การลดต้นทุนดำเนินงาน การออกแบบระบบการควบคุมคุณภาพสำหรับโรงงาน
ผศ.ฐิติพร เทียรฆนิธิกูล 32 การพัฒนาผลิตภัณฑ์ทางด้านอาหารเพื่อให้ได้มาตรฐาน
นายชยันต์ คำบรรลือ 34 - การปรับปรุงเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพเตาอบรมควันเครื่องจักสาน - การอบรม การขอรับรองมาตรฐาน มผช.40/2559
ว่าที่ร้อยตรีฉัตรชัย ศรีเพิ่ม 29 มาตรฐานฟาร์มเลี้ยงสัตว์/การผลิตอาหารข้นสำหรับโคขุน/การเลี้ยงโคขุน
ผศ.น.สพ.สิริศักดิ์ ชีช้าง 26 การเชือดแพะตามมาตรฐานม การเตรียมซาก และการตัดแต่งชิ้นส่วน
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชุติมันต์ สะสอง 39 วุฒิการศึกษาปริญญาตรี บัญชีบัณฑิต (บช.บ.) การบัญชี วุฒิการศึกษาปริญญาโท บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (บธ.ม.) บริหารธุรกิจ วุฒิการศึกษาปริญญาเอก ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.) การจัดการ ความเชี่ยวชาญ ด้านบริหารธุรกิจ สาขาความเชียวชาญ การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร/การทำมาตรฐาน[1553]
อาจารย์ฮุชเซ็น นิยมเดชา 46 การจัดการกระบวนการผลิต การวางผังโรงงาน ระบบมาตรฐาน HALAL
ผู้ช่วยศาสตราจารย์วาสนา ติวงค์ 33 "1. ผ่านการรับรองเป็นนักกำหนดอาหารวิชาชีพ (กอ.ช) Certified Dietitian of Thaniland (CDT) และได้รับการพัฒนาองค์ความรู้ตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง 2. ได้รับใบอนุญาต เป็นผู้ประกอบการวิชาชีพครู จากคุรุสภา 3. เข้ารับการอบรม ประชุม สัมมนาด้านอาหารและโภชนาการ อาหารเพื่อสุขภาพและอาหารบำบัดโรค ฯลฯ อย่างต่อเนื่อง 4. เป็นสมาชิกตลอดชีพ ของสมาคมนักโภชนาการแห่งประเทศไทยฯ และสมาคมนักกำหนดอาหารแห่งประเทศไทย 5. เป็นอาจารย์ผู้สอนในรายวิชา อาหารและโภชนาการ อาหารเพื่อสุขภาพและบำบัดโรค การควบคุมและการประกันคุณภาพอาหาร ความปลอดภัยด้านอาหาร โภชนาการเบื้องต้น การถนอมอาหารและการแปรรูปอาหาร เป็นระยะเวลา 10 ปี จนถึงปัจจุบัน"