นายกานต์ วิรุณพันธ์ 88 เทคโนโลยีการออกแบบและจัดสร้างเครื่องจักร ปรับปรุงพัฒนากระบวนการผลิต
นางลลิดา ฉายาวัฒน์ 96 การทำผลิตภัณฑ์เคมีในชีวิตประจำวัน ได้แก่ น้ำยาล้างจาน สบู่ พิมเสนน้ำ ยาหม่อง น้ำมันตะไคร้กันยุง น้ำมันนวด เจลแอลกอฮอล์ล้างมือ สเปรย์แอลกอฮอล์ฆ่าเชื้อโรค เทียนหอม เป็นต้น
ผศ.ดร.กาญจนา อัจฉริยจิต 130 ถ่านอัดแท่ง พลังงานทดแทน การวิเคราะห์องค์ประกอบทางเคมี การผลิตผลิตภัณฑ์ในชีวิตประจำวัน
นางสาวน้ำฝน ไทยวงษ์ 91 การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร, การแปรรูปอาหาร, สุขาภิบาลอาหาร และจลนพลศาสตร์เอนไวม์ทางอาหาร
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ภัทรานิษฐ์ สิทธินพพันธ์ 130 1. เป็นที่ปรึกษาและดำเนินงานในโครงการวิถีไทยก้าวไกลสู่แฟชั่น (Thailand Grand living) กิจกรรม การยกระดับการออกแบบผลิตภัณฑ์สิ่งทอและเครื่องนุ่งหมเชิงสร้างสรรค์ ให้กับสถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ ในฐานะนักออกแบบพัฒนาภาคใต้ 2. ปรึกษาโครงการที่ปรึกษาเพื่อยกระดับผลิตภัณฑ์หนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOP) ให้มีศักยภาพทางตลาด ด้วยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม 3. ที่ปรึกษาโครงการที่ปรึกษาเพื่อยกระดับผลิตภัณฑ์หนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOP) ให้มีศักยภาพทางตลาด ด้วยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมประเภท ผ้าและเครื่องแต่งกาย ของใช้ ของตกแต่ง และของที่ระลึกพื้นที่ภาคกลางและภาคใต้ประจำปี พ.ศ. 2559 ดำเนินการในพื้นที่ กลุ่มภาคกลาง ชื่อกลุ่ม กลุ่มแม่บ้านทหารเรือ จังหวัดชลบุรี ผลิตภัณฑ์ ประเภทเครื่องแต่งกายและของใช้ ชื่อกลุ่ม กลุ่มปักผ้าด้นมือ (U-THONG QUILTS) ผลิตภัณฑ์ ประเภทของใช้เคหะสิ่งทอ 4. ที่ปรึกษาโครงการพัฒนาและยกระดับสินค้าOTOP ด้วยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม ประเภทผ้าฯ และของใช้ (6 สถานประกอบการ)พื้นที่จังหวัดนราธิวาส) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2561 FC2 (ผ้า1) วิสาหกิจชุมชน กลุ่มผ้าคลุมผมสตรีบ้านลาเวง FC3(ผ้า2) วิสาหกิจชุมชน กลุ่มขัดจักรบ้านกาวะ FC8 (ผ้า5) วิสาหกิจชุมชน กลุ่มเสื้อผ้ามุสลิมบ้านรานอ
ผศ.ดร.ดวงฤทัย ธำรงโชติ 118 1.อาจารย์ประจำหลักสูตรพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร2.วิทยากรให้ความรู้เรื่องการแปรรูปอาหาร/การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร/บรรจุภัณฑ์อาหาร/ การควบคุมคุณภาพผลิตภัณฑ์อาหาร3.กรรมการผู้ตรวจประเมินสถานประกอบการ และผลิตภัณฑ์ เพื่อขอการรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน
ดร.พุดกรอง พันธุ์อุโมงค์ 124 1.โครงการวิจัยเรื่อง การเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ไม้ผลทางเศรษฐกิจเพื่อการพัฒนาเกษตรที่สูงอย่างยั่งยืน หัวข้อวิจัยย่อย ศึกษากระบวนการแปรรูปและการเก็บ รักษามะม่วง ลิ้นจี่ และลำไยสดพร้อมบริโภค (ทุนวิจัยจากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติงบประมาณประจำปี 2550-51) 2.โครงการวิจัย เรื่อง การยืดอายุการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์ผักผลไม้แกะสลักเพื่อการสร้างมูลค่าเพิ่ม (งบประมาณแผ่นดิน พ.ศ. 2552)
ประนัดฎา พิมสี 128 -อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรวิทยาศาสตร์เพื่อสุขภาพและความงาม -อาจารย์ประจำสาขาวิชาเคมี ผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางจากถั่วดาวอินคา ผลิตภัณฑ์ทำความสะอาดจากสมุนไพรในท้องถิ่น สาขาสิ่งแวดล้อม-การวิเคราะห์สารประกอบ PAHs ในน้ำ
นายไกรสร วงษ์ปู่ 78 เทคโนโลยีการออกแบบและจัดสร้าง เครื่องจักร
นายกฤตภาส ป้อมเปี่ยม 140 ภาชนะจากวัสดุธรรมชาติ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อนนท์ นำอิน 144 1. ระบบส่งกำลังไฟฟ้าไร้สายแบบเหนี่ยวนำ (Inductive Wireless Power Transfer) 2. ระบบอัดประจุแบตเตอรี่ยานยนต์ไฟฟ้าไร้สายแบบเหนี่ยวนำ (Wireless EV Charging System) 3. เครื่องจำลองแสงอาทิตย์ชนิดไดโอดเปล่งแสงสำหรับทดสอบเซลล์แสงอาทิตย์ (LED Solar Simulator for PV Testing) 4. การออกแบบระบบการสอนวิศวกรรมไฟฟ้า (Electrical Engineering Instructional System Design)
ดร.อังกูร ว่องตระกูล 136 1. การศึกษาความสัมพันธ์ การวิเคราะห์ข้อมูล เกี่ยวกับการบริหารจัดการทรัพยากรแหล่งน้ำที่มีอยู่อย่างจำกัดสำหรับการวางแผนการจัดสรรน้ำอย่างเหมาะสม เพื่อให้สามารถรับมือกับการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ 2. การพัฒนาโมเดล Unsteady Flow Numerical และสร้างแบบจำลองที่เหมาะสมสำหรับการจัดสรรน้ำชลประทานขนาดใหญ่เพื่อการเกษตรและการอุปโภคบริโภคอย่างเหมาะสม 3. การพัฒนาและการบริหารจัดการลุ่มน้ำอย่างเหมาะสม 4. การวางแผนการใช้น้ำและการบริหารจัดการการกระจายนน้ำสำหรับชลประทานขนาดใหญ่ที่สัมพันธ์กับการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศทั้งปรากฎการณ์เกาะความร้อนและคุณภาพอากาศ
ธานินทร์ นิ่มแสง 120 การทดสอบวัดสภาพต้านทานไฟฟ้าด้วยเครื่อง four point probe, การวัดสภาพต้านทานไฟฟ้าของกระจกเคลือบ ITO เพื่อนำวัสดุที่ได้ให้เป็นไปตามมาตรฐานในการใช้ในวิสาหกิจชุมชน
ดร.พรปวีณ์ วรเศรษฐ์พงศา 111 การจัดการการเงินและการลงทุน, การวางแผนการเงินและจัดสรรกำไร, การวิจัยธุรกิจ, การพัฒนาทักษะทางการเงินส่วนบุคคล
รศ.ดร. ชิติ ศรีตนทิพย์ 129 สรีรวิทยาของไม้ผล เทคโนโลยีการผลิตและจัดการไม้ผล เทคโนโลยีการปลูกพืชโดยไม่ใช้ดินเทคโนโลยีพลาสม่าและไมโคร/นาโนบับเบิล
อาจารย์ ดร.นภศูล ศิริจันทร์ 103 จุลชีววิทยา จุลชีววิทยาทางการแพทย์ พืชสมุนไพรยับยั้งแบคทีเรียและจุลชีพอื่นๆ การตรวจสอบจุลินทรีย์ในอาหาร มาตรฐานผลิตภัณฑ์ (อาหาร เครื่องสำอาง สมุนไพรที่ไม่ใช่อาหาร ฯลฯ)
นายนิรันดร หนักแดง 80 - เทคโนโลยีการตัดแต่งซากแพะ เพื่อยกระดับและเพิ่มมูลค่าให้กับเนื้อแพะ - เทคโนโลยีการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากแพะเพื่อเพิ่มมูลค่า ด้วย วทน. - เทคโนโลยีการเพิ่มรสสัมผัสปรุงแต่งเนื้อแพะ ด้วย วทน. - เทคโนโลยี กระบวนการผลิตเพื่อ ยกระดับ ผลิตภัณฑ์แปรรูป ที่ได้มาตรฐานฮาลาล - กระจัดการวางแผนกระบวนการตลาดและการจัดจำหน่าย
ผศ. ดร.มนูญ ศิรินุพงศ์ 93 เริ่มตั้งแต่การปลูก ดูแลสวน การดูแลและจัดเก็บผลผลิต การตลาดเพื่อจำหน่ายผลสด การแปรรูป และการตลาดอื่น ๆ เพื่อต่อยอดให้ครบวงจร
ผศ. ดร.พวงทิพย์ แก้วทับทิม 110 เริ่มตั้งแต่การปลูก ดูแลสวน การดูแลและจัดเก็บผลผลิต การตลาดเพื่อจำหน่ายผลสด การแปรรูป และการตลาดอื่น ๆ เพื่อต่อยอดให้ครบวงจร
ดร.ไมตรี แก้วทับทิม 93 ส้มโอปูโก/ส้มโอทับทิมสยาม เริ่มตั้งแต่การปลูก การทำปุ๋ยใช้เอง การดูแลสวน การดูแลและจัดเก็บผลผลิต การตลาดเพื่อจำหน่าย เป็นต้น
รศ. ดร.อัจฉรา เพ็งหนู 100 การใช้ชีวภัณฑ์บำรุงดิน และจัดการศัตรูพืชแต่ละชนิดด้วยวิธีการต่าง ๆ ที่เหมาะสมทั้งกับพืชและศัตรูพืช หลีกเลี่ยงการใช้สารเคมีหรือยาฆ่าแมลง
ผู้ช่วยศาสตราจารย์จิรพร สวัสดิการ 95 เทคนิคการ Spray Dryer สินค้าเกษตรและอาหาร การทำงานของเครื่อง Spray Dryer คือการนำตัวอย่างของเหลว (feed) ที่นำมาฉีด ควรมีลักษณะเหลว และไม่ข้นมาก จากนั้นของเหลวจะถูกดูดโดยปั๊มผ่านอุปกรณ์ที่ทำให้เกิดละอองฝอยคือ atomizer ภายในห้องอบ เมื่อละอองสัมผัสกับอากาศร้อนจะทำให้เกิดการระเหยของน้ำอย่างรวดเร็ว และจะได้ผงของผลิตภัณฑ์ตกลงสู่ด้านล่างของ drying chamber ผงบางส่วนที่หลุดออกมากับอากาศจะถูกแยกโดยใช้ cyclone ซึ่งจะรวมเข้าเป็นผลิตภัณฑ์รวมในที่สุด การนำไปใช้ ผลิตภัณฑ์ต่างๆ ที่นิยมใช้กันในปัจจุบันมักอยู่ในรูปที่พร้อมใช้งานได้เลย และสามารถเก็บรักษาได้ง่ายและนาน คือการทำให้อยู่ในรูปของแห้ง ส่วนวิธีการที่นิยมใช้ในการทำแห้งวิธีหนึ่งก็คือการทำแห้งแบบพ่นฝอย (Spray Dry) โดยมีเครื่องมือที่ใช้คือเครื่องทำแห้งแบบพ่นฝอย (Spray Dryer) มักใช้วิธีนี้กับผลิตภัณฑ์อาหาร เช่น นมผง ไข่ผง อาหารเด็ก เนื้อวัวสกัด โปรตีนสกัด และผลิตภัณฑ์ยา เช่น ยาผงสมุนไพร เป็นต้น แหล่งอ้างอิง ตูแวอิสมาแอ ตูแวบีรู. 2549. Spray Dryer. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก: http://web.yru.ac.th/~ dolah/ no
ศูนย์วิจัยและพัฒนานวัตกรรมสินค้าเกษตรและอาหาร ภาคต 92 ศูนย์วิจัยและพัฒนานวัตกรรมสินค้าเกษตรและอาหาร ภาคตะวันออก คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี จันทบุรี เป็นหน่วยสนับสนุนการเรียนการสอน การวิจัย แลบริการวิชาการ มีหน้าที่หลักดังต่อไปนี้ 1. ทดสอบมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร ISO/IEC 17025 ทดสอบตัวอย่างสินค้าด้านการเกษตร เช่น ดิน น้ำ ใบ ผลผลิตทางการเกษตร และผลิตภัณฑ์จากการเกษตร เช่น ผลิตภัณฑ์อาหารแปรรูป น้ำส้มควันไม้ น้้ำดื่ม น้ำพริก ซอส เป็นต้น ทางศูนย์ทดสอบจะทำการวิเคราะห์เพื่อวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1.1 เฝ้าระวังมาตรฐานสินค้าให้ตรงกับมาตรฐานภานในและต่างประเทศ 1.2 ออกใบรายงานผลให้สอดคล้องกับมาตรฐานภานในและต่างประเทศ 1.3 วิเคราะห์สารเคมี และยาฆ่าแมลงตกค้างในผลผลิต และผลิตภัณฑ์แปรรูป 1.4 วิเคราะห์ฉลากโภชนา 1.5 วิเคราะห์จุลินทรีย์ 1.6 วิเคราะห์น้ำเพื่อการอุปโภคบริโภค 2. วิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ด้านเกษตรและอาหาร ทำการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่ใช้พืชปลทางการเกษตร ในภาคตะวันออก เพื่อรองรับการแปรรุปผลผลิตใหม่ๆ สู่ตลาดในยุยไทยแลนด์ 4.0 3. บริการวิชาการ ฝึกอบรม และให้คำปรึกษา เป็นศูนย์บริการให้คำปรึกษาด้านคุณภาพอาหาร และการขึ้นทะเบียนกับหน่วยงานรัฐ เช่น มผช. OTOP อย. และมาตรฐานสากลได้แก่ GMP/HACCP/ISO/HALAL/BRC เป็นต้น และยังเป็นที่ฝึกอบรมด้านการแปรรูปการเกษตร และอื่นๆ ตามโจทย์ท้องถิ่น 4. เป็นพี่เลี้ยงด้านระบบคุณภาอาหาร เป็นพี่เลี้ยงหน้างาน ให้บริการถึงสถานที่ เพื่อคอยแนะนำให้ผู้ประกอบการทุกระดับ ไม่ว่าจะกลุ่มแม่บ้าน วิสาหกิจชุมชน SME เข้าถึงการแปรรูปที่ถูกต้อง และจัดการสถานที่ให้เป็นไปตามมาตรฐานที่ต้องการ รวมทั้งการประยุกต์ใช้ระบบประกันคุณภาพอาหาร ในสถานประกอบการ สถานที่ติดต่อ ศูนย์วิจัยและพัฒนานวัตกรรมสินค้าเกษตรและอาหาร ภาคตะวันออก หลักสูตรวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี เลขที่ 41 ม.5 ต.ท่าช้าง อ.เมือง จ.จันทบุรี 22000 โทรศัพท์ 061 6605306 E mail Classforecastrbru@hotmail.com
ดร.ปฏิมาพร ปลอดภัย 79 8. ส้มโอปูโก/ส้มโอทับทิมสยาม เริ่มตั้งแต่การปลูก การทำปุ๋ยใช้เอง การดูแลสวน การดูแลและจัดเก็บผลผลิต การตลาดเพื่อจำหน่าย เป็นต้น การปลูก การทำปุ๋ยใช้เอง การดูแลสวน การดูแลและจัดเก็บผลผลิต การตลาดเพื่อจำหน่าย เป็นต้น
ผศ.ดร.กระวี ตรีอำนรรค 81 อาจารย์ประจำสาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล
ผศ. ดร. รัชฎาพร อุ่นศิวิไลย์ 81 อาจารย์ประจำสาขาวิชาเทคโนโลยีอาหาร สำนักวิชาเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
ดร.สุรชัย ณรัฐ จันทร์ศร 92 อาจารย์ประจำหลักสูตรพลังงานและสิ่งแวดล้อมชุมชน ความเชี่ยวชาญ - ด้านเทคโนโลยีการผลิตไบโอดีเซล - ด้านเทคโนโลยีการอบแห้ง - ด้านพลังงานชุมชน - ด้านคาร์บอนฟุตพริ้นต์ผลิตภัณฑ์ - ด้านการจัดการขยะชุมชน
ดร.เวชสวรรค์ หล้ากาศ 140 วุฒิการศึกษาปริญญาตรี วศ.บ. (วิศวกรรมโยธา) สถาบันเทคโนโลยีราชมงคลวิทยาเขตภาพพายัพ วุฒิการศึกษาปริญญาโท วศ.ม. (วิศวกรรมและการบริหารการก่อสร้าง) มหาวิทยาลัยพระจอมเกล้าธนบุรี วุฒิการศึกษาปริญญาเอก การพัฒนาเศรษฐกิจและเทคโนโลยีชุมชน มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ความเชี่ยวชาญ - วิศวกรรมโยธา - การวางแผนภาคและเมือง (Urban and Regional Planning) - ภูมิสถาปัตยกรรม (Landscape Architecture)
เจษฎาพล กิตติพัฒนวิทย์ 115 วุฒิการศึกษาปริญญาตรี ค.อ.บ. (ออกแบบผลิตภัณฑ์) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง วุฒิการศึกษาปริญญาโท ค.อ.ม. (เทคโนโลยีผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ความเชี่ยวชาญ -ออกแบบผลิตภัณฑ์ , กราฟิก , บรรจุภัณฑ์
ประธาน คำจินะ 117 วุฒิการศึกษาปริญญาตรี วท.บ. (วิทยาการคอมพิวเตอร์) มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาโท วท.ม. (เทคโนโลยีสารสนเทศ) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ความเชี่ยวชาญ - IoT, Database, Information System, Web Application - เทคโนโลยีโลกเสมือนผสานโลกจริง(Augmented Reality)
ดร.จันทนา แสงแก้ว 84 พืชผัก ผักพื้นบ้าน สมุนไพร, วิทยาศาสตร์ทางทะเล, เทคโนโลยีชีววิทยาและจุลชีววิทยา สาหร่ายทะเล สาหร่ายน้ำและพรรณไม้
ดร.ปาวลี ศรีสุขสมวงศ์ 122 การแพทย์แผนไทย/พัฒนายา/สมุนไพร/สุขภาพ/ความงาม, เทคโนโลยีชีววิทยาและจุลชีววิทยา การเพาะเลี้ยงจุลินทรีย์, การนำจุลินทรีย์มาใช้ประโยชน์, การนำสารสกัดจากพืชพัฒนาเป็นเครื่องสำอาง (เริ่มทำวิจัยปี 2560), การนำข้อมูลทางด้านชีววิทยามาวิเคราะห์โดยใช้วิธีการทางคณิตศาสตร์และสถิติ (เริ่มทำวิจัยปี 2560)
นางสายสนิท พงศ์สุวรรณ 90 ความหลากหลายทางชีวภาพ นิเวศวิทยา ชนิดและการกระจายของสัตว์และพืชในพื้นที่ระบบนิเวศแบบต่างๆ พฤติกรรม และความสามารถการปรับตัวของสิ่งมีชีวิต การคัดเลือกชนิดพันธุ์เป้าหมายเพื่อการอนุรักษ์ และใช้ประโยชน์ในด้านการการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ การออกแบบและสร้างแหล่งเรียนรู้ด้านทรัพยากรธรรมชาติ และการประเมินขีดความสามารถในการรองรับของพื้นที่ในเชิงนิเวศ (Ecology Carrying Capacity)
ดร.อรุณศรี ว่องปฏิการ 107 การแพทย์แผนไทย/พัฒนายา/สมุนไพร/สุขภาพ/ความงาม, เทคโนโลยีชีววิทยาและจุลชีววิทยา " จุลชีววิทยาสิ่งแวดล้อม (การนำจุลินทรีย์มาใช้ประโยชน์ในการปรับปรุงแก้ไขมลพิษในสภาวะแวดล้อม เช่น ใช้จุลินทรีย์ในการบำบัดน้ำเสีย) - จุลชีวิทยาอุตสาหกรรม (การนำจุลินทรีย์มาใช้ประโยชน์ทางด้านอุตสาหกรรม เช่น การใช้จุลินทรีย์ในการผลิตผลิตภัณฑ์ต่างๆ - การนำสมุนไพรมาพัฒนาเป็นยาต้านจุลชีพ"
ดร. เกรียงไกร วันทอง 146 เทคโนโลยีสปัตเตอริงหรือ เทคนิคการเคลือบฟิล์มบางในสุญญากาศ กระบวนการนี้ใช้เคลือบฟิล์มได้หลากหลายชนิด เช่น ฟิล์มโลหะ อัลลอย แก้ว เซรามิกส์ ฟิล์มสารกึ่งตัวนำ ในกลุ่มอุตสาหกรรมในประเทศไทยที่ใช้เทคโนโลยี สปัตเตอริง ได้แก่ ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ ฮาร์ดดิสไดรฟ์ ยานยนต์ กระจกอาคาร ใยแก้วนำแสง และเซลล์แสงอาทิตย์, การทดสอบโลหะต่างๆ และการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึก Data Science Semiconductor Physics, Electronics, Crystal Growth, Thin Film Sputtering, C, Python and R programming, Computational Physics, Data Science, Scintillation Materials and Nuclear Physics, Precious Metals Testing
ผศ. นรินทร์ทร พันธ์สวัสดิ์ 104 ความรู้ทางด้านเวชกรรมแผนไทย ด้านเภสัชกรรมแผนไทย ด้านหัตถเวชกรรมแผนไทย ทางด้านมหกายวิภาคศาสตร์ (Gross anatomy) และจุลกายวิภาคศาสตร์ (Microscopic anatomy หรือ Histology) และด้านผดุงครรภ์แผนไทย เช่น การออกแบบและพัฒนาอุปกรณ์ที่ใช้ในการรักาทางการแพทย์แผนไทย เช่นเครื่องช่วยนวดกล้ามเนื้อ อุปกรณ์วิเคราะห์โรคทางการแพทย์แผนไทย การพัฒนาผลิตภัณฑ์ทสมุนไพร การทดสอบผลิตภัณฑ์
นายธวัชชัย ไชยลังกา 81 เทคโนโลยีการออกแบบและจัดสร้างเครื่องจักร
นายนรุตม์ คล้ายเคลื่อน 80 ปรับปรุงและพัฒนากระบวนการผลิต การออกแบบและจัดสร้างเครื่องมือทางอุตสาหกรรมขนาดเล็ก
นายนรุตม์ คล้ายเคลื่อน 77 ปรับปรุงและพัฒนากระบวนการผลิต การออกแบบและจัดสร้างเครื่องมือทางอุตสาหกรรมขนาดเล็ก
นางสาวนาตาลี อาร์ ใจเย็น 110 เทคโนโลยีชีววิทยาและจุลชีววิทยา สมุนไพรไทยปลาไหลเผือก
นายมารุต พวงสุดรัก 91 ออกแบบและสร้างอุปกรณ์ ทดลอง วัดวิเคราะห์ ทดสอบ วิจัย ทางวิทยาศาสตร์ และจัดกิจกรรมอบรมทางวิทยาศาสตร์ให้กับนักเรียน ครู และผู้ที่สนใจ
นายนเรศ ใหญ่วงศ์ 113 1) ที่ปรึกษา และผู้ทวนสอบ เกี่ยวกับคาร์บอนฟุตพริ้นท์ของผลิตภัณฑ์ และองค์กร , โครงการลดก๊าซเรือนกระจกภาคสมัครใจตามมาตรฐานของประเทศไทย (T-VER) 2)ที่ปรึกษาการพัฒนาระบบพลังงานแสงอาทิตย์สำหรับการผลิตไฟฟ้า การอบแห้ง และการเกษตรสมัยใหม่ 3) ที่ปรึกษาการพัฒนาการแปรรูปชีวมวลเชิงพาณิยช์
นางสาวรจนา เชื้อโคกกรวด 105 เทคโนโลยีชีววิทยาและจุลชีววิทยา
นายธนัญกรณ์ ใจผ่อง 99 การศึกษาการเจริญของราก ทำให้ทราบข้อมูลการกระจากตัวของรากและความหนาแน่นของรากอ้อยที่อายุแตกต่างกัน
ศิริพร นิลาศทุกข์ 72 งานด้านการแปรรูปผลิตภัณฑ์ด้านอาหาร ซึ่งอาหารเป็นปัจจัยหลักในการดำรงชีวิต การเก็บรักษา และเรียนรู้วิธีการยืดอายุ และรักษาคุณภาพของอาหารจึงมีความสำคัญในการดำเนินชีวิตประจำวัน
ดร. พิสิฐพงษ์ อินทรพงษ์ 74 เครื่องกวน เครื่องอบลดความชื้น พลังงานจากเชื้อเพลิงชีวภาพ การลดก๊าซเรือนกระจก
ดร.บุษราคัม ป้อมทอง 79 การวิเคราะห์ความหอมและคุณค่าทางโภชนาการ และการกำหนดเอกลักษณ์ประจำพันธุ์ของข้าว พันธุ์หอมเตี้ยเพื่อนำไปสู่การอนุรักษ์และการ ส่งเสริมเชิงเศรษฐกิจ
นางสาวพรพิมล ควรรณสุ 89 ผลิตภัณฑ์แหนมเห็ด เป็นผลิตภัณฑ์ที่กลุ่มมีการผลิตและจำหน่ายอยู่แล้ว แต่นักวิจัยจากมหาวิทยาลัยนครพนมเข้ามาพัฒนาต่อยอด 1. ขั้นตอนการผลิตให้ปลอดภัย 2. การพัฒนาบรรจุภัณฑ์ให้ทันสมัย สวยงาม และ และดึงดูดผู้บริโภค 3. การพัฒนาตลาดออนไลน์ และตลาดออฟไลน์ ขนาดบรรจุ 200 กรัม วัตถุดิบมาจาก กลุ่มวิสาหกิจชุมชนเพาะเห็ดบ้านกลาง 355 หมู่ 4 ตำบลโพนแพง อำเภออากาศอำนวย จังหวัดสกลนคร
ผศ.ชมภู่ ยิ้มโต 105 พัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร แปรรูปอาหาร ตรวจวิเคราะห์คุณภาพทางกายภาพ เคมี และจุลินทรีย์
อาจารย์นวพร ลาภส่งผล 108 เคมีอาหาร เคมีวิเคราะห์ การวิเคราะห์กลิ่นในอาหาร โปรตีนไฮโดรไลเซท การวิเคราะห์ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระจากสารสกัดธรรมชาติหรือสารสังเคราะห์ ผลิตภัณฑ์ไอศกรีม
รองศาสตราจารย์ ดร.เอกอุมา อิ้มคำ 103 การพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวชชุมชน
รศ.ดร. ชิติ ศรีตนทิพย์ 88 สรีรวิทยาของไม้ผล เทคโนโลยีการผลิตและจัดการไม้ผล เทคโนโลยีการปลูกพืชโดยไม่ใช้ดินเทคโนโลยีพลาสม่าและไมโคร/นาโนบับเบิล
รศ. ดร.ประเวทย์ ตุ้ยเต็มวง 93 เทคโนโลยีอาหาร ความปลอดภัยในอาหารเเละจุลชีววิทยา
รศ.ดร. ชิติ ศรีตนทิพย์ 104 สรีรวิทยาของไม้ผล เทคโนโลยีการผลิตและจัดการไม้ผล เทคโนโลยีการปลูกพืชโดยไม่ใช้ดินเทคโนโลยีพลาสม่าและไมโคร/นาโนบับเบิล
รศ.ปรียาภรณ์ ไชยสัตย์ 180 1.ไมโคร และนาโนเอนแคปซูเลชัน 2.การสังเคราะห์พอลิเมอร์ในระบบกระจาย 3.การเตรียมอนุภาคพอลิเมอร์ 4.วัสดุเก็บความร้อน
รศ.ดร.อมร ไชยสัตย์ 108 1.การปรับแต่งผิวอนุภาคพอลิเมอร์สำหรับการใช้งานที่หลากห 2.การสังเคราะห์พอลิเมอร์ในระบบกระจาย 3.การเตรียมอนุภาคพอลิเมอร์ชีวภาพ 4.การเตรียมอนุภาคไฮบริดพอลิเมอร์
ดร.ศักยะ สมบัติไพรวัน 150 2553 - ผู้ช่วยสอนนักศึกษาปริญญาตรี รายวิชาปฐพีกลศาสตร์ สาขาวิชาวิศวกรรมเกษตร 2554-2555 - ผู้ช่วยวิจัย งานเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว ศึกษาความสามารถในการยืดอายุการเก็บรักษามะม่วงน้ำดอกไม้โดยใช้ถ่านกัมมันต์ดูดซับเอทิลีนในบรรจุภัณฑ์ระหว่างการขนส่ง 2558 - ผู้ช่วยสอนนักศึกษาปริญญาตรี รายวิชาจุลชีววิทยาอาหาร สาขาวิชาวิศวกรรมเกษตร 2563 - นักวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ ศูนย์อนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี 2564 - หัวหน้าโครงการการพัฒนาศักยภาพผลิตภัณฑ์ท้องถิ่นด้วยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม (12 ผลิตภัณฑ์) ภายใต้โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี - เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป หน่วยบริการวิชาการชุมชน เทคโนธานี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี 2564 - ผู้ช่วยวิจัยโครงการการตรวจสอบชนิดและปริมาณการปนเปื้อนของสารหนูด้วยเทคนิคขั้นสูงจากเครื่องกำเนิดแสงซินโครตรอน รหัสโครงการ PRP6205012260 สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์กรมหาชน) 2565 - นักวิจัยหลังปริญญาเอก สาขาวิชาเทคโนโลยีอาหาร ภายใต้สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี - คณะกรรมการดำเนินการคัดสรรสุดยอดหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ไทย ปี พ.ศ. 2565 จ. นครราชสีมา ตรวจสอบและกลั่นกรองผลิตภัณฑ์ประเภทสมุนไพรที่ไม่ใช่อาหาร (คำสั่งจังหวัดนครราชสีมา ที่ 4785/2565 ลงวันที่ 5 พฤษภาคม 2565) - ที่ปรึกษา/ผู้วิจัย กิจกรรมการสร้างผู้ประกอบการชุมชน (Local Startups) ประจำปี 2564 ภายใต้แผนงานส่งเสริมการนำนวัตกรรมไปใช้ประโยชน์ในพื้นที่เพื่อพัฒนาชุมชนและสังคม (Area based Innovation for Community) เทคโนธานี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี โครงการเลขที่ TN026/2565 เรื่อง การพัฒนาสูตรแชมพูสมุนไพรตามคุณค่าทางวิชาการและควบคุมคุณลักษณะให้ผ่านมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน (The evaluation of herbal shampoo according to the community product standards) วิสาหกิจชุมชนกลุ่มเกษตรกรรวมใจบ้านไกลเสนียด อ.ท่าตูม จ.สุรินทร์ - ที่ปรึกษา/ผู้วิจัย กิจกรรมการสร้างผู้ประกอบการชุมชน (Local Startups) ประจำปี 2564 ภายใต้แผนงานส่งเสริมการนำนวัตกรรมไปใช้ประโยชน์ในพื้นที่เพื่อพัฒนาชุมชนและสังคม (Area based Innovation for Community) เทคโนธานี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารีโครงการเลขที่ TN028/2565 เรื่อง การวัดสมบัติทางเคมี-กายภาพ สเปรย์บรรเทาอาการปวดและแมลงสัตว์กัดต่อยเพื่อทำมาตรฐานการผลิตและส่งเสริมการขาย ( A study of chemo-physical properties of pain and insect bites relief spray to standardize production and marketing campaigns) วิสาหกิจชุมชนแปรรูปสมุนไพรหนองสมอ อ.คง จ.นครราชสีมา - ผู้ช่วยวิจัย โครงการสำรวจความเป็นไปได้ในการใช้ประโยชน์จากของเสียในโรงงานผลิตไส้ กรอก (กู้คืนและปรับสภาพน้ำมันสำหรับใช้เป็นพลังงาน) โรงงานไส้กรอก อ.ขามทะเลสอ จ.นครราชสีมา
รศ.ดร.บัญชา ขวัญยืน 86 การวิเคราะห์ระบบเพื่อการวางแผนและจัดการทรัพยากรทางน้ำ การเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศและเหตุการณ์รุนแรง(อุทกภัยและภัยแล้ง) การจัดการน้ำและสิ่งแวดล้อม วิศวกรรมน้ำบาดาล
นายพิชิตร ทองดี 89 การผลิตเครื่องมือเครื่องจรักช่วยในการเพิ่มผลผลิตผ(การพัฒนากระบวนการผลิต ให้มีคุณภาพ ลดเวลาการผลิต เพิ่มกำลังการผลิตให้มากขึ้นรวมถึงการออกแบบและจัดสร้างเครื่องมือ อุปกรณ์ในการช่วยยกระดับคุณภาพชีวิตชุมชน)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วัชระ วงค์ปัญโญ 76 โรงอบแห้งแคบหมูพลังงานแสงอาทิตย์แบบเรือนกระจก
นางสาวนิรันตรี ทวีโคตร 93 ชีววิทยา และจุลชีววิทยา การทำงานของจุลินทรีย์
ดร. ชเนษฎ์ วิชาศิลป์ 98 อุปกรณ์สาหรับพลังงานทดแทน และ พลังงานไฮโดรเจน, เซลล์แสงอาทิตย์ ตัวเก็บประจุและอุปกรณ์พลังงานทดแทน
นายพัดยศ เพชรวงษ์ 82 - นวัตกรรมทางการท่องเที่ยว - การท่องเที่ยวเชิงวิถีชุมชน - การจัดกิจกรรมนันทนาการเพื่อการท่องเที่ยว - กฎหมายและจรรยาบรรณทางการท่องเที่ยว
นาง สมพร เกตุผาสุข 87 ศึกษาการเจริญเติบโต และการให้ผลผลิตไข่ของเป็ดไข่สาวทีเลี้ยงด้วยหอยเชอรี่ป่นทดแทนปลาป่นในสูตรอาหารโดยเก็บข้อมูลน้ำหนักและจำนวนไข่ของเป็ดสาว
ดร.พีรพงษ์ แสงวนางค์กูล 78 1. ผลงาน "ห้องบ่มและเทคนิคการบ่มผลไม้ประโยชน์ 7 อย่าง" ได้รับรางวัลงานวิจัยสร้างผลกระทบสูงระดับ Silver จากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ประจำปี 2564 2. โครงการ "สารเอทีฟอนตกค้างในผลทุเรียนหมอนทองและทางเลือกในการบ่มเพื่อการส่งออก" งบประมาณจาก สวก. ผลวิจัยแสดงถึงความปลอดภัยในการบริโภคทุเรียนไทยทั้งในตลาดท้องถิ่นและตลาดส่งออก สร้างความมั่นใจในสินค้าทุเรียนไทย และลดความตื่นตระหนกความกังวลของผู้บริโภคไทยและจีนที่มีการให้ข้อมูลบิดเบือน 3. ผลวิจัยจาก "โครงการศึกษาเกณฑ์น้ำหนักแห้งของทุเรียนพันธุ์หมอนทอง กระดุมทอง ชะนี พวงมณี และก้านยาว เพื่อเป็นเกณฑ์บ่งชี้คุณภาพ" ใช้ปรับปรุงเกณฑ์น้ำหนักผลและน้ำหนักเนื้อแห้งของทุเรียนในมาตรฐานสินค้าเกษตร (ทุเรียน) มกษ.3-2556 ที่กำลังทบทวนในวาระครบรอบ 20 ปี ในปี 2566
ดร.อำภา ยาสมุทร์ 79 โครงการ การผลิตอินเตอร์เฟียรอนแกมมาในปริมาณมากเพื่อใช้ทางการแพทย์และการบูรณาการปลายน้ำสำหรับชุดคัดกรองแอนติ-อินเตอร์เฟียรอนแกมมาแอนติบอดีในผู้ป่วยกลุ่มอาการโรคภูมิคุ้มกันบกพร่องในวัยผู้ใหญ่ ภายใต้งบวิจัยที่ได้รับการคัดเลือกประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 โครงการการใช้ประโยชน์อาคารนวัตกรรมชีวภัณฑ์มหาวิทยาลัยมหิดล (MUBio) เพื่อทดสอบและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตชีววัตถุและชุดตรวจโรค ในระดับอุตสาหกรรม
ดร.จินดา ไชยช่วย 66 การจาลองแบบและจาลองสถานการณ์
ผศ.ดร.พันทิพย์ โตแก้ว 93 Numerical Analysis, Mathematical Model, การจำลองแบบและจำลองสถานการณ์
ผศ.ดร.สุรีรัตน์ อารีย์รักสกุล ก้องโลก 75 การจำลองแบบและจำลองสถานการณ์
ผศ.ดร.วราภรณ์ จาตนิล 85 การจำลองแบบและจำลองสถานการณ์
ผศ.ดร.ชนากานต์ เกียรติอร่ามกุล 77 การจำลองแบบและจำลองสถานการณ์
รศ.ดร.สุรัตนา สังข์หนุน 66 การจำลองแบบและจำลองสถานการณ์
ดร.เอลวิน มัวร์ 83 การจำลองแบบและจำลองสถานการณ์
รศ.ดร.ภาณุมาศ แสวงทอง 75 การจำลองแบบและจำลองสถานการณ์ / STEM Education
ผศ.ดร.สายันต์ แก่นนาคำ 92 การจำลองแบบและจำลองสถานการณ์, Computational fluid dynamics
ผศ.ดร.มนตรี ทองมูล 84 การจำลองแบบและจำลองสถานการณ์, Analysis, Topology
ผศ.ดร.วิชุดา แซ่เจีย 67 การจำลองแบบและจำลองสถานการณ์
รศ.ดร.ศราวุธ แสนการุณ 57 การจำลองแบบและจำลองสถานการณ์
รศ.ดร.สุวรรณ ถังมณี 64 การจำลองแบบและจำลองสถานการณ์
Dr.Stefan Schreier 57 วิธีเชิงบูรณาการเพื่อการพัฒนาวิธีตรวจวัดแอนติโนเจนโดยอาศัยอนุภาคไมโครและนาโน แบบจำลองการแพร่กระจายโรคติดเชื้อและแบบจำลองการดื้อยาปฏิชีวนะ
ผศ.ดร.ชาญ ลออวรเกียรติ 58 การศึกษาพฤติกรรมและปรากฏการณ์ทางควอนตัมของอนุภาคที่มีประจุผ่านวัสดุที่เกี่ยวข้องกับแกรฟีน
ผศ.ดร.ปิยะพงษ์ อะสะนิธิ 64 การศึกษาพฤติกรรมและปรากฏการณ์ทางควอนตัมของอนุภาคที่มีประจุผ่านวัสดุที่เกี่ยวข้องกับแกรฟีน
ผศ.ดร.สิขรินทร์ อยู่คง 52 การศึกษาพฤติกรรมและปรากฏการณ์ทางควอนตัมของอนุภาคที่มีประจุผ่านวัสดุที่เกี่ยวข้องกับแกรฟีน
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นัจภัค สุขสวัสดิ์ 84 มีประสบการณ์ถ่ายทอดเทคโนโลยีเรื่องการแปรรูปวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรในระดับจังหวัดฉะเชิงเทรา 2 ครั้งให้กับกลุ่มเกษตรกร และเรื่องการใช้ประโยชน์ไผ่ไม้เศรษฐกิจในระดับตำบลของจังหวัดชลบุรี จังหวัดสุรินทร์ จังหวัดยโสธร และจังหวัดกาญจนบุรี ให้กับกลุ่มเกษตรกรรมทั้งเจ้าหน้าที่ภาครัฐ เช่น กรมพัฒนาชุมชน สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด และสำนักงานเกษตรกร เป็นผู้ช่วยศาสตราจารย์ด้านวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมและมีงานวิจัยตีพิมพ์เผยแพร่ด้าน Agricultural waste treatment and utilization
ดารินทร์ ล้วนวิเศษ 83 ความเชี่ยวชาญ เทคโนโลยีบำบัดน้ำเสียและการปรับปรุงคุณภาพน้ำ, เทคโนโลยีการย่อยสลายแบบไม่ใช้ออกซิเจน, การประเมินปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกและการลดก๊าซเรือนกระจกในระดับเมือง, การประเมินคาร์บอนฟุตพริ้นท์ของผลิตภัณฑ์ (CFP), การประเมินวัฏจักรชีวิตของผลิตภัณฑ์ (LCA), การรับมือและการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
นางสาววนิดา ถาปันแก้ว 47 กระบวนกรค้นหาอัตลักษณ์ชุมชนเพื่อพัฒนากระบวนการผลิตผ้า ลายผ้า บรรจุภัณฑ์ผ้าทอ และจักสาน,กระบวนกรวิเคราะห์จุดอ่อนจุดแข็งของชุมชนและผู้ประกอบการ, การทำการตลาดออนไลน์, งานด้านการยกระดับเศรษฐกิจชุมชนด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์ในท้องถิ่น
นางสาวอ้อมหทัย ดีแท้ 55 วุฒิการศึกษาปริญญาตรี วท.บ. (เทคนิคการแพทย์) วุฒิการศึกษาปริญญาโท วท.ม. (ชีววิทยา) วุฒิการศึกษาปริญญาเอก วท.ด. (จุลชีววิทยาประยุกต์) ความเชี่ยวชาญ จุลชีววิทยาคลินิกและความปลอดภัยทางชีวภาพ จุลชีววิทยาประยุกต์และเทคโนโลยีชีวภาพ สาขาความเชียวชาญ การแพทย์แผนไทย/พัฒนายา/สมุนไพร/สุขภาพ/ความงาม [181] เทคโนโลยีชีววิทยาและจุลชีววิทยา [140]
รศ.ดร.อาธรณ์ วรอัด 40 การเคลือบฟิล์มบางด้วยการเคลือบในสุญญากาศ (vacuum coating) เป็นการปรับปรุงผิววัสดุแนวทางหนึ่งที่กำลังได้รับความสนใจอย่างกว้างขวางจากกลุ่มนักวิจัยและภาคอุตสาหกรรม โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเคลือบด้วยระบบสปัตเตอริ่ง (sputtering system) เช่น การเคลือบแข็ง (hard coating) บนผิวเครื่องมือตัดเจาะต่าง ๆ ทางอุตสาหกรรม เป็นการปรับปรุงพื้นผิวของเครื่องมือตัดเจาะให้มีความแข็งและยืดอายุการใช้งานของอุปกรณ์ให้ยาวนานขึ้น ซึ่งช่วยลดต้นทุนในการผลิตและยังเป็นการเพิ่มมูลค่าให้กับเครื่องมือตัดเจาะอีกด้วย นอกจากนี้ยังมีการเคลือบเพื่อใช้งานคุณสมบัติทางแสง เช่น ฟิล์มกรองแสงบนกระจกรถยนต์หรือในตัวอาคาร หรือการปรับปรุงสมบัติทางวัสดุศาสตร์สำหรับอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ เซนเซอร์ เป็นต้น