รศ.สุแพรวพันธ์ โลหะลักษณาเดช 96 การควบคุมคุณภาพผลิตภัณฑ์ประมง ความปลอดภัยในผลิตภัณฑ์ประมง เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวสัตว์น้ำ การประเมินสินค้าโอทอป
อ.ดร.ภาวิณี เทียมดี 99 การพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตบรรจุภัณฑ์จากเศษเหลือทิ้งจากการปลูกและแปรรูปกล้วยน้าว้า
อาจารย์ ดร.ภาราดร งามดี 142 -การพัฒนาผลิตภัณฑ์ของฝากจากกล้วยน้าว้า -การพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตบรรจุภัณฑ์จากเศษเหลือทิ้งจากการปลูกและแปรรูปกล้วยน้าว้า
ผศ.ดร.สุกาญจน์ รัตนเลิศนุสรณ์ 104 "1.การผลิตสารชีวภาพและสารสกัดสาอาหารหลักรองและเสริม สารชีวภาพ สารปฏิชีวนะ ด้วยชีวเทคโนโลยี เทคโนโลยีนาโนและเทคโนโลยีเอนไซม์ร่วมกับกลไกหัวเชื้อจุลินทรีย์นาโน เพื่อการเกษตรอินทรีย์ ประมงอินทรีย์ มาตรฐานอินทรีย์ไทย 2.การแปรรูปวัสดุเหลอทิ้งจากโรงงานอุตสาหกรรมด้วยชีวเทคโนโลยี เทคโนโลยีนาโนและเทคโนโลยีเอนไซม์ร่วมกับกลไกหัวเชื้อจุลินทรีย์นาโน เพิ่มเพิ่มมูลค่า รายได้ ลดปัญหามลพิษสิ่งแวดล้อม "
อาจารย์ กฤษณา เกตุคำ 115 งานศิลปะประดิษฐ์ ดอกไม้ประดิษฐ์ ประดิษฐ์เครื่องมือที่ใช้ในงานบายศรี งานประดิษฐ์ การจัดดอกไม้สด งานใบตอง งานแกะสลัก ผัก-ผลไม้
ผศ.สุพรรัตน์ ทองฟัก 103 การจัดทำบุญชีครัวเรือน การบริหารธุรกิจชุมชน การจัดทำบัญชีกลุ่มโอทอป
นางสาวชนิดา ประจักษ์จิตร 108 1. การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ และการแปรรูปอาหาร เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับวัตถุดิบในท้องถิ่น ให้คำแนะนำ ปรึกษา แก่ผู้ประกอบการ กลุ่มโอทอป และผู้สนใจ 2. มีประสบการณ์ด้านการออกแบบบรรจุภัณฑ์ แนวคิดการพัฒนาบรรจุภัณฑ์ให้กับผลิตภัณฑ์ของผู้ประกอบการโอทอป หรือผู้สนใจ 3. มีประสบการณ์ด้านการจัดโครงการ การบริหารโครงการ ทั้งโครงการบริการวิชาการ โครงการวิจัย ไม่น้อยกว่า 10 ปี
นายนิคม วงศ์นันตา 94 การผลิตสตรอว์เบอร์รีเพื่อทานผลสด
อาจารย์ประธาน เรียงลาด 95 การผลิตพืชอาหารสัตว์ - การใช้วัสดุเศษเหลือทางการเกษตรให้เป็นอาหารสัตว์ - การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศกับการผลิตสัตว์
ผศ.วรรธิดา หอมถาวรชู 112 1.แก้ปัญหาในกระบวนการผลิต ยืดอายุการเก็บ การประยุกต์ใช้สารสกัดจากธรรมชาติ 2.การแก้ปัญหาในกระบวนการผลิต การลดการเหม็นหืน การยืดอายุการเก็บรักษา การประยุกต์ใช้สารสกัดจากธรรมชาติ 3. การเพิ่มมูลค่า ผลิตภัณฑ์เกษตร สมุนไพรและวัสดุเศษเหลือทางการเกษตร การพัฒนาฟิล์มจากวัสดุเกษตร 4.การพัฒนา/การเพิ่มมูลค่า ผลิตภัณฑ์ ขนมจีน เส้นจากแป้งข้าว เพื่อสุขภาพ 5.ผลิตภัณฑ์ขนมอบ ผลิตภัณฑ์อาหารทอด ขนมทอด
ผศ.ดร.จิรัฎฐ์ ศิริเมืองมูล 109 1.การวิเคราะห์ปัญหาที่เกิดขึ้นในกระบวนการผลิตอาหารและเครื่องดื่มเพื่อนำไปสู่แนวทางการแก้ไข 2.ประเมินการยอมรับของผู้บริโภคที่มีต่อผลิตภัณฑ์ ด้วยการทดสอบทางประสาทสัมผัส รวมทั้งการวิเคราะห์พฤติกรรมของผู้บริโภคด้วยการเชื่อมโยงกับหลักการตลาด 3.การพัฒนาต่อยอดจากผลิตภัณฑ์เดิม และนำของเหลือใช้จากการเกษตรมาพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ใหม่ เพื่อที่สอดคล้องกับความต้องการของผู้บริโภค หรือสามารถยืดอายุเก็บรักษาได้นานขึ้น
อาจารย์ ดร.นิรมล จันทรชาติ 72 กระบวนการผลิตไบโอดีเซล, กระบวนการผลิตก๊าซชีวภาพ, กระบวนการผลิตไบโอเอทานอล
ผศ.ดร.อุษา อ้นทอง 106 สาขาเทคโนโลยีการเกษตร (การประยุกต์ใช้เศษเหลือทิ้งจากการผลิตพลังงานทดแทนมาใช้ให้เกิดประโยชน์
นายสรายุทธ์ มาลัยพันธ์ 95 งานเชื่อท งานโลหะไฟฟ้า
อาจารย์ภานุวัฒน์ ขันจา 113 การใช้เทคโนโลยีระบบสารสนเทศเพื่อทวนสอบคุณภาพสินค้า
ดร.พิพัฒน์ จันทร์ประดิษฐ์ 103 เทคโนโลยีชีวภาพด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม การจัดการและการใช้ประโยชน์จากวัสดุเศษเหลือทางการเกษตร การคิดและการออกแบบนวัตกรรมเชิงสร้างสรรค์ การถ่ายทอดเทคโนโลยีชุดต้นแบบด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม แห่งการเรียนรู้ตามแนวทางในการจัดการและการสร้างมูลค่าเพิ่มแก่วัสดุเศษเหลือทางการเกษตร เพื่อการผลิตก๊าซชีวภาพและปุ๋ยหมักแก่กลุ่มวิสาหกิจชุมชนนวัตวิถีวิทย์ ด้วยกิจกรรมการอบรมเชิงปฏิบัติการ เพื่อการพึ่งพาตัวเองได้อย่างยั่งยืนในสถานการณ์โควิดตามแนวทาง ชีวิตวิถีใหม่ (new normal) ได้เป็นอย่างดี
อาจารย์ น.สพ.เอลฮัม แวฮามะ 80 - การทอดเทคโนโลยีการผลิตโคเนื้อที่ได้ มาตรฐาน
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จักรพันธ์ พิชญพิพัฒกุล 78 - การถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตโคเนื้อที่ได้มาตรฐาน
ดร.ไมตรี แก้วทับทิม 93 ส้มโอปูโก/ส้มโอทับทิมสยาม เริ่มตั้งแต่การปลูก การทำปุ๋ยใช้เอง การดูแลสวน การดูแลและจัดเก็บผลผลิต การตลาดเพื่อจำหน่าย เป็นต้น
ผู้ช่วยศาสตราจารย์จิรพร สวัสดิการ 95 เทคนิคการ Spray Dryer สินค้าเกษตรและอาหาร การทำงานของเครื่อง Spray Dryer คือการนำตัวอย่างของเหลว (feed) ที่นำมาฉีด ควรมีลักษณะเหลว และไม่ข้นมาก จากนั้นของเหลวจะถูกดูดโดยปั๊มผ่านอุปกรณ์ที่ทำให้เกิดละอองฝอยคือ atomizer ภายในห้องอบ เมื่อละอองสัมผัสกับอากาศร้อนจะทำให้เกิดการระเหยของน้ำอย่างรวดเร็ว และจะได้ผงของผลิตภัณฑ์ตกลงสู่ด้านล่างของ drying chamber ผงบางส่วนที่หลุดออกมากับอากาศจะถูกแยกโดยใช้ cyclone ซึ่งจะรวมเข้าเป็นผลิตภัณฑ์รวมในที่สุด การนำไปใช้ ผลิตภัณฑ์ต่างๆ ที่นิยมใช้กันในปัจจุบันมักอยู่ในรูปที่พร้อมใช้งานได้เลย และสามารถเก็บรักษาได้ง่ายและนาน คือการทำให้อยู่ในรูปของแห้ง ส่วนวิธีการที่นิยมใช้ในการทำแห้งวิธีหนึ่งก็คือการทำแห้งแบบพ่นฝอย (Spray Dry) โดยมีเครื่องมือที่ใช้คือเครื่องทำแห้งแบบพ่นฝอย (Spray Dryer) มักใช้วิธีนี้กับผลิตภัณฑ์อาหาร เช่น นมผง ไข่ผง อาหารเด็ก เนื้อวัวสกัด โปรตีนสกัด และผลิตภัณฑ์ยา เช่น ยาผงสมุนไพร เป็นต้น แหล่งอ้างอิง ตูแวอิสมาแอ ตูแวบีรู. 2549. Spray Dryer. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก: http://web.yru.ac.th/~ dolah/ no
ดร.ปฏิมาพร ปลอดภัย 79 8. ส้มโอปูโก/ส้มโอทับทิมสยาม เริ่มตั้งแต่การปลูก การทำปุ๋ยใช้เอง การดูแลสวน การดูแลและจัดเก็บผลผลิต การตลาดเพื่อจำหน่าย เป็นต้น การปลูก การทำปุ๋ยใช้เอง การดูแลสวน การดูแลและจัดเก็บผลผลิต การตลาดเพื่อจำหน่าย เป็นต้น
นายกานต์ คำแก้ว 111 - สถาปัตยกรรมศาสตร์ - โครงสร้าง อาคาร หรือที่อยู่อาศัย - การรังวัดอาคารสถานที่โบราณ
นางสาวศุภนิชา ศรีวรเดชไพศาล 107 ออกแบบเครื่องแต่งกายสตรี บุรุษ และเสื้อผ้าเด็ก ออกแบบผลิตภัณฑ์สิ่งทอ บรรจุภัณฑ์สิ่งทอ พัฒนาผลิตภัณฑ์สิ่งทอที่สอดคล้องกับแทรนด์แฟชั่น
นายนรุตม์ คล้ายเคลื่อน 80 ปรับปรุงและพัฒนากระบวนการผลิต การออกแบบและจัดสร้างเครื่องมือทางอุตสาหกรรมขนาดเล็ก
นายนรุตม์ คล้ายเคลื่อน 77 ปรับปรุงและพัฒนากระบวนการผลิต การออกแบบและจัดสร้างเครื่องมือทางอุตสาหกรรมขนาดเล็ก
นางสาวอุทัยวรรณ ประสงค์เงิน 98 การออกแบบผลิตภัณฑ์ระบบอุตสาหกรรม งานความคิดสร้างสรรค์ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ การออกแบบในเชิงนวัตกรรมและการออกแบบเพื่อมวลชน การนำวัสดุเหลือทิ้งมาแปรรูปและนำมาผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ การออกแบบผลิตภัณฑ์สำหรับงานผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ การพัฒนาบรรจุภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อม
ผศ.อรสุชา อุปกิจ 114 เชี่ยวชาญด้านสื่อโฆษณา ด้านการตลาด เทคนิคการถ่ายภาพเพื่อทำสื่อโฆษณา ด้านการประชาสัมพันธ์
ดร.พิรุฬห์รัชย์ ไทยสมัคร 96 วุฒิการศึกษาปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมอาหาร) วุฒิการศึกษาปริญญาโท วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (วิศวกรรมอาหาร) วุฒิการศึกษาปริญญาเอก วิศวกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิต (วิศวกรรมอาหาร) ความเชี่ยวชาญ - ด้านการพัฒนากระบวนการอบแห้ง - ด้านพัฒนากระบวนแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร - ด้านเทคโนโลยีการสกัด - การจัดการวัสดุเกษตรเหลือทิ้ง - ความปลอดภัยด้านอาหาร
ดร.เพียงออ ยี่สา 109 การวิเคราะห์ข้อมูลการทดลองทางประสาทสัมผัสในการยอมรับของผู้บริโภค หลังจากใช้ผลิตภัณฑ์สกินครีม เพื่อทดสอบประสิทธิภาพของกรด ทาร์ทาร์ริก ที่ผลิตจากโพแทสเซียมไบทาร์เทรต การวิเคราะห์เปรียบเทียบปริมาตรจําเพาะของขนมเค้กโดยการเปรียบเทียบระหว่าง สูตรควบคุม สูตรท้องตลาด และสูตร ทดลอง เพื่อหาสูตรที่เหมาะสม
ปานใจ สื่อประเสริฐสิทธิ์ 106 สิ่งทอนาโนเทคโนโลยี เช่น ผ้าทอ เสื่อทอ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ตฤณ กิตติการอำพล คณะศึกษาศาส 133 ประติมากรรมเพื่อการบำบัดเด็กออทิสติก
นายธนัญกรณ์ ใจผ่อง 86 เครื่องตดข้อตาอ้อยด้วยระบบกึ่งอัตโนมัติ เพื่อทุนแรงในการผลิต
อาจารย์ ดร.ภาวิณี เทียมดี 91 การพัฒนาและออกแบบบรรจุภัณฑ์จากเศษเหลือทิ้งทางการเกษตร
รศ.ดร.วิชัย ฉัตรทินวัฒน์ 112 การบริหารงานผลิต และ ระบบคุณภาพ, การพัฒนาผลิตภัณฑ์และการผลิตสำหรับสินค้าโอทอป เเละการวิเคราะห์และลดต้นทุนการผลิตด้วยหลักการมาตรฐาน ISO14051 บัญชีต้นทุนการไหลวัสดุ
ดร.นันทยา เก่งเขตร์กิจ 112 มีความเชี่ยวชาญทางด้านพอลิเมอร์จากธรรมชาติ การใช้ประโยชน์จากเศษเหลือทิ้งทางการเกษตร
ผศ.ดร.เกรียงไกร สีตะพันธุ์ 83 กบคอนโดและกบนอกฤดูหนทางสู่ความพอเพียงวิถีเพียงพอที่ยั่งยืนแด่พ่อหลวงไทย
รศ.ดร.โชค โสรัจกุล (มิเกล็ด) 91 อาหารสัตว์หมักจากวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตร
นายประเทือง ฝั้นแก้ว 46 การพัฒนาและออกแบบเครื่องจักร เช่นเครื่องกวน และผสมน้ำพริก เครื่องอัดใบบัว เครื่องอัดใบกล้วย เพื่อทำภาชนะบรรจุ เป็นต้น
ดร.นันทยา เก่งเขตร์กิจ 111 มีความเชี่ยวชาญทางด้านพอลิเมอร์จากธรรมชาติ การใช้ประโยชน์จากเศษเหลือทิ้งทางการเกษตร
ผศ.กนกอร เวชกรณ์ 129 1.การพัฒนาเซ็นเซอร์ทางเคมีสำหรับตรวจจับไอออนโลหะและการประยุกต์ใช้ 2.การพัฒนาคาร์บอนดอทจากมวลชีวภาพและการประยุกต์ใช้
นางสาวอัมภาภรณ์ พีรวณิชกุล 80 สื่อประชาสัมพันธ์ แชทบอท เว็บ แอปพลิเคชั่น
ดร.ศักยะ สมบัติไพรวัน 150 2553 - ผู้ช่วยสอนนักศึกษาปริญญาตรี รายวิชาปฐพีกลศาสตร์ สาขาวิชาวิศวกรรมเกษตร 2554-2555 - ผู้ช่วยวิจัย งานเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว ศึกษาความสามารถในการยืดอายุการเก็บรักษามะม่วงน้ำดอกไม้โดยใช้ถ่านกัมมันต์ดูดซับเอทิลีนในบรรจุภัณฑ์ระหว่างการขนส่ง 2558 - ผู้ช่วยสอนนักศึกษาปริญญาตรี รายวิชาจุลชีววิทยาอาหาร สาขาวิชาวิศวกรรมเกษตร 2563 - นักวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ ศูนย์อนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี 2564 - หัวหน้าโครงการการพัฒนาศักยภาพผลิตภัณฑ์ท้องถิ่นด้วยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม (12 ผลิตภัณฑ์) ภายใต้โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี - เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป หน่วยบริการวิชาการชุมชน เทคโนธานี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี 2564 - ผู้ช่วยวิจัยโครงการการตรวจสอบชนิดและปริมาณการปนเปื้อนของสารหนูด้วยเทคนิคขั้นสูงจากเครื่องกำเนิดแสงซินโครตรอน รหัสโครงการ PRP6205012260 สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์กรมหาชน) 2565 - นักวิจัยหลังปริญญาเอก สาขาวิชาเทคโนโลยีอาหาร ภายใต้สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี - คณะกรรมการดำเนินการคัดสรรสุดยอดหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ไทย ปี พ.ศ. 2565 จ. นครราชสีมา ตรวจสอบและกลั่นกรองผลิตภัณฑ์ประเภทสมุนไพรที่ไม่ใช่อาหาร (คำสั่งจังหวัดนครราชสีมา ที่ 4785/2565 ลงวันที่ 5 พฤษภาคม 2565) - ที่ปรึกษา/ผู้วิจัย กิจกรรมการสร้างผู้ประกอบการชุมชน (Local Startups) ประจำปี 2564 ภายใต้แผนงานส่งเสริมการนำนวัตกรรมไปใช้ประโยชน์ในพื้นที่เพื่อพัฒนาชุมชนและสังคม (Area based Innovation for Community) เทคโนธานี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี โครงการเลขที่ TN026/2565 เรื่อง การพัฒนาสูตรแชมพูสมุนไพรตามคุณค่าทางวิชาการและควบคุมคุณลักษณะให้ผ่านมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน (The evaluation of herbal shampoo according to the community product standards) วิสาหกิจชุมชนกลุ่มเกษตรกรรวมใจบ้านไกลเสนียด อ.ท่าตูม จ.สุรินทร์ - ที่ปรึกษา/ผู้วิจัย กิจกรรมการสร้างผู้ประกอบการชุมชน (Local Startups) ประจำปี 2564 ภายใต้แผนงานส่งเสริมการนำนวัตกรรมไปใช้ประโยชน์ในพื้นที่เพื่อพัฒนาชุมชนและสังคม (Area based Innovation for Community) เทคโนธานี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารีโครงการเลขที่ TN028/2565 เรื่อง การวัดสมบัติทางเคมี-กายภาพ สเปรย์บรรเทาอาการปวดและแมลงสัตว์กัดต่อยเพื่อทำมาตรฐานการผลิตและส่งเสริมการขาย ( A study of chemo-physical properties of pain and insect bites relief spray to standardize production and marketing campaigns) วิสาหกิจชุมชนแปรรูปสมุนไพรหนองสมอ อ.คง จ.นครราชสีมา - ผู้ช่วยวิจัย โครงการสำรวจความเป็นไปได้ในการใช้ประโยชน์จากของเสียในโรงงานผลิตไส้ กรอก (กู้คืนและปรับสภาพน้ำมันสำหรับใช้เป็นพลังงาน) โรงงานไส้กรอก อ.ขามทะเลสอ จ.นครราชสีมา
อาจารย์ ดร. สายัณห์ อุ่นนันกาศ 85 ฟาร์มต้นแบบเกษตรอัจฉริยะบนระบบไอโอที ของการเลี้ยงปลากะพงขาว
ดร.พรพิษณุ ธรรมปัทม์ 94 ระบบคุณภาพโรงงานอุตสาหกรรมอาหาร การพัฒนาผลิตภัณฑ์ การพัฒนากระบวนการผลิต อาหารเฉพาะทาง การนำของเหลือทิ้งมาใช้ในกระบวนการผลิต
ผศ.วิภาดา มุนินทร์นพมาศ 95 ดำเนินการโครงการกับวว และสปอว.ตั้งแต่ปี 2560-2566 อย่างต่อเนื่องจนถึงปัจจุบันโดยทำการพัฒนาและยกระดับกลุ่มวิสาหกิจชุมชนในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนใต้ต้านต่าง ๆ ดังนี้ 1.ด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์ - ปี 2560 พัฒนาผลิตภัณฑ์ส้มแขกสามรส น้ำส้มแขกเข้มข้น และน้ำพริกเผาส้มแขก ให้กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรบ้านท่าสาป เลขที่ 79 บ้าน ท่าสาป อ.เมือง จ.ยะลา 95000 (สนับสนุนโดยสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ;วว.) - ปี 2561 การพัฒนาผลิตภัณฑ์ขนมรังผึ้งและวาฟเฟิล ให้นายองอาจ สายวารี ที่อยู่ บ้านเลขที่ 54 ถนน อนุสรณ์มหาราช ตำบล สะเตง อำเภอเมือง จังหวัดยะลา 95000 โทรศัพท์ 093-6808573 (สนับสนุนโดยสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ;วว.) - ปี 2562 พัฒนาผลิตภัณฑ์ข้าวแต๋นหน้ากล้วยหินตากเคลือบช็อกโกแลต กลุ่มสตรีบ้านเงาะกาโปร์ บ้านเลขที่ 63/1 ถนน สุขยางค์ ตำบล บันนังสตา อำเภอ นันนังสตา จังหวัดยะลา 95130 (สนับสนุนโดยคูปองวิทย์ ปี 2562) -ปี 2564 พัฒนาผลิตภัณฑ์เปลือกมะนาวสามรสให้กับกลุ่มวิสาหกิจชุมชนกลุ่มมะนาวสร้างตนเอง อ.โคกโพธิ์ จ.ปัตตานี (สนับสนุนโดยคูปองวิทย์เพื่อโอทอป ปี 64) - ปี 2564 พัฒนาผลิตภัณฑ์น้ำลองกองผสมน้ำอัญชันเสริมคอลลาเจนแคลลอรี่ต่ำและลองกองหยีให้กับกลุ่มวิสาหกิจแปรรูปผลไม้บ้านเชิงเขา อ.บาเจาะ จ.นราธิวาส (สนับสนุนโดยคูปองวิทย์เพื่อโอทอป ปี 64) - ปี 2566 การพัฒนาผลิตภัณฑ์แกงไตปลาแห้งและน้ำพริกแกงไตปลาเจเพื่อส่งเสริมการตลาดให้กับกลุ่มวิสาหกิจชุมชนน้ำพริกแม่ผัว อ.เมือง จ.ยะลา (สนับสนุนโดยสปอว.2566) 2.พัฒนาฉลากและบรรจุภัณฑ์ - ปี 2560 การพัฒนาบรรจุภัณฑ์ผลิตภัณฑ์ธัญพืชบด กลุ่มแปรรูปผลิตภัณฑ์การเกษตร ตำบลตาชี อำเภอยะหา จังหวัดยะลา (สนับสนุนโดยสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ;วว.) - ปี 2561 การพัฒนาฉลากและบรรจุภัณฑ์ผลิตภัณฑ์ขนมรังผึ้งและวาฟเฟิล ให้นายองอาจ สายวารี ที่อยู่ บ้านเลขที่ 54 ถนน อนุสรณ์มหาราช ตำบล สะเตง อำเภอเมือง จังหวัดยะลา 95000 โทรศัพท์ 093-6808573 (สนับสนุนโดยสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ;วว.) -ปี 2464 พัฒนาฉลากและบรรจุภัณฑ์ผลิตภัณฑ์เปลือกมะนาวสามรสให้กับกลุ่มวิสาหกิจชุมชนกลุ่มมะนาวสร้างตนเอง อ.โคกโพธิ์ จ.ปัตตานี (สนับสนุนโดยคูปองวิทย์เพื่อโอทอป ปี 64) - ปี 2564 3.พัฒนามาตรฐาน - ปี 2560 ขอมาตรฐานอย.จนได้รับรองมาตรฐานให้กับผลิตภัณฑ์ธัญพืชบด กลุ่มแปรรูปผลิตภัณฑ์การเกษตร ตำบลตาชี อำเภอยะหา จังหวัดยะลา (สนับสนุนโดยสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ;วว.) - ปี 2562 ขอมาตรฐานอย.อาคารผลิตจนได้รับรองมาตรฐานในผลิตภัณฑ์ข้าวแต๋นหน้ากล้วยหินตากเคลือบช็อกโกแลต กลุ่มสตรีบ้านเงาะกาโปร์ บ้านเลขที่ 63/1 ถนน สุขยางค์ ตำบล บันนังสตา อำเภอ นันนังสตา จังหวัดยะลา 95130 (สนับสนุนโดยคูปองวิทย์ ปี 2562) - ปี 2565 ขอมาตรฐานอย.จนได้รับรองมาตรฐาน อาคารผลิต ผลิตภัณฑ์มะนาวสามรส ผลิตภัณฑ์น้ำมะนาวผสมน้ำผึ้งบรรจุขวดให้กับกลุ่มวิสาหกิจชุมชนกลุ่มมะนาวสร้างตนเอง อ.โคกโพธิ์ จ.ปัตตานี (สนับสนุนโดยคูปองวิทย์เพื่อโอทอป ปี 2565) 4.พัฒนากระบวนการผลิต - ปี 2565 พัฒนากระบวนการผลิตน้ำมะนาวผสมน้ำผึ้งบรรจุขวดให้กับกลุ่มวิสาหกิจชุมชนมะนาวสร้างตนเอง 16/5 บ้านโพธิ์ หมู่ 2 ถนนเพรชเกษม ต.มะกรูด อ.โคกโพธิ์ จ.ปัตตานี (สนับสนุนโดยคูปองวิทย์เพื่อโอทอป ปี 65)
นางสาวสุมนา ปานสมุทร 94 1.นาโนเทคโนโลยีชีวภาพ 2.วัสดุนาโน 3.การเคลือบผิวนาโนคอมโพสิต ใช้ในการเคลือบเนื้อทุเรียนในการแช่แข็งเพื่อยืดอายุของเนื้อทุเรียน และสารชีวภาพ ในการทดแทนสารเคมี
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ณัฐกฤตา บุณณ์ประกอบ 110 -สาขานวัตกรรมวัสดุ วัสดุนาโน ถ่านกัมมันต์และอื่นๆ -สาขาเคมี พลาสติก พอลิเมอร์ เคมีพื้นฐาน -สาขาพลังงาน ปิโตรเคมี ไบโอดีเซล ไบโอแก๊ส ไบโอเอทานอล
นางสาววรุณรักษ์ ราษีนวล 94 การศึกษาผลของสาร GA B1 และสารชีวภัณฑ์PGPR1 ที่มีผลต่อการงอกของพริกซุปเปอร์ฮอท
รศ. ดร.กนกทิพย์ บุญเกิด 86 การพัฒนายางธรรมชาติสำหรับการใช้งานขั้นสูง , การพัฒนาสารตัวเติมสำหรับยางจากวัสดุเหลือทิ้งจากเกษตรกรรม ,การพัฒนาโฟมยางสำหรับใช้เป็นวัสดุตกแต่งอาคาร ,การพัฒนาเทอร์มอพลาสติกอิลาสโตเมอร์
ดร.พีรพงษ์ แสงวนางค์กูล 78 1. ผลงาน "ห้องบ่มและเทคนิคการบ่มผลไม้ประโยชน์ 7 อย่าง" ได้รับรางวัลงานวิจัยสร้างผลกระทบสูงระดับ Silver จากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ประจำปี 2564 2. โครงการ "สารเอทีฟอนตกค้างในผลทุเรียนหมอนทองและทางเลือกในการบ่มเพื่อการส่งออก" งบประมาณจาก สวก. ผลวิจัยแสดงถึงความปลอดภัยในการบริโภคทุเรียนไทยทั้งในตลาดท้องถิ่นและตลาดส่งออก สร้างความมั่นใจในสินค้าทุเรียนไทย และลดความตื่นตระหนกความกังวลของผู้บริโภคไทยและจีนที่มีการให้ข้อมูลบิดเบือน 3. ผลวิจัยจาก "โครงการศึกษาเกณฑ์น้ำหนักแห้งของทุเรียนพันธุ์หมอนทอง กระดุมทอง ชะนี พวงมณี และก้านยาว เพื่อเป็นเกณฑ์บ่งชี้คุณภาพ" ใช้ปรับปรุงเกณฑ์น้ำหนักผลและน้ำหนักเนื้อแห้งของทุเรียนในมาตรฐานสินค้าเกษตร (ทุเรียน) มกษ.3-2556 ที่กำลังทบทวนในวาระครบรอบ 20 ปี ในปี 2566
รศ.พญ.จรัสศรี ฬียาพรรณ 75 ผู้เชี่ยวชาญทางด้านโรคเล็บและโรคติดเชื้อที่ผิวหนัง
รศ.นพ.สุมนัส บุณยะรัตเวช 86 ผู้เชี่ยวชาญทางด้านโรคเล็บและโรคติดเชื้อที่ผิวหนัง
ดร.อำภา ยาสมุทร์ 79 โครงการ การผลิตอินเตอร์เฟียรอนแกมมาในปริมาณมากเพื่อใช้ทางการแพทย์และการบูรณาการปลายน้ำสำหรับชุดคัดกรองแอนติ-อินเตอร์เฟียรอนแกมมาแอนติบอดีในผู้ป่วยกลุ่มอาการโรคภูมิคุ้มกันบกพร่องในวัยผู้ใหญ่ ภายใต้งบวิจัยที่ได้รับการคัดเลือกประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 โครงการการใช้ประโยชน์อาคารนวัตกรรมชีวภัณฑ์มหาวิทยาลัยมหิดล (MUBio) เพื่อทดสอบและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตชีววัตถุและชุดตรวจโรค ในระดับอุตสาหกรรม
รศ. ดร.อธิพงศ์ งามจารุโรจน์ 70 เซลล์แสงอาทิตย์ชนิดเพอรอฟสไกด์ที่มีประสิทธิภาพสูงและราคาถูกเพื่อทดแทนการใช้เซลล์แสงอาทิตชนิดซิลิกอน
รศ. ดร.อัจฉรา ปัญญา เจริญจิตติชัย 78 เซลล์แสงอาทิตย์ชนิดเพอรอฟสไกด์ที่มีประสิทธิภาพสูงและราคาถูกเพื่อทดแทนการใช้เซลล์แสงอาทิตชนิดซิลิกอน
ผศ.ดร.ธิติ เตชธนพัฒน์ 102 การเพิ่มประสอทธิภาพของเซลล์แสงอาทิตย์ชนิด CIGS ด้วยโครงสร้างเซลล์แบบแทนเดม Perovskite-CIGS
ผศ.ดร.รังสิมา ชาญพนา 101 การเพิ่มประสอทธิภาพของเซลล์แสงอาทิตย์ชนิด CIGS ด้วยโครงสร้างเซลล์แบบแทนเดม Perovskite-CIGS
ผศ.ดร.วรานนท์ อนุกูล 83 อินเตอร์เฟียโรมิเตอร์อะตอมสนามใกล้แบบทาล์บอท-เลา / ทัศนศาสตร์อะตอมควอนตัม
ผศ.ดร.วีรมลล์ ไวลิขิต 78 เซลล์แสงอาทิตย์ชนิดเพอรอฟสไกด์ที่มีประสิทธิภาพสูงและราคาถูกเพื่อทดแทนการใช้เซลล์แสงอาทิตชนิดซิลิกอน / เคมีวิเคราะห์
ผศ.ดร.สุรเชษฐ์ ผดุงธิติธาดา 80 เซลล์แสงอาทิตย์ชนิดเพอรอฟสไกต์ / การสังเคราะห์สารประกอบควอนตัมดอท
รศ.ดร.เอกสิทธิ์ วงศ์ราษฎร์ 71 เซลล์แสงอาทิตย์ชนิดเพอรอฟสไกด์ที่มีประสิทธิภาพสูงและราคาถูกเพื่อทดแทนการใช้เซลล์แสงอาทิตชนิดซิลิกอน
รศ.ดร.พิพัฒน์ เรือนคำ 76 เซลล์แสงอาทิตย์ชนิดเพอรอฟสไกด์ที่มีประสิทธิภาพสูงและราคาถูกเพื่อทดแทนการใช้เซลล์แสงอาทิตชนิดซิลิกอน
รศ.ดร.สรไกร ศรีศุภผล 82 อินเตอร์เฟียโรมิเตอร์อะตอมสนามใกล้แบบทาล์บอท-เลา
รศ.ดร.สรายุธ เดชะปัญญา 93 อินเตอร์เฟียโรมิเตอร์อะตอมสนามใกล้แบบทาล์บอท-เลา
รศ.ดร.สุรศักดิ์ เชียงกา 81 อินเตอร์เฟียโรมิเตอร์อะตอมสนามใกล้แบบทาล์บอท-เลา
รศ.ดร.อัฐสิษฐ์ ทับทิมแท้ 99 เซลล์แสงอาทิตย์ชนิดเพอรอฟสไกด์ที่มีประสิทธิภาพสูงและราคาถูกเพื่อทดแทนการใช้เซลล์แสงอาทิตชนิดซิลิกอน
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นัจภัค สุขสวัสดิ์ 84 มีประสบการณ์ถ่ายทอดเทคโนโลยีเรื่องการแปรรูปวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรในระดับจังหวัดฉะเชิงเทรา 2 ครั้งให้กับกลุ่มเกษตรกร และเรื่องการใช้ประโยชน์ไผ่ไม้เศรษฐกิจในระดับตำบลของจังหวัดชลบุรี จังหวัดสุรินทร์ จังหวัดยโสธร และจังหวัดกาญจนบุรี ให้กับกลุ่มเกษตรกรรมทั้งเจ้าหน้าที่ภาครัฐ เช่น กรมพัฒนาชุมชน สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด และสำนักงานเกษตรกร เป็นผู้ช่วยศาสตราจารย์ด้านวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมและมีงานวิจัยตีพิมพ์เผยแพร่ด้าน Agricultural waste treatment and utilization
ดร.นฎาภัสส์ คุ้มกลาง 74 แปรรูปอาหาร, การผลิตเอทานอลจากกระบวนการ fermentation และการทำให้บริสุทธิ์ สารสกัดการต้านอนุมูลอิสระ การต้านการอักเสบ
ผศ.ดร.นันทยา เก่งเขตร์กิจ 59 มีความเชี่ยวชาญทางด้านพอลิเมอร์จากธรรมชาติ การใช้ประโยชน์จากเศษเหลือทิ้งทางการเกษตร
รศ.วิชัย ฉัตรทินวัฒน์ 50 การพัฒนาระบบการผลิตและระบบการจัดการคุณภาพตามมาตรฐาน สำหรับโรงงานและผู้ประกอบการโอทอป การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต การลดต้นทุนดำเนินงาน การออกแบบระบบการควบคุมคุณภาพสำหรับโรงงาน
ผศ.ดร.สุภาพร พงษ์ธรพฤกษ์ 26 การเพิ่มมูลค่าวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรสู่การเป็นวัสดุบำรุงดินและอื่น ๆ
นายมนูญ รักษาภักดี 29 มีความเชี่ยวชาญด้านการผลิตอุปกรณ์ลบคมท่อทองแดงไฟฟ้าไร้สาย
เยาวลักษณ์ ขันหัวโทน 25 ด้านเคมีวิเคราะห์ เกี่ยวกับการหาปริมาณสารที่สนใจในตัวอย่างต่างๆ ด้วยเครื่องมือทางวิทยาศาสตร์
ดร.ประชา คำภักดี 31 1. อิเล็กทรอนิกส์กำลัง (Power Electronics) 2. การขับเคลื่อนมอเตอร์ไฟฟ้า (Electric Motor Drives) 3. เครื่องจักรไฟฟ้า (Electrical Machines) 4. การควบคุมแบบเรียงลำดับ (Sequence Control System) 5. การวิเคราะห์วงจรไฟฟ้า (Electrical Circuit Analysis) 6. การประยุกต์ใช้งานระบบเซลล์แสงอาทิตย์ (Solar PV System) 7.ระบบสมองกลฝังตัว (Embedded System) และประยุกต์ใช้งานเทคโนโลยีไอโอที (ioT)