รศ.สุแพรวพันธ์ โลหะลักษณาเดช 96 การควบคุมคุณภาพผลิตภัณฑ์ประมง ความปลอดภัยในผลิตภัณฑ์ประมง เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวสัตว์น้ำ การประเมินสินค้าโอทอป
นางสุวิมล กะตากูล เรเกอร์ส 142 เทคนิคและกระบวนการแปรรูปอาหาร การแปรรูปผักและผลไม้ เช่น น้ำผลไม้ ไวน์ผลไม้ แยม-เยลลี่ ผลไม้ ผักผลไม้แช่อิ่มอบแห้ง ผักผลไม้ผง ผักผลไม้ดอง ผักผลไม้ทอด การยืดอายุการเก็บรักษาอาหาร เช่น พริกแกงชนิดต่างๆ น้ำพริก ทางด้านเทคโนโลยีขนมอบ เช่นคุกกี้ ขนมปัง ขนมเค้ก ขนมเปี๊ยะ
ดร.ละออทิพย์ ไมตรี 109 เทคโนโลยีการผลิตพืชผักเศรษฐกิจ เทคโนโลยีการเก็บเมล็ดพันธุ์ ตรวจประเมินมาตรฐานการผลิตพืชในระบบปลอดภัย
ดร.เอกบุตร อยู่สุข 123 กระบวนทัศน์การถ่ายทอดเทคโนโลยีเกษตรทฤษฎีใหม่ในด้านเครื่องยนต์การเกษตร การถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านเครื่องยนต์การเกษตร
รศ.ดร.กานดา หวังชัย 101 เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว ความปลอดภัยในอาหาร
ผู้ช่วยศาสตราจารย์เมธ์วดี พยัฆประโคน 131 ออกแบบผลิตภัณฑ์หัตถกรรม แบ่งเป็น 3 ประเภท คือ 1. ของใช้ (ผลิตภัณฑ์สินค้าแฟชั่น ได้แก่ หมวก กระเป๋า เสื้อผ้า เครื่องประดับ รองเท้า , 2 ของที่ระลึก โดยพัฒนาต่อยอดจากอัตลักษณ์ชุมชน และ 3 ของประดับบ้าน (ผลิตภัณฑ์เฟอร์นิเจอร์ไทย เช่น ตู้ โต๊ะ ตั่ง และของประดับบ้าน เช่น ชุดเครื่องใช้บนโต๊ะอาหาร หมอนอิง เสื่อกก) เป็นต้น
อาจารย์ธวัลรัตน์ สัมฤทธิ์ 114 การพัฒนาผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ของอาหารหรือเครื่องดื่ม วิศวกรรมอาหารการออกแบบเครื่องจักรกลอาหาร กระบวนการแปรรูปอาหารระบบทำความเย็นในอุตสาหกรรมการจำลองสถานการณ์เชิงวิศวกรรม การวางแผนกระบวนการผลิตอาหารมาตรฐานความปลอดภัยของการผลิตอาหาร การจัดการผลผลิตทางการเกษตรหลังการเก็บเกี่ยว
อาจารย์ญาณิศา จินดาหลวง 100 การพัฒนาผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเกษตร เพื่อการสร้างมูลค่าเพิ่มและตอบสนองความต้องการของตลาด การแปรรูปผลิตผลทางการเกษตร การประเมินคุณภาพของผลิตภัณฑ์ทางด้านกายภาพเคมีจุลินทรีย์ประสาทสัมผัสและการยอมรับของผู้บริโภค มาตรฐานและความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์
อาจารย์รัตนากร แสนทำพล 164 การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร, การแปรรูปผลิตผลปศุสัตว์(เนื้อ นม ไข่) การทำมาตรฐานอาหารปลอดภัย, การทำมาตรฐานฟาร์ม
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ฉวีวรรณ บุญเรือง 109 1.การจัดการศัตรูพืช การจัดการผลิตผลหลังการเก็บเกี่ยว 2.การผลิตจุลินทรีย์และผลิตภัณฑ์จุลินทรีย์ส่งเสริมการเจริญเติบโตและควบคุมศัตรูของพืช การผลิตเห็ด 3.การผลิตพืชปลอดภัย
นายรังสรรค์ บุญมาแคน 101 เกษตรทฤษฎีใหม่ / การปลูกผักปลอดภัยแบบครบวงจร
ผศ.กรณัท สุขสวัสดิ์ 113 "1. สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีและนวัตกรรม การพัฒนาและการสร้างคุณค่าเพิ่มมูลค่า 2. ขบวนการย้อมสีธรรมชาติที่เป้นมิตรกับสิ่งแวดล้อม การพัฒนาผลิตภัณฑ์เคหะสิ่งทอฯ 3.การพัฒนาและยกระดับผลิตภัณฑ์จากปาล์ม ตลอดจนนวัตกรรมเพื่อการแปรรูปผลิตภัณฑ์สิ่งทอฯ และยกระดับผลิตภัณฑ์ OTOP จังหวัดปทุมธานี"
อาจารย์อัญญารัตน์ ประสันใจ 101 โลหะวิทยา วัสดุวิศวกรรม การควบคุมคุณภาพ วิศวกรรมความปลอดภัย
ดร.ชุมพล เหลืองชัยศรี 102 เทคโนโลยีฟิมล์บาง ระบบเครื่องมือวัด และระบบอัตโนมัติ เครื่องหยอดเมล็ดพันธุ์
ดร.ยรรยง เฉลิมแสน 90 มีความเชี่ยวชาญด้านโรคและแมลงศัตรูพืช และการป้องกันกำจัดอย่างปลอดภัย
อาจารย์วรงศ์ นัยวินิจ 75 การจัดการศัตรูพืชแบบปลอดภัย
นายณัฏฐวุฑท์ กุตระแสง 94 ถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตเห็ด ด้วยโรงเรือนเพาะเห็ดระบบทำความเย็นด้วยถ่าน
ดร.สุพรรณิการ์ ศรีบัวทอง 119 จุลชีววิทยาทางอาหาร การจัดการด้านความปลอดภัยอาหาร โพรไบโอติก อาหารหมัก
ดร.ปิยะพร พิทักษ์ตันสกุล 111 ด้านการจัดการสิ่งแวดล้อม การจัดการสวน/พื้นที่เกษตรแบบปลอดภัย ตามหลักการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (Zero Waste)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์จิรพัฒน์ นาวารัตน์ 98 กายภาพบำบัดทางระบบประสาท การฟื้นฟูสภาพผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง การสร้างและพัฒนาแบบประเมิน การควบคุมการทรงตัวในผู้สูงอายุ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วิยดา กวานเหียน กลางบุตร 126 การวินิจฉัยโรคติดเชื้อด้วยเทคนิคทางห้องปฏิบัติการ ด้านระบบภูมิคุ้มกันในมนุษย์
อาจารย์ ดร.อโนมา สันติวรกุล 109 กายภาพบำบัดระบบหายใจและไหลเวียนโลหิต การออกกำลังกาย กิจกรรมทางกายเพื่อส่งเสริมสุขภาพ การฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง
รองศาสตราจารย์ ดร. รวีวรรณ เดื่อมขันมณี 94 โรคพืช อารักขาพืช การกลั่นน้ำมันหอมระเหยเพื่อควบคุมโรคพืชที่เกิดจากเชื้อรา การใช้น้ำส้มควันไม้ควบคุมโรคพืช การควบคุมโรคพืชโดยชีววิธี การใช้เทคโนโลยีผลิตเห็ด การศึกษาเห็ดเอ็คโตมัยคอร์ไรซา การผลิตพืชปลอดภัย ตรวจประเมินเกษตรอินทรีย์ข้าว สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ (มกอช.)
นายนิคม วงศ์นันตา 82 การปลูกพืชผักปลอดสารพิษ
นางน้ำอ้อย น้ำดอกไม้ 95 การแปรรูปต่อยอดสินค้าเกษตรผลิตภัณ์จากพืช
ดร.บุษราคัม ป้อมทอง 51 การถ่ายทอดเทคโนโลยีการมัดสีย้อมธรรมชาติไหมและการเพิ่มมูลค่าไหมจากกาวไหม
ผู้ช่วยศาสตราจารย์เตือนใจ ศิริพาหนะกุล 94 1. การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร 2. การแปรรูปอาหาร 3. อาหารปลอดภัย 4.การออกแบบบรรจุภัณฑ์
ดร.ปรีชา ทุมมุ 117 1. การพัฒนาศักยภาพการผลิตผักปลอดภัย 2. การพัฒนาเครื่องบรรจุพืชอาหารสัตว์ต้นทุนต่ำแบบสุญญากาศ 3. พืชสมุนไพรเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มด้านเวชศาสตร์ฟื้นฟูและเวชศาสตร์อายุรวัฒน์
ดร.ตระกูล พรหมจักร 100 เทคโนโลยีอาหารปลอดภัย
นางหทัยรัตน์ เทพสถิตย์ 99 การทำสารชีวภัณฑ์ทางการเกษตร การปลูกผักอินทรีย์ การปลูกเมล่อนมาตรฐานอาหารปลอดภัยในโรงเรือน
ผู้ช่วยศาสตราจารย์จุฑาทิพย์ อาจชมภู 117 การผลิตสีจากธรรมชาติโดยใช้ได้กับผ้าทุกชนิดติดทนปลอดภัย ประหยัดต้นทุน รวมไปถึงผลิตภัณฑ์ของใช้ต่างๆที่ต้องการสีจากธรรมชาติ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อนนท์ นำอิน 144 1. ระบบส่งกำลังไฟฟ้าไร้สายแบบเหนี่ยวนำ (Inductive Wireless Power Transfer) 2. ระบบอัดประจุแบตเตอรี่ยานยนต์ไฟฟ้าไร้สายแบบเหนี่ยวนำ (Wireless EV Charging System) 3. เครื่องจำลองแสงอาทิตย์ชนิดไดโอดเปล่งแสงสำหรับทดสอบเซลล์แสงอาทิตย์ (LED Solar Simulator for PV Testing) 4. การออกแบบระบบการสอนวิศวกรรมไฟฟ้า (Electrical Engineering Instructional System Design)
ผศ.ดร.สุรพงษ์ ทองเรือง 90 เทคโนโลยีด้านการเลี้ยงสัตว์ การผสมเทียมโคและสุกร การจัดการฟาร์มสุกร เช่น การจัดการสุกรเล้าคลอด การจัดการลูกสุกร
ผศ.ดร. อิศรา วัฒนนภาเกษม 140 เทคโนโลยีการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากข้าว เทคโนโลยีการผลิตข้าวก่ำลืมผัวปลอดภัยด้วยระบบ GAP
ผศ.วรรธิดา หอมถาวรชู 112 1.แก้ปัญหาในกระบวนการผลิต ยืดอายุการเก็บ การประยุกต์ใช้สารสกัดจากธรรมชาติ 2.การแก้ปัญหาในกระบวนการผลิต การลดการเหม็นหืน การยืดอายุการเก็บรักษา การประยุกต์ใช้สารสกัดจากธรรมชาติ 3. การเพิ่มมูลค่า ผลิตภัณฑ์เกษตร สมุนไพรและวัสดุเศษเหลือทางการเกษตร การพัฒนาฟิล์มจากวัสดุเกษตร 4.การพัฒนา/การเพิ่มมูลค่า ผลิตภัณฑ์ ขนมจีน เส้นจากแป้งข้าว เพื่อสุขภาพ 5.ผลิตภัณฑ์ขนมอบ ผลิตภัณฑ์อาหารทอด ขนมทอด
ผศ.ดร.จิรัฎฐ์ ศิริเมืองมูล 109 1.การวิเคราะห์ปัญหาที่เกิดขึ้นในกระบวนการผลิตอาหารและเครื่องดื่มเพื่อนำไปสู่แนวทางการแก้ไข 2.ประเมินการยอมรับของผู้บริโภคที่มีต่อผลิตภัณฑ์ ด้วยการทดสอบทางประสาทสัมผัส รวมทั้งการวิเคราะห์พฤติกรรมของผู้บริโภคด้วยการเชื่อมโยงกับหลักการตลาด 3.การพัฒนาต่อยอดจากผลิตภัณฑ์เดิม และนำของเหลือใช้จากการเกษตรมาพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ใหม่ เพื่อที่สอดคล้องกับความต้องการของผู้บริโภค หรือสามารถยืดอายุเก็บรักษาได้นานขึ้น
ผศ.ดร.ณัฏยา คนซื่อ 112 1.การพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์และเครื่องดื่มรแปรรูปจากผัก ผลไม้ ชา และสมุนไพร 2.การยืดอายุการเก็บรักษา การปรับปรุงคุณภาพ ความปลอดภัยของอาหาร
ผู้ช่วยศาสตราจารย์จิรพร สวัสดิการ 97 การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากกระวาน พร้อมถ่ายทอด
อาจารย์ ดร.นิรมล จันทรชาติ 72 กระบวนการผลิตไบโอดีเซล, กระบวนการผลิตก๊าซชีวภาพ, กระบวนการผลิตไบโอเอทานอล
อ.ดร.สุภาพร เมฆสวี 49 อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นงนุช สังข์อยุทธ์ 103 กระบวนการถ่ายทอดเทคโนโลยีและพัฒนา การสร้างกระบวนการกลุ่ม การสำรวจข้อมูล
อาจารย์เนติยา การะเกตุ 99 การเพิ่มปริมาณเนื้อเยื่อในหลอดแก้ว การวิเคราะห์สารสำคัญและการกระตุ้นการผลิตสารสำคัญในพืช
ดร.ภัทราภรณ์ ศรีสมรรถการ 137 1. เทคโนโลยีการผลิตและพัฒนาคุณภาพผัก-ผลไม้และผลิตภัณฑ์ (เครื่องดื่มคุณภาพไวน์) 2.เทคโนโลยีเนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์ 3.การจัดการมาตรฐานและความปลอดภัยในการผลิตอาหารและเครื่องดื่ม
ผศ.ดร.นิอร โฉมศรี 106 1.เทคโนโลยีเอนไซม์ทางอาหาร และเทคนิคในการทำโปรตีนให้บริสุทธิ์ 2.จุลชีววิทยาทางอาหาร (เช่น การประยุกต์ใช้จุลินทรีย์กับอาหารหมัก การตรวจวิเคราะห์และการควบคุมคุณภาพอาหารทางจุลินทรีย์ การผลิตกล้าเชื้อจุลินทรีย์ การควบคุมจุลินทรีย์เพื่อความปลอดภัยทางอาหาร ฯลฯ)
ผศ.ดร. จิรภา พงษ์จันตา 96 1.เทคโนโลยีการผลิตและพัฒนาผลิตภัณฑ์จากธัญพืชและพืชหัว 2.การจัดการมาตรฐานและความปลอดภัยในการผลิตอาหารและเครื่องดื่ม
ผศ.นภา ขันสุภา 122 เทคโนโลยีการจัดการผักปลอดภัย การแปรรูปผักเชียงดา
ผศ.ปริญญาวดี ศรีตนทิพย์ 105 เทคโนโลยีการจัดการผักปลอดภัย การแปรรูปผักเชียงดา
นางสาวหัสลินดา บินมะแอ 117 อบรมให้ความรู้ด้านเทคนิคทางจุลชีววิทยา, อบรมเจลยับยั้งจุลินทรีย์, การทำโยเกิร์ตอย่างง่าย, การผลิตโยเกิร์ตเพื่อสุขภาพ, การเลี้ยงและขยายเชื้อพันธุ์วุ้นสวรรค์อย่างง่าย, อาหารปลอดภัย ห่างไกลเชื้อโรค
ผศ.ดร.จันทร์เพ็ญ ชุมแสง 93 ถ่ายทอดเทคโนโลยีเทคนิคการจัดการเกษตรให้มีคุณภาพ การขยายเชื้อจุลินทรีย์สังเคราะห์แสง เชื้อราไตรโคเดอร์มาและวิธีการใช้งานกับพืชแต่ละชนิด เทคโนโลยีการ ผลิตสับปะรดทั้งในและนอกฤดู
ดร.พิพัฒน์ จันทร์ประดิษฐ์ 103 เทคโนโลยีชีวภาพด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม การจัดการและการใช้ประโยชน์จากวัสดุเศษเหลือทางการเกษตร การคิดและการออกแบบนวัตกรรมเชิงสร้างสรรค์ การถ่ายทอดเทคโนโลยีชุดต้นแบบด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม แห่งการเรียนรู้ตามแนวทางในการจัดการและการสร้างมูลค่าเพิ่มแก่วัสดุเศษเหลือทางการเกษตร เพื่อการผลิตก๊าซชีวภาพและปุ๋ยหมักแก่กลุ่มวิสาหกิจชุมชนนวัตวิถีวิทย์ ด้วยกิจกรรมการอบรมเชิงปฏิบัติการ เพื่อการพึ่งพาตัวเองได้อย่างยั่งยืนในสถานการณ์โควิดตามแนวทาง ชีวิตวิถีใหม่ (new normal) ได้เป็นอย่างดี
ผู้ช่วยศาสตราจารย์วราศรี แสงกระจ่าง 131 1. เทคโนโลยีและกระบวนการแปรรูป/การเลือกบรรจุภัณฑ์/การทำฉลากโภชนาการ และการยืดอายุการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์แป้งข้าวเล็บนกและการแปรรูปเป็นขนมอย่างง่าย 2. การส่งเสริมความพร้อมของผู้ประกอบการด้านการผลิตอาหารปลอดภัยตามมาตรฐานอาหาร (GMP/อย./ฮาลาล) สำหรับการผลิตแป้งข้าวและขนมจากแป้งข้าว
อ.ดร.ไพบูลย์ หมุ่ยมาศ 84 การปลูกพืชแบบปลอดภัยทั้งแบบปลูกในดินและแบบไฮโดรโปนิกส์ การผลิตปุ๋ยไคติน การเลี้ยงไส้เดือนดิน และการใช้ปุ๋ยมูลไส้เดือนดิน
ผศ.ดร.เสาวคนธ์ เหมวงษ์ 75 การส่งเสรืมการเกษตรโดยมุ้งเน้นเทคโนโลยีที่ถ่ายทอดการทำข้าวอินทรีย์ -การจัดการหลังการเก็บเกี่ยง -การแปรรูป -ใบรับรองมาตรฐาน -การจัดจำหน่าย
อ.เกรียงศักดิ์ สิงห์แก้ว 88 เป็นการต่อยอดการแปรรูปมะม่วงหาวมะนาวโห่ และแก้วมังกร เพื่อสร้างอัตลักษณ์ให้กับผลิตภัณฑ์ โดยนำวัตถุดิบที่มีอยู่ในท้องถิ่นมาแปรรูปเพื่อให้เกิดมูลค่าเพิ่มในรูปแบบต่างๆ เช่น กวน/หยี/ลอยแก้ว/น้ำพร้อมดื่ม/แยม/น้ำพริก/ชาสำหรับชงดื่ม/ไซเดอร์/ไอศกรีมเพื่อสุขภาพ เป็นต้น
อ.ธนพัฒน์ สุระนรากุล ดร.กัมปนาถ เภสัชชา อ.บงกชไพร 102 นวัตกรรมเพื่อการเกษตรปลอดภัยครบวงจร 1.เทคโนโลยีการผลิตมันหมักยีสต์ให้ในอาหารสัตว์เคี้ยวเอื้อง 2.เทคโนโลยีการผลิตแร่ธาตุและอาหารอัดก้อนโปรตีนสูงต้นทุนต่ำ 3.เทคโนโลยีการผลิตโคเนื้อคุณภาพ
ผศ.พงษ์ศักด์ ทรงพระนาม 85 เป็นการต่อยอดการแปรรูปมะม่วงหาวมะนาวโห่ และแก้วมังกร เพื่อสร้างอัตลักษณ์ให้กับผลิตภัณฑ์ โดยนำวัตถุดิบที่มีอยู่ในท้องถิ่นมาแปรรูปเพื่อให้เกิดมูลค่าเพิ่มในรูปแบบต่างๆ เช่น กวน/หยี/ลอยแก้ว/น้ำพร้อมดื่ม/แยม/น้ำพริก/ชาสำหรับชงดื่ม/ไซเดอร์/ไอศกรีมเพื่อสุขภาพ เป็นต้น
รองศาสตราจารย์เรวัต สุขสิกาญจน์ 84 การพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์หัตถกรรม การสร้างอัตลักษณ์ของผลิตภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์ให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาด
ผู้ช่วยศาสตรจารย์ ดร.กนกกรณ์ ศิริทิพย์ 111 - การย้อมเส้นไหมด้วยสีธรรมชาติ โดยใช้วัสดุที่ให้สีตามท้องถิ่น เช่น จากต้นไม้ ไม่ว่าจะเป็นส่วนของใบ เปลือก ผล ซึ่งจะให้ลักษณะของสีที่แตกต่างกันต่างชนิด และส่วนที่นำมาเป็นวัสดุให้สี - เทคนิคการมัดย้อม การย้อมผลิตภัณฑ์สิ่งทอด้วยกระบวนการมัดย้อม จะทำให้ผลิตภัณฑ์มีเอกลักษณ์และรูปแบบที่แตกต่างกัน
อาจารย์ ดร.ธวัชชัย ดาเชิงเขา 104 - การประเมินความเสี่ยงสุขภาพ - การประเมิความเสี่ยงในงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
อาจารย์ น.สพ.เอลฮัม แวฮามะ 80 - การทอดเทคโนโลยีการผลิตโคเนื้อที่ได้ มาตรฐาน
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จักรพันธ์ พิชญพิพัฒกุล 78 - การถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตโคเนื้อที่ได้มาตรฐาน
ผศ. ดร.มนูญ ศิรินุพงศ์ 93 เริ่มตั้งแต่การปลูก ดูแลสวน การดูแลและจัดเก็บผลผลิต การตลาดเพื่อจำหน่ายผลสด การแปรรูป และการตลาดอื่น ๆ เพื่อต่อยอดให้ครบวงจร
ผศ. ดร.พวงทิพย์ แก้วทับทิม 110 เริ่มตั้งแต่การปลูก ดูแลสวน การดูแลและจัดเก็บผลผลิต การตลาดเพื่อจำหน่ายผลสด การแปรรูป และการตลาดอื่น ๆ เพื่อต่อยอดให้ครบวงจร
ผู้ช่วยศาสตราจารย์เดือนรุ่ง เบญจมาศ 90 1. การยกระดับผลิตภัณฑ์อาหาร 2. การแปรรูปอาหาร และผลผลิตทางการเกษตร 3. การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร 4. การวิจัยด้านการพัฒนามาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร ให้มีความปลอดภัย
ศูนย์วิจัยและพัฒนานวัตกรรมสินค้าเกษตรและอาหาร ภาคต 92 ศูนย์วิจัยและพัฒนานวัตกรรมสินค้าเกษตรและอาหาร ภาคตะวันออก คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี จันทบุรี เป็นหน่วยสนับสนุนการเรียนการสอน การวิจัย แลบริการวิชาการ มีหน้าที่หลักดังต่อไปนี้ 1. ทดสอบมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร ISO/IEC 17025 ทดสอบตัวอย่างสินค้าด้านการเกษตร เช่น ดิน น้ำ ใบ ผลผลิตทางการเกษตร และผลิตภัณฑ์จากการเกษตร เช่น ผลิตภัณฑ์อาหารแปรรูป น้ำส้มควันไม้ น้้ำดื่ม น้ำพริก ซอส เป็นต้น ทางศูนย์ทดสอบจะทำการวิเคราะห์เพื่อวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1.1 เฝ้าระวังมาตรฐานสินค้าให้ตรงกับมาตรฐานภานในและต่างประเทศ 1.2 ออกใบรายงานผลให้สอดคล้องกับมาตรฐานภานในและต่างประเทศ 1.3 วิเคราะห์สารเคมี และยาฆ่าแมลงตกค้างในผลผลิต และผลิตภัณฑ์แปรรูป 1.4 วิเคราะห์ฉลากโภชนา 1.5 วิเคราะห์จุลินทรีย์ 1.6 วิเคราะห์น้ำเพื่อการอุปโภคบริโภค 2. วิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ด้านเกษตรและอาหาร ทำการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่ใช้พืชปลทางการเกษตร ในภาคตะวันออก เพื่อรองรับการแปรรุปผลผลิตใหม่ๆ สู่ตลาดในยุยไทยแลนด์ 4.0 3. บริการวิชาการ ฝึกอบรม และให้คำปรึกษา เป็นศูนย์บริการให้คำปรึกษาด้านคุณภาพอาหาร และการขึ้นทะเบียนกับหน่วยงานรัฐ เช่น มผช. OTOP อย. และมาตรฐานสากลได้แก่ GMP/HACCP/ISO/HALAL/BRC เป็นต้น และยังเป็นที่ฝึกอบรมด้านการแปรรูปการเกษตร และอื่นๆ ตามโจทย์ท้องถิ่น 4. เป็นพี่เลี้ยงด้านระบบคุณภาอาหาร เป็นพี่เลี้ยงหน้างาน ให้บริการถึงสถานที่ เพื่อคอยแนะนำให้ผู้ประกอบการทุกระดับ ไม่ว่าจะกลุ่มแม่บ้าน วิสาหกิจชุมชน SME เข้าถึงการแปรรูปที่ถูกต้อง และจัดการสถานที่ให้เป็นไปตามมาตรฐานที่ต้องการ รวมทั้งการประยุกต์ใช้ระบบประกันคุณภาพอาหาร ในสถานประกอบการ สถานที่ติดต่อ ศูนย์วิจัยและพัฒนานวัตกรรมสินค้าเกษตรและอาหาร ภาคตะวันออก หลักสูตรวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี เลขที่ 41 ม.5 ต.ท่าช้าง อ.เมือง จ.จันทบุรี 22000 โทรศัพท์ 061 6605306 E mail Classforecastrbru@hotmail.com
นายมนูญ รักษาภักดี 96 การประดิษฐ์อุปกรณ์ประเภทสิ่งประดิษฐ์ด้านการประกอบอาชีพ เพื่อความสะดวกและปลอดภัยของช่าง
ดร.จันทิรา วงศ์วิเชียร 128 -การส่งเสริมความพร้อมของผู้ประกอบการด้านการผลิตอาหารปลอดภัยตามมาตรฐานอาหาร (GMP/อย./ฮาลาล) -การแปรรูปผลิตภัณฑ์อาหารสำหรับการผลิตขนมอบ
ดร.สุรชัย ณรัฐ จันทร์ศร 92 อาจารย์ประจำหลักสูตรพลังงานและสิ่งแวดล้อมชุมชน ความเชี่ยวชาญ - ด้านเทคโนโลยีการผลิตไบโอดีเซล - ด้านเทคโนโลยีการอบแห้ง - ด้านพลังงานชุมชน - ด้านคาร์บอนฟุตพริ้นต์ผลิตภัณฑ์ - ด้านการจัดการขยะชุมชน
ดร.จิราพร ขวัญมุณี 90 ชีวเคมีและชีววิทยาโมเลกุล การสกัดและแยกสารชีวโมเลกุลจากสิ่งมีชีวิตเพื่อประโยชน์ทางด้านการเกษตร อุตสาหกรรม และด้านการแพทย์ การจำแนกชนิดของสิ่งมีชีวิตด้วยดีเอ็นเอ การโคลนยีน การศึกษาการแสดงออกของยีน การผลิตโปรตีนลูกผสม (recombinant protein) การทำให้กลายพันธุ์ของยีนในหลอดทดลอง การสกัดสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพ การทดสอบฤทธิ์ทางชีวภาพ
นางสาวธิดารัตน์ คำล้อม 36 เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศเพื่อการจัดการสิ่งแวดล้อม การจัดการสิ่งแวดล้อมเชิงพื้นที่โดยใช้เครื่องมือด้านเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ
นางสาวอาทิตยา จิตจำนงค์ 67 อาชีวอนามัยและความปลอดภัย อาชีวอนามัยและความปลอดภัย, ความปลอดภัยในการทำงาน, การประเมินความเสี่ยงในการทำงาน , การยศาสตร์ , โรคจากการทำงาน
นางสาวศุภนิชา ศรีวรเดชไพศาล 107 ออกแบบเครื่องแต่งกายสตรี บุรุษ และเสื้อผ้าเด็ก ออกแบบผลิตภัณฑ์สิ่งทอ บรรจุภัณฑ์สิ่งทอ พัฒนาผลิตภัณฑ์สิ่งทอที่สอดคล้องกับแทรนด์แฟชั่น
ผศ.ดร.สาคร ชลสาคร 99 ออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ เพื่อเพิ่มมูลค่าและสร้างแบรนด์ต่อยอดตราสินค้าสิ่งทอไทย
ผศ.สุพรรณิการ์ ย่องซื่อ 100 เทคโนโลยีสื่อดิจิทัล เทคโนโลยีทางภาพและเสียง
ดร.วรินธร บุญยะโรจน์ 119 การเลือกใช้วัสดุที่เป็นมิตรสิ่งแวดล้อม การเลือกใช้ผลิตภัณฑ์ที่ไม่เกิดสารตกค้าง ผลิตภัณฑ์และสารชีวภาพที่สามารถย่อยสลายได้ตามธรรมชาติ การนำของเสียกลับมาใช้ใหม่ (Waste Utilization) การลดของเสียที่แหล่งกำเนิด กระบวนการผลิตที่สะอาด (Clean Technology) เศรษฐกิจหมุนเวียน การทดสอบสารปนเปื้อนของอาหาร น้ำดื่ม และพืชผัก การตกค้างของสารกำจัดศัตรูพืช - การวิเคราะห์สารปนเปื้อนในอาหาร น้ำดื่ม พืชผัก และสมุนไพร ตลอดจนการตกค้างของสารกำจัดศัตรูพืช ในตัวอย่างทางสิ่งแวดล้อม เช่น น้ำดื่มน้ำใช้ น้ำบาดาล น้ำจากแหล่งน้ำสาธารณะ ด้วยเครื่อง Gas Chromatography/Mass Spectrometry - อาหารปลอดภัย (Food Safety) - เทคโนโลยีสะอาด (Clean Technology) - การวิเคราะห์สารองค์ประกอบของสมุนไพร ด้วยเครื่อง Gas Chromatography/Mass Spectrometry - การบำบัดสารปนเปื้อนขนาดเล็ก (Micropollutants)
ผศ.ดร.กิ่งกาญจน์ พิจักขณา 92 การพัฒนาบรรจุภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อมรวมและการใช้วัสดุเพื่อให้สอดคล้องกับตัวผลิตภัณฑ์ การนำวัสดุใหม่มาผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆที่ทันสมัย การออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม งานสร้างสรรค์ การพัฒนาผลิตภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อม การออกแบบในเชิงนวัตกรรมและการออกแบบเพื่อมวลชน
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.คมศักดิ์ พินธะ 114 - Cell biology ทดสอบฤทธิ์ทางชีวภาพของสารเคมีจากพืช (phytochemicals) - งานวิจัยเกี่ยวกับการป้องกันและการรักษาโรคมะเร็ง เบาหวาน ความดันและไขมันในเลือด - การแยกสารสำคัญจากพืชสมุนไพร
ดร.ศศิธร เพชรแสน 85 ระบบการจัดการผักปลอดภัย และการรับรองมาตรฐาน
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ตวงสิริ สยมภาค 96 1.การผลิตอาหารปลอดภัย 2.การทดสอบตลาดและการทดสอบผู้บริโภค 3.การพัฒนาผลิตภัณฑ์และนวัตกรรม ๔. การประเมินคุณภาพด้านประสาทสัมผัส
นายธีระวิสิฏฐ์ ประเสริฐสิน 90 วิศวความปลอดภัย วัสดุศาสตร์ การออกแบบและผลิตเครื่องจักรกลขนาดเล็ก แลการประกอบด้วยการเชื่อม
นายอนุชิต เสตะ 110 วิศวกรรมวัสดุ วัสดุศาสตร์ วิศวความปลอดภัย การผลิตและการจัดการอุตสาหกรรม และการประกอบด้วยการเชื่อม
ผศ.สายใจ จริยาเอกภาส 108 1. อาหารปลอดภัย 2. การแปรรูปผลิตภัณฑ์อาหาร 3. การสุขาภิบาลโรงงานอุตสาหกรรมอาหาร 4. การตรวจสอบคุณภาพผลิตภัณฑ์
นางสาวเพ็ญพรรณ โกมลมิศร์ 94 การพัฒนาผู้ประกอบการด้านการเกษตร การแปรรูปผลิตภัณฑ์ที่สอดคล้องกับความต้องการทางการตลาด
อาจารย์ วชิราภรณ์ เรือนแป้น 99 ๑.เกษตรอินทรีย์ ๒.การปลูกพืชแบบวนเกษตร ๓.การจัดการดินเพื่ออาหารปลอดภัย ๔.การผลิตปุ๋ยหมักและน้ำหมักชีวภาพ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จำรัส กลิ่นหนู 121 การพัฒนาระบบเกษตรเพื่ออาหารปลอดภัย เกษตรอัจฉริยะควบคุมด้วยไมโครคอนโทรลเลอร์ และแปรรูปผลผลิตการเกษตร บ้าว ผลไม้ สมุนไพรเป็นเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ เช่น เบียร์ ไวน์ สาโท เป้นต้น
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดาวลอย กาญจนมณีเสถียร 74 การใช้กรอบแนวคิด POLC ในการบริหารจัดการเพื่อการถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร
ดร.พิรุฬห์รัชย์ ไทยสมัคร 96 วุฒิการศึกษาปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมอาหาร) วุฒิการศึกษาปริญญาโท วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (วิศวกรรมอาหาร) วุฒิการศึกษาปริญญาเอก วิศวกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิต (วิศวกรรมอาหาร) ความเชี่ยวชาญ - ด้านการพัฒนากระบวนการอบแห้ง - ด้านพัฒนากระบวนแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร - ด้านเทคโนโลยีการสกัด - การจัดการวัสดุเกษตรเหลือทิ้ง - ความปลอดภัยด้านอาหาร
ผศ.ดร.อวยพร วงศ์กูล 97 การใช้สารเคลือบเส้นใย การป้องกันเชื้อราในเส้นใย การใช้สาร ฟอกสีเส้นใย โดยมุ่งเน้นกรรมวิธีที่ปลอดภัยและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม การพัฒนาผลิตภัณฑ์ครื่องสําอางค์และกระบวนใช้สมุนไพรในการผลิตเครื่องสําอางค์ การให้คําปรึกษาด้าน ส่วนผสม ขั้นตอนการผลิต การยืดอายุ และการเลือกบรรจุภัณฑ์ที่เหมาะสม
ผศ.ณรงค์ชัย ชูพูล 127 เทคโนโลยีการเกษตร การแปรรูปผลิตผลการเกษตร การผลิตอาหารปลอดภัย เทคโนโลยีชีวภาพ การผลิตปุ๋ยชีวภาพ เทคโนโลยีอาหาร เทคโนโลยีการผลิตไวน์ น้ำผลไม้ เทคโนโลยีน้ำนมและผลิตภัณฑ์ ประสบการณ์ด้านบริหารโครงการ การพัฒนาชุมชนท่องเที่ยว OTOPนวัตวิถี หมู่บ้านนาใน อ.พระพรหม จ.นครศรีธรรมราช
ผศ.พลวัฒน์ เกิดศิริ 98 การทดสอบเนื้อดินท้องถิ่นเพื่อนำมาทำบรรจุภัณฑ์ภาชนะหุงต้ม สำหรับใช้ภายในครัวเรือน
ผศ.พลวัฒน์ เกิดศิริ 94 การวิเคราะห์และทดสอบเนื้อดิน เพื่อสร้างผลิตภัณฑ์สินค้าประเภทเครื่องใช้ในครัวเรือนสำหรับหุงต้ม
104 การทดสอบเนื้อดินตามสูตรที่มีความเหมาะสมในการนำมาผลิตสินค้าประเภทเครื่องใช้ในครัวเรือนสำหรับหุงต้ม
ผศ.ดร.ภาราดร งามดี 114 กระบวนการผลิตอาหารปลอดภัยปลาดุกปรุงสุกในบรรจุภัณฑ์พร้อมบริโภค
สพ.ญ.ดร.พิมพ์ชนก โล่ห์ทองคำ 113 การผลิตโคเนื้อปลอดภัยตามมาตรฐาน GAP และฟาร์มมาตรฐาน
นายชัยยุทธ ปิยวรนนท์ 112 การวิเคราะห์ภัยอันตรายของสารเคมี ของเสียทางเคมี รวมถึงการทำแผนฉุกเฉินด้านความปลอดภัย
ดร.วงค์พันธ์ พรหมวงศ์ 62 การถ่ายทอดเทคโนโลยี การจัดการด้านเพาะเลี้ยงแมลง
ดร.อนิรุทธิ์ ผงคลี 99 การต่อยอดธุรกิจแบบออนไลน์ ออฟไลน์ การจัดทำแผนการตลาด และแผนธุรกิจ
อาจารย์อังศุมาลิน สมเทพ 110 การออกแบบกล่องบรรจุภัณฑ์ให้กับผลิตภัณฑ์ศูนย์ศิลปาชีพทอผ้าไหมบ้านท่าเรือเพื่อสร้างยอดขายและสร้างความน่าสนใจของสินค้า
อาจารย์อังศุมาลิน สมเทพ 80 การออกแบบกล่องบรรจุภัณฑ์ ให้กับผลิตภัณฑ์ของชุมชน เพื่อสร้างยอดขาย และสร้างความน่าสนใจของสินค้า
อาจารย์วศกร ไตรพัฒน์ 85 เทคโนโลยีระบบสมาร์ท ฟาร์มส าหรับการปลูกผัก ปลอดภัย เทคโนโลยี ระบบตรวจสอบ ย้อนกลับ
อาจารย์สุริยา น้ำแก้ว 95 เทคโนโลยีระบบสมาร์ทฟาร์มสำหรับการปลูกผักปลอดภัย
อาจารย์ศิริรัตน์ สัยวุฒิ 106 การสร้างต้นแบบและถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านการออกแบบบรรจุภัณฑ์ และตราสินค้าที่แปรรูป การสร้างกิจกรรมทางการจัดจำหน่าย ทั้ง Online และOffline ถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านการตลาดในยุคปกติใหม่
นายมะโน หะยะมิน 80 การส่งเสริมการเกษตรและการสร้างความร่วมมือด้านกิจการของชุมชน
รองศาสตราจารย์ ดร.อุไร จเรประพาฬ 108 การจัดการระบบสุขภาพชุมชน สารสนเทศทางสุขภาพ สารสนเทศทางการพยาบาล การดูแลผู้สูงอายุในชุมชน การดูแลมารดาก่อนและหลังคลอดในชุมชน
อาจารย์ปิยนุช จันทรัมพร 65 การอารักขาพืช การจัดการศัตรูพืชแบบปลอดภัย กีฎวิทยา โรคพืช
นางสาวญาณิศา โกมลสิริโชค 88 การย้อมสีสิ่งทอด้วยสีสังเคราะห์
ศ.ดร.อภิชาติ วรรณวิจิตร 85 เป็นข้าวหุงบริโภคที่มีความนุ่ม และกลิ่นหอมมาเป็นพิเศษ สามารถปลูกได้ทุกปี ตลอดทั้งปี
นางสาวญาณิศา โกมลสิริโชค 32 การย้อมสีสิ่งทอด้วยสีธรรมชาติ
ผู้ช้วยศาสตราจารย์ ดร.ธัชพล เมธารัชกุล 97 - ศึกษาความชุกของการปนเปื้อนปรสิตในสิ่งแวดล้อม อาหาร การเกิดโรค โดยผสมผสานเทคนิคพื้นฐาน และเทคนิคชั้นสูงทางห้องปฏิบัติการ เพื่อมาประยุกต์สู่ชุมชน - ปรสิตวิทยา เกษตรปลอดภัย อณูชีวโมเลกุล อาหาร สิ่งแวดล้อม
ดร.ภัทราภรณ์ ศรีสมรรถการ 94 1. เทคโนโลยีการผลิตและพัฒนาคุณภาพผัก-ผลไม้และผลิตภัณฑ์ (เครื่องดื่มคุณภาพไวน์) 2.เทคโนโลยีเนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์ 3.การจัดการมาตรฐานและความปลอดภัยในการผลิตอาหารและเครื่องดื่ม
อาจารย์ ดร.ดำรงพล คำแหงวงศ์ 104 1. การเลือกใช้บรรจุภัณฑ์อาหารและความปลอดภัย 2. บรรจุภัณฑ์เพื่อการตลาดและการออกแบบ 3. เทคโนโลยีการตรวจสอบย้อนกลับและข้อกำหนดที่เกี่ยวข้องสำหรับสินค้าเกษตร 4. ดิจิตอลโลจิสติกส์เพื่อการจัดการสินค้าเกษตรอย่างยั่งยืน 5. แพลตฟอร์มดิจิตัลเพื่อขยายโอกาสทางธุรกิจอาหารและผลิตผลเกษตร
ผศ.ดร.นิอร โฉมศรี 108 1.เทคโนโลยีเอนไซม์ทางอาหาร และเทคนิคในการทำโปรตีนให้บริสุทธิ์ 2.จุลชีววิทยาทางอาหาร (เช่น การประยุกต์ใช้จุลินทรีย์กับอาหารหมัก การตรวจวิเคราะห์และการควบคุมคุณภาพอาหารทางจุลินทรีย์ การผลิตกล้าเชื้อจุลินทรีย์ การควบคุมจุลินทรีย์เพื่อความปลอดภัยทางอาหาร ฯลฯ)
ผศ.ดร. จิรภา พงษ์จันตา 119 1.เทคโนโลยีการผลิตและพัฒนาผลิตภัณฑ์จากธัญพืชและพืชหัว 2.การจัดการมาตรฐานและความปลอดภัยในการผลิตอาหารและเครื่องดื่ม
ดร.เยาวมาลย์ เขียวสอาด 98 เทคโนโลยีการปลูกข้าว การผลิตข้าวปลอดภัย&ข้าวอินทรีย์
ผศ.เมธาวัตร ภูธรภักดี 120 การสร้างและถอดบทเรียน การทำโมเดลธุรกิจ(BMC) การถอดบทเรียนโมเดลแบรนด์(Brand Canvas Model) การสร้างและสื่อสารแบรนด์ผลิตภัณฑ์ การพัฒนาบรรจุภัณฑ์ การสื่อสารการตลาด การพัฒนาช่องทางการตลาด
ผศ.ดร.ภาราดร งามดี 111 การพัฒนากระบวนการผลิตอาหารปลอดภัย
ผศ.ศิริลดา ศรีกอก 92 ถ่ายทอดองค์ความรู้และเทคโนโลยีการแปรรูปมะม่วงน้ำดอกไม้
อ.เพ็ญศิริ คงสิทธิ 86 ถ่ายทอดเทคโนโลยีปฏิบัติการการแปรรูปกล้วยน้ำว้า
ผศ.ศิริลดา ศรีกอก 87 ถ่ายทอดองค์ความรู้และเทคโนโลยีการเลือกใช้และทดสอบผลิตภัณฑ์น้ำพริกเผา
นายณัฐกิตติ์ มาฟู 112 สำรวจฐานข้อมูลทรัพยากรท้องถิ่นด้านกายภาพ ชีวภาพ ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมท้องถิ่น เพื่อนำเสนอให้แก่ชุมชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง มาวิเคราะห์หาศักยภาพและพัฒนาต่อยอดในด้านต่างๆร่วมกัน
นางเพ็ญศรี มลิทอง 87 สำรวจฐานข้อมูลทรัพยากรท้องถิ่น ด้านกายภาพ ชีวภาพ ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมท้องถิ่น เพื่อนำฐานข้อมูลที่ได้นำเสนอให้กับชุมชน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง มาวิเคราะห์หาศักยภาพและพัฒนาต่อยอดในด้านต่างๆ ร่วมกัน
นายนครินทร์ แสงคำ 91 เชี่ยวชาญในการวิเคราะห์ทดสอบทางด้านเคมี และมีความรู้ในด้านการป้องกันความปลอดภัยทางรังสี
นางสาวพรพิมล ควรรณสุ 79 ผลิตภัณฑ์น้ำพริกเห็ดกรอบ จากเห็ดนางฟ้า 1. การพัฒนาสูตรน้ำพริกเห็ดกรอบ 2. การพัฒนาบรรจุภัณฑ์ให้ทันสมัย สวยงาม และ และดึงดูดผู้บริโภค 3. การพัฒนาตลาดออนไลน์ และตลาดออฟไลน์ ขนาดบรรจุ 100 กรัม ความโดดเด่นคือ กลุ่มวิสาหกิจชุมชนผลิตเห็ดบ้านกลางมีความพิถีพิถันในการเพาะเห็ด โดยมีกระบวนการเพาะแบบปลอดสารเคมี นอกจากนั้นยังมีการคัดสรรวัตถุดิบทีมีคุณภาพเพื่อนำมาแปรรูป และมีการตรวจยืนยันด้านอาหารปลอดภัยจากห้องปฏิบัติการทีได้รับการรับรองคุณภาพ เพื่อให้ผู้บริโภคได้รับสินค้าที่มีรสชาติอร่อยและดีต่อสุขภาพ
นางสาวพรพิมล ควรรณสุ 89 ผลิตภัณฑ์แหนมเห็ด เป็นผลิตภัณฑ์ที่กลุ่มมีการผลิตและจำหน่ายอยู่แล้ว แต่นักวิจัยจากมหาวิทยาลัยนครพนมเข้ามาพัฒนาต่อยอด 1. ขั้นตอนการผลิตให้ปลอดภัย 2. การพัฒนาบรรจุภัณฑ์ให้ทันสมัย สวยงาม และ และดึงดูดผู้บริโภค 3. การพัฒนาตลาดออนไลน์ และตลาดออฟไลน์ ขนาดบรรจุ 200 กรัม วัตถุดิบมาจาก กลุ่มวิสาหกิจชุมชนเพาะเห็ดบ้านกลาง 355 หมู่ 4 ตำบลโพนแพง อำเภออากาศอำนวย จังหวัดสกลนคร
ผศ.ดร.อรรณพ ทัศนอุดม 92 มีความเชี่ยวชาญทางด้านความปลอดภัยอาหาร และการวิเคราะห์การปนเปื้อนจุลินทรีย์ก่อโรคในอาหาร การประเมิน และยืดอายุการเก็บรักษาในผลิตภัณฑ์อาหาร และการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อเพิ่มมูลค่าจากผลิตผลทางการเกษตร
ดร.ศรีรุ่งรัตน์ สุดสมบูรณ์ 77 การถ่ายทอดองค์ความรู้ การบัญชี การจัดการ การตลาด
ดร.ลือชัย บุตคุป 109 การถ่ายทอดเทคโนโลยีอาหาร การแปรรูปผลิตภัณฑ์
นายกวินท์ คำปาละ 76 เครื่องปั่นหลอดด้วยไฟฟ้า
ดร.สวรักษ์ จันทรเทพธิมากุล 108 พัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร, เทคโนโลยีการจัดการความปลอดภัยอาหาร
ดร.นฤมล จอมมาก 75 พัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร, เทคโนโลยีการจัดการความปลอดภัยอาหาร
ผศ.ดร. มานิดา เชื้ออินสูง 80 การตลาดแห้วปลอดภัยตามมาตรฐานจีเอพีและแห้วอินทรีย
นางพจมาน วงษ์วิบูลย์สิน 102 การบริหารจัดการชุมชน/การจัดการองค์กรส่วนท้องถิ่น ได้ดำเนินงานจัดโครงการบริการวิชาการแก่สังคม ทำหน้าที่ได้ประสานงานติดต่อกับผู้นำชุมชน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อดำเนินจัดกิจกรรม จัดโครงการต่างๆ รวมถึงได้ลงพื้นสำรวจความต้องการของชุมชน และหน่วยงานทั้งภายใน ภายนอกมหาวิทยาลัย ซึ่งคณะทำงานมีการจัดการฝึกอบรม ให้ความรู้กับประชาชนในชุมชน นักเรียน นักศึกษา โครงการต่างๆ ที่คณะได้จัดขึ้นจะยึดตามแนวทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งทำให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ไปต่อยอดพัฒนาผลิตภัณฑ์ เพิ่มมูลค่าของชุมชน เพิ่มช่องทางการจัดจำหน่ายสินค้า และเพิ่มยอดขายได้อีกด้วย
นางสาวหนึ่งฤทัย แก้วคำ 92 ส่งเสริมการตลาดให้กับชุมชน หรือผู้ประกอบการที่สนใจ ทั้งแบบออฟไลน์แและแบบออนไลน์ตามบริบทหรือความเหมาะสม ของกลุ่มชุมชน โดยมุ่งเน้นให้สามารถพัฒนาและต่อยอดได้เอง ก่อเกิดรายได้ในครัวเรือนและชุมชน
ผศ.จุติพร ปริญโญกุล 97 การตลาดออนไลน์ การประชาสัมพันธ์ การบริหารประเด็น การจัดการภาวะวิกฤต การใช้เครื่องมือสื่อสารการตลาดเพื่อเพิ่มกระตุ้นยอดขาย ขยายกลุ่มเป้าหมายและเพิ่มมูลค่าให้กับสินค้าและบริการ
อ.ดร.สุวรณี ปานเจริญ 84 การพัฒนากระบวนการผลิตอาหารปลอดภัย
ผศ.ประมวล แซ่โค้ว 100 การผลิตพืชผักปลอดภัย
อ.เพ็ญศิริ คงสิทธิ 84 การพัฒนากระบวนการผลิตอาหารปลอดภัย
ผศ.ดร.ภิญญดา รื่นสุข 89 การเพิ่มมูลค่า การผลิตด้วยเทคนิคการจัดการสมัยใหม่ การสร้างกลไกการตลาดอาหารปลอดภัยในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ดร.นงนุช ศรีเล็ก 107 วัสดุด้านพลังงาน , ด้านหมึกพิมพ์ฐานน้ำ (Water-based ink) ในอุตสาหกรรมสิ่งพิมพ์บรรจุภัณฑ์ 1. เทคโนโลยีการเปลี่ยนรูปพลังงานจากชีวมวล (Biomass Conversion Technology) ด้วย - กระบวนการทางกายภาพ เช่น การอัดแท่ง (Briquette) การอัดเม็ด (Pellet) - กระบวนการทางเคมีความร้อน เช่น การเผาไหม้ การทอริแฟกชั่น การไพโรไลซิส ไฮโดรเทอร์มอล - กระบวนการทางชีวเคมี เช่น ก๊าซชีวาพ - กระบวนการทางเคมี เช่น ไบโอดีเซล 2. การ Upgrading ผลิตภัณฑ์จากชีวมวล มุ่งเน้น ด้านพลังงาน ด้านการดูดซับ และ อื่นๆ 3. การพัฒนาปฏิกรณ์ (Reactor) สำหรับเทคโนโลยีการเปลี่ยนรูปพลังงาน
ดร.บุญวัฒน์ วิจารณ์พล 100 การต่อยอดเทคโนโลยีด้านพลังงานทดแทน เพื่อจะนำไปใช้ได้จริงโดยการขยายผลของศูนย์การเรียนรู้
ผศ.ดร.ตระกูล พรหมจักร 99 ความปลอดภัยทางอาหาร
นายบรรจง อูปแก้ว 137 1. การอารักขาพืช การจัดการศัตรูพืชแบบปลอดภัยในสวนส้มสีทอง มะขาม มะม่วง ลำไย มะม่วงหิมพานต์ โกโก้ 2. เทคโนโลยีไม้ผลและไม้ดอก การจัดการด้านเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการผลิตส้มสีทอง มะขาม มะม่วง ลำไย มะม่วงหิมพานต์ โกโก้ 3. พืชผัก ผักพื้นบ้าน สมุนไพร พฤกษเคมีและภูมิปัญญาการใช้ประโยชน์จากความหลากหลายทางชีวภาพของพืชสมุนไพร พืชสมุนไพรพื้นบ้านที่สำคัญในพื้นที่ป่าชุมชน และการอนุรักษ์พันธุกรรมมันพื้นบ้าน 4. เทคโนโลยีด้านการออกแบบบรรจุภัณฑ์ ที่เหมาะสมกับสินค้าบนฐานอัตลักษณ์วิถีชีวิตของชุมชน 5. การท่องเที่ยว การพัฒนาเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศ การจัดการวิสาหกิจชุมชนเพื่อการท่องเที่ยว 6. การออกแบบภูมิทัศน์ การออกแบบและการบริหารจัดการทรัพยากรพิพิธภัณฑ์ชุมชน และการจัดการสิ่งแวดล้อม
ผศ.ดร.ฐิติพงศ์ เครือหงส์ 109 ตัวนำยอดอุณหภูมิสูง
ว่าที่ ร.ต.สมบูรณ์ ระดม 47 การผลิตสารสกัดชีวภาพเพื่อการผลิตพืชปลอดภัย
ผศ.นภา ขันสุภา 89 เทคโนโลยีการจัดการผักปลอดภัย การแปรรูปผักเชียงดา
ผศ.ปริญญาวดี ศรีตนทิพย์ 88 เทคโนโลยีการจัดการผักปลอดภัย การแปรรูปผักเชียงดา
นายสุรเชษฐ์ จันทร์แสงศรี 107 ไม้กวาดดอกหญ้า และไม้กวาดทางมะพร้าว ด้ามถอดประกอบ
ผู้ช่วยศาสตราจราย์เพ็ญนภา มณีอุด 96 การถ่ายทอดองค์ความรู้ วางแผนธุรกิจ การตลาด
รศ. ดร.ประเวทย์ ตุ้ยเต็มวง 93 เทคโนโลยีอาหาร ความปลอดภัยในอาหารเเละจุลชีววิทยา
ดร.ภัทราภรณ์ ศรีสมรรถการ 95 1. เทคโนโลยีการผลิตและพัฒนาคุณภาพผัก-ผลไม้และผลิตภัณฑ์ (เครื่องดื่มคุณภาพไวน์) 2.เทคโนโลยีเนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์ 3.การจัดการมาตรฐานและความปลอดภัยในการผลิตอาหารและเครื่องดื่ม
ผศ.ดร.นิอร โฉมศรี 96 1.เทคโนโลยีเอนไซม์ทางอาหาร และเทคนิคในการทำโปรตีนให้บริสุทธิ์ 2.จุลชีววิทยาทางอาหาร (เช่น การประยุกต์ใช้จุลินทรีย์กับอาหารหมัก การตรวจวิเคราะห์และการควบคุมคุณภาพอาหารทางจุลินทรีย์ การผลิตกล้าเชื้อจุลินทรีย์ การควบคุมจุลินทรีย์เพื่อความปลอดภัยทางอาหาร ฯลฯ)
ผศ.ดร. จิรภา พงษ์จันตา 83 1.เทคโนโลยีการผลิตและพัฒนาผลิตภัณฑ์จากธัญพืชและพืชหัว 2.การจัดการมาตรฐานและความปลอดภัยในการผลิตอาหารและเครื่องดื่ม
ผศ.ปริญญาวดี ศรีตนทิพย์ 91 เทคโนโลยีการจัดการผักปลอดภัย การแปรรูปผักเชียงดา
ผศ.ดร.อรรณพ ทัศนอุดม 99 มีความเชี่ยวชาญทางด้านความปลอดภัยอาหาร และการวิเคราะห์การปนเปื้อนจุลินทรีย์ก่อโรคในอาหาร การประเมิน และยืดอายุการเก็บรักษาในผลิตภัณฑ์อาหาร และการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อเพิ่มมูลค่าจากผลิตผลทางการเกษตร
อาจารย์ ดร.ศิโรรัตน์ เขียนแม้น 75 การตรวจสอบคุณภาพและความปลอดภัยของผลผลิตแห้วอินทรีย์
ดร.ศักยะ สมบัติไพรวัน 150 2553 - ผู้ช่วยสอนนักศึกษาปริญญาตรี รายวิชาปฐพีกลศาสตร์ สาขาวิชาวิศวกรรมเกษตร 2554-2555 - ผู้ช่วยวิจัย งานเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว ศึกษาความสามารถในการยืดอายุการเก็บรักษามะม่วงน้ำดอกไม้โดยใช้ถ่านกัมมันต์ดูดซับเอทิลีนในบรรจุภัณฑ์ระหว่างการขนส่ง 2558 - ผู้ช่วยสอนนักศึกษาปริญญาตรี รายวิชาจุลชีววิทยาอาหาร สาขาวิชาวิศวกรรมเกษตร 2563 - นักวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ ศูนย์อนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี 2564 - หัวหน้าโครงการการพัฒนาศักยภาพผลิตภัณฑ์ท้องถิ่นด้วยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม (12 ผลิตภัณฑ์) ภายใต้โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี - เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป หน่วยบริการวิชาการชุมชน เทคโนธานี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี 2564 - ผู้ช่วยวิจัยโครงการการตรวจสอบชนิดและปริมาณการปนเปื้อนของสารหนูด้วยเทคนิคขั้นสูงจากเครื่องกำเนิดแสงซินโครตรอน รหัสโครงการ PRP6205012260 สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์กรมหาชน) 2565 - นักวิจัยหลังปริญญาเอก สาขาวิชาเทคโนโลยีอาหาร ภายใต้สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี - คณะกรรมการดำเนินการคัดสรรสุดยอดหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ไทย ปี พ.ศ. 2565 จ. นครราชสีมา ตรวจสอบและกลั่นกรองผลิตภัณฑ์ประเภทสมุนไพรที่ไม่ใช่อาหาร (คำสั่งจังหวัดนครราชสีมา ที่ 4785/2565 ลงวันที่ 5 พฤษภาคม 2565) - ที่ปรึกษา/ผู้วิจัย กิจกรรมการสร้างผู้ประกอบการชุมชน (Local Startups) ประจำปี 2564 ภายใต้แผนงานส่งเสริมการนำนวัตกรรมไปใช้ประโยชน์ในพื้นที่เพื่อพัฒนาชุมชนและสังคม (Area based Innovation for Community) เทคโนธานี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี โครงการเลขที่ TN026/2565 เรื่อง การพัฒนาสูตรแชมพูสมุนไพรตามคุณค่าทางวิชาการและควบคุมคุณลักษณะให้ผ่านมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน (The evaluation of herbal shampoo according to the community product standards) วิสาหกิจชุมชนกลุ่มเกษตรกรรวมใจบ้านไกลเสนียด อ.ท่าตูม จ.สุรินทร์ - ที่ปรึกษา/ผู้วิจัย กิจกรรมการสร้างผู้ประกอบการชุมชน (Local Startups) ประจำปี 2564 ภายใต้แผนงานส่งเสริมการนำนวัตกรรมไปใช้ประโยชน์ในพื้นที่เพื่อพัฒนาชุมชนและสังคม (Area based Innovation for Community) เทคโนธานี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารีโครงการเลขที่ TN028/2565 เรื่อง การวัดสมบัติทางเคมี-กายภาพ สเปรย์บรรเทาอาการปวดและแมลงสัตว์กัดต่อยเพื่อทำมาตรฐานการผลิตและส่งเสริมการขาย ( A study of chemo-physical properties of pain and insect bites relief spray to standardize production and marketing campaigns) วิสาหกิจชุมชนแปรรูปสมุนไพรหนองสมอ อ.คง จ.นครราชสีมา - ผู้ช่วยวิจัย โครงการสำรวจความเป็นไปได้ในการใช้ประโยชน์จากของเสียในโรงงานผลิตไส้ กรอก (กู้คืนและปรับสภาพน้ำมันสำหรับใช้เป็นพลังงาน) โรงงานไส้กรอก อ.ขามทะเลสอ จ.นครราชสีมา
อาขารย์ชญานิน วังตาล 103 การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากการลงพื้นที่ในท้องถิ่น การทดลองพัฒนากระดาษจากพืชท้องถิ่น การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากกระดาษจากพืชท้องถิ่น การถ่ายทอดสู่ชุมชนเช่นการอบรมกลุมสตรีแม่บ้าน การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้ภูมิปัญญาของชุมชนสู่การถ่ายทอดในโรงเรียนโดยวิทยากรท้องถิ่นหรือปราชญ์ชุมชน
นางสาววิจิตรา อมรวิริยะชัย 100 1.การผลิตพืช -การขยายพันธุ์พืช -การผลิตปุ๋ยหมักชีวภาพและสารชีวภัณฑ์ 2.การพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน -การเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ -การวิเคราะห์ตลาดและแผนธุรกิจ -การพัฒนาบรรจุภัณฑ์ 3.การทำงานวิจัยเชิงพื้นที่ปฏิบัติการชุมชน -การจัดเวทีการประชุมโดยการมีส่วนร่วม -การดำเนินการโครงการด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม -การจัดกระบวนการถอดบทเรียน
อาจารย์ ดร.พรวิชัย เต็มบุตร 105 1.การแปรรูปสินค้าเกษตรสู่ผลิตภัณฑ์มูลค่าสูง แปรรูปสินค้าเกษตร สู่ผลิตภัณฑ์มูลค่าสูง ทางด้านอาหารและเครื่องสำอาง โดยใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมในการแปรรูป 2.การพัฒนาผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร พัฒนาผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร ตั้งแต่ การแปรรูป คิดค้นสูตร ออกแบบสูตร ทดลองคุณภาพ ประสิทธิภาพ และความปลอดภัย การพัฒนาผลิตภัณฑ์ไปสู่มาตรฐานที่สูงขึ้น 3.การทดสอบผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร ทดสอบคุณสมบัติทางเคมี-กายภาพ คุณสมบัติความคงตัว ทดสอบคุณภาพ ประสิทธิภาพ และความปลอดภัย 4.ชีวเคมี ชีวฟิสิกส์ ระบบนำส่งยา การศึกษา ค้นคว้า ที่เกี่ยวข้องกับการตรวจสอบกลไกการออกฤทธิ์ของสารสำคัญ ตัวยา
ดร.มณิสรา สนั่นเอื้อเม็งไธสง 83 การจัดการชุมชน การบริหารการตลาด ต่อยอดสินค้าชุมชน
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธนกร ราชพิลา 133 ผู้กำหนดกระบวนการฆ่าเชื้อด้วยความร้อนในการผลิตอาหารในภาชนะบรรจุ ที่ปิดสนิทชนิดที่มีความเป็นกรดต่ำและชนิดปรับกรด (Process Authority) การพัฒนาผลิตภัณฑ์ด้วยวิธีระเหยน้ำแบบพ่นฝอย (Spray Drying) การพัฒนาผลิตภัณฑ์ด้วยวิธีระเหิด (Freeze Drying) การพัฒนาเทคโนโลยีการแปรรูปอาหารสมัยใหม่ที่ไม่ใช้ความร้อน (Novel food Technology) การจัดการสายโซ่อุปทานอุตสาหกรรมเกษตร การบริหารคุณภาพอาหาร สมุนไพร ตามมาตรฐานอาหารสากล การปรับปรุงกระบวนการผลิตเพื่อเพิ่มผลผลิต สถิติในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ การวางแผน ควบคุมและติดตามกระบวนการผลิต
รองศาสตราจารย์ ดร.สิทธิศักดิ์ คำผา 85 อาหารสัตว์ และการตลาดปศุสัตว์เกษตร ค้าขายออนไลน์และส่งออกสินค้าไปต่างประเทศ แปรรูปวัตถุดิบอาหารสัตว์ลดต้นทุนใช้เลี้ยงสัตว์ แปรรูปกากมันสำปะหลังมาหมักยีสต์ใช้เลี้ยงสัตว์ วิทยากรอบรมถ่ายทอดความรู้เกษตรกรทำอาหารลดต้นทุนเลี้ยงสัตว์ และเชื่อมโยงเครือข่ายผู้เลี้ยงสัตว์ทั่วประเทศ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ กรรณิการ์ ทองดอนเปรียง 111 ชีววิทยา การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ แปรรูปสมุนไพร เวชสำอาง ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อเพื่อรักษาพันธุกรรมและแปรรูปข้าวหอมมะลิแบบครบวงจร
นายธนิสร คู่ประเสริฐ 92 การถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านอาหาร และการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร
นายศิวพงศ์ พรมวัฒนะ 70 เครื่องปั่นหลอดด้ายไฟฟ้า
ผศ.ว่าที่ร้อยตรีกิติศักดิ์ โกมลเลิศ 82 พัฒนาอาชีพจากวัสดุท้องถิ่น และวัสดุเหลือใช้ที่สอดคล้องกับอัตลักษณ์ท้องถิ่น โดยกระบวนการแบบมีส่วนร่วม
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ณัฐกฤตา บุณณ์ประกอบ 110 -สาขานวัตกรรมวัสดุ วัสดุนาโน ถ่านกัมมันต์และอื่นๆ -สาขาเคมี พลาสติก พอลิเมอร์ เคมีพื้นฐาน -สาขาพลังงาน ปิโตรเคมี ไบโอดีเซล ไบโอแก๊ส ไบโอเอทานอล
อาจารย์สุนันท์ สีพาย 85 เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุงขึ้นนี้เป็นการนำสมุนไพรที่มีในพื้นที่ คือตะไคร้หอม นำมาสกัดและแปรรูปเป็นเทียนหอมสมุนไพร ซึ่งได้รับการถ่ายทอดจากวิทยากรหลายๆ คน จนทางกลุ่มได้มาปรับแก้ไขในจุดที่ยังขาดตกบกพร่องให้สมบูรณ์แบบที่สุด
ดร.พิชญานิภา พงษ์พานิช 37 ถ่ายทอดองค์ความรู้และนวัตกรรมการเลี้ยงไก่เบขลา
ดร.ศุภนนท์ ตู้นิ่ม 76 วิทยากรถ่ายทอดองค์ความรู้และนวัตกรรมการเลี้ยงไก่เบขลา
ผศ.ดร.ประพจน์ มะลิวัลย์ 74 ถ่ายทอดองค์ความรู้และนวัตกรรมการเลี้ยงไก่เบขลา
นางสาวสุชนีย์ ทรัพย์สมบูรญ์ 86 งานทดลองเปรียบเทียบผลผลิตของมะเขือเทศพันธุ์โซลาลิโน่ที่ใช้เมล็ดและปักชำยอด
ดร.อัณณ์ชญาน์ มงคลชัยพฤกษ์ 62 1. พัฒนาผลิตภัณฑ์ส่งเสริมการเจริญของพืชจากแบคทีเรียทนเค็มและการทดสอบประสิทธิภาพการส่งเสริมการเจริญของพืชตระกูล Solanaceae ในระดับแปลงปลูก 2. ศึกษาถึงการแสดงออกของยีน Ethylene Response Factors (ERF) ในการควบคุมเสื่อมสภาพของดอกกล้วยไม้สกุลหวายพันธุ์ขาวสนานในระดับการถอดรหัสของยีน 3. การจัดการหลังการเก็บเกี่ยวและการบรรจุภัณฑ์เพื่อควบคุมคุณภาพของผลิตผลและชิ้นผลิตผลตัดแต่งพร้อมบริโภคของพืชเศรษฐกิจบางชนิด 4. พัฒนาศักยภาพของทรัพยากรแบคทีเรียทนเค็มกลุ่มที่สร้างสาร indole-3-acetic acid (IAA) และสารควบคุมราก่อโรคเพื่อการใช้ประโยชน์ในการส่งเสริมการปลูกและคุณภาพของมะเขือเทศหลังการเก็บเกี่ยว
ดร.พีรพงษ์ แสงวนางค์กูล 78 1. ผลงาน "ห้องบ่มและเทคนิคการบ่มผลไม้ประโยชน์ 7 อย่าง" ได้รับรางวัลงานวิจัยสร้างผลกระทบสูงระดับ Silver จากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ประจำปี 2564 2. โครงการ "สารเอทีฟอนตกค้างในผลทุเรียนหมอนทองและทางเลือกในการบ่มเพื่อการส่งออก" งบประมาณจาก สวก. ผลวิจัยแสดงถึงความปลอดภัยในการบริโภคทุเรียนไทยทั้งในตลาดท้องถิ่นและตลาดส่งออก สร้างความมั่นใจในสินค้าทุเรียนไทย และลดความตื่นตระหนกความกังวลของผู้บริโภคไทยและจีนที่มีการให้ข้อมูลบิดเบือน 3. ผลวิจัยจาก "โครงการศึกษาเกณฑ์น้ำหนักแห้งของทุเรียนพันธุ์หมอนทอง กระดุมทอง ชะนี พวงมณี และก้านยาว เพื่อเป็นเกณฑ์บ่งชี้คุณภาพ" ใช้ปรับปรุงเกณฑ์น้ำหนักผลและน้ำหนักเนื้อแห้งของทุเรียนในมาตรฐานสินค้าเกษตร (ทุเรียน) มกษ.3-2556 ที่กำลังทบทวนในวาระครบรอบ 20 ปี ในปี 2566
ดร.อำภา ยาสมุทร์ 79 โครงการ การผลิตอินเตอร์เฟียรอนแกมมาในปริมาณมากเพื่อใช้ทางการแพทย์และการบูรณาการปลายน้ำสำหรับชุดคัดกรองแอนติ-อินเตอร์เฟียรอนแกมมาแอนติบอดีในผู้ป่วยกลุ่มอาการโรคภูมิคุ้มกันบกพร่องในวัยผู้ใหญ่ ภายใต้งบวิจัยที่ได้รับการคัดเลือกประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 โครงการการใช้ประโยชน์อาคารนวัตกรรมชีวภัณฑ์มหาวิทยาลัยมหิดล (MUBio) เพื่อทดสอบและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตชีววัตถุและชุดตรวจโรค ในระดับอุตสาหกรรม
ดร.วราภา มหากาญจนกุล 84 Safety of minimally processed produce Microbial stress response GMP/HACCP system Mycotoxin detection in food products ความปลอดภัยของการผลิตด้วยการแปรรูปน้อยวิธี, การตอบสนองต่อความเครียดของจุลินทรีย์, ระบบ GMP/HACCP, การตรวจสารพิษจากเชื้อราในผลิตภัณฑ์อาหาร
ดร.ปรียาภรณ์ เดชอรัญ 76 โภชนาการ, การวิเคราะห์โดยใช้เทคนิค HPLC, การศึกษาคุณสมบัติการต้านอนุมูลอิสระในหลอดทดลอง, การอักเสบในเซลล์เพาะเลี้ยง และในสัตว์ทดลองโรคเบาหวาน
ดร.สุรีย์พร สราภิรมย์ 74 การใช้พลาสมาเย็นความดันบรรยากาศบำบัดแผลติดเชื้อดื้อยา
ดร.สุรีย์พร สราภิรมย์ 78 การใช้พลาสมาเย็นความดันบรรยากาศบำบัดแผลติดเชื้อดื้อยา
ดร.หทัยทิพย์ ชาชิโย 78 การศึกษาเชิงทฤษฎีของอะตอมริดเบอร์ก อันตรกิริยากับอะตอมสถานะพื้นและการแทรกสอดในสนามแม่เหล็ก
ดร.อภิวัฒน์ วิใจคำ 80 การใช้พลาสมาเย็นความดันบรรยากาศบำบัดแผลติดเชื้อดื้อยา
ผศ.ดร.เกวลิน อินทนนท์ 74 การใช้พลาสมาเย็นความดันบรรยากาศบำบัดแผลติดเชื้อดื้อยา
ศ.(เชี่ยวชาญพิเศษ) ดร.นพ.กิตติพันธุ์ ฤกษ์เกษม 73 การใช้พลาสมาเย็นความดันบรรยากาศบำบัดแผลติดเชื้อดื้อยา
ศ.คลินิก.นพ.อภิรักษ์ ช่วงสุวนิช 65 การใช้พลาสมาเย็นความดันบรรยากาศบำบัดแผลติดเชื้อดื้อยา
รศ.ดร.ทีปานีส ชาชิโย 86 การศึกษาเชิงทฤษฎีของอะตอมริดเบอร์ก อันตรกิริยากับอะตอมสถานะพื้นและการแทรกสอดในสนามแม่เหล็ก
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นัจภัค สุขสวัสดิ์ 84 มีประสบการณ์ถ่ายทอดเทคโนโลยีเรื่องการแปรรูปวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรในระดับจังหวัดฉะเชิงเทรา 2 ครั้งให้กับกลุ่มเกษตรกร และเรื่องการใช้ประโยชน์ไผ่ไม้เศรษฐกิจในระดับตำบลของจังหวัดชลบุรี จังหวัดสุรินทร์ จังหวัดยโสธร และจังหวัดกาญจนบุรี ให้กับกลุ่มเกษตรกรรมทั้งเจ้าหน้าที่ภาครัฐ เช่น กรมพัฒนาชุมชน สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด และสำนักงานเกษตรกร เป็นผู้ช่วยศาสตราจารย์ด้านวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมและมีงานวิจัยตีพิมพ์เผยแพร่ด้าน Agricultural waste treatment and utilization
ดร.เผชิญวาส ศรีชัย 63 การพัฒนาการท่องเที่ยว การจัดการชุมชน การถ่ายทอดกระบวนการจัดการชุมชนจัดกลุ่มอาชีพ และส่งเสริมการทำการตลาด
อาจารย์ ดร.นภศูล ศิริจันทร์ 57 การถ่ายทอดองค์ความรู้เรื่องการเลี้ยงแมลงโปรตีนเพื่อเป็นอาหารสัตว์
ผศ.ดร.ศศิธร ใบผ่อง 54 หลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิตอาหาร, มาตรฐานและความปลอดภัยอาหาร, การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร
ผศ.ดร.กุลธิดา สายพรหม 43 เทคโนโลยีการส่งเสริมด้านการตลาด Crowdsourcing/แพลตฟอร์ม Crowdsourcing/การสร้างสรรค์งานสื่อดิจิทัล
นายธีรวัจน์ อุดมสินเจริญกิจ 55 เทคโนโลยีการส่งเสริมด้านการตลาด การถ่ายภาพสินค้าเพื่อการตลาด/การผลิตสื่อด้านการโฆษณา
นายธีรวัจน์ อุดมสินเจริญกิจ 50 เทคโนโลยีการส่งเสริมด้านการตลาด การถ่ายภาพสินค้าเพื่อการตลาด/การผลิตสื่อด้านการโฆษณา
นาง ภัทราวดี วงษ์วาศ 34 ความเชี่ยวชาญในด้านจุลินทรีย์ก่อโรคในอาหาร ความปลอดภัยของอาหาร
ผศ.ปิยวรรณ ปาลาศ 32 การผลิตและแปรรูปผลิตภัณฑ์ปลาตลอดโซ่อุปทาน
ผศ.ดร.หทัยทิพย์ นิมิตรเกียรติไกล 51 ความปลอดภัยทางอาหาร
ผศ.ดร.ยุพารัตน์ โพธิเศษ 47 ความปลอดภัยทางอาหาร
ดร.วราภรณ์ กุศลารักษ์ 48 ความปลอดภัยทางอาหาร
ผศ.น.สพ.สิริศักดิ์ ชีช้าง 26 การเชือดแพะตามมาตรฐานม การเตรียมซาก และการตัดแต่งชิ้นส่วน
นายวทัญญู ศรีไสว 30 ความเชี่ยวชาญด้านสมุนไพร ยาหม่อง เพื่อบรรเทาอาการแมลงสัตย์กัดต่อย หน้ามือดวิงเวียน คัดจมูกเนื่องจากหวัด
ดร.ปัทมา จันทร์เรือง 31 -ความรู้การเตรียมสารชีวภัณฑ์และสารสกัดสมุนไพรสำหรับการผลิตกาแฟอินทรีย์ -ความรู้เรื่องกระบวนการดูแลรักษาโรคและแมลงทั้งกระบวนการปลูก และการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวกาแฟอินทรีย์ - ถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านการเลี้ยงชันโรงในสวนกาแฟอินทรีย์
นางสาวอ้อมหทัย ดีแท้ 55 วุฒิการศึกษาปริญญาตรี วท.บ. (เทคนิคการแพทย์) วุฒิการศึกษาปริญญาโท วท.ม. (ชีววิทยา) วุฒิการศึกษาปริญญาเอก วท.ด. (จุลชีววิทยาประยุกต์) ความเชี่ยวชาญ จุลชีววิทยาคลินิกและความปลอดภัยทางชีวภาพ จุลชีววิทยาประยุกต์และเทคโนโลยีชีวภาพ สาขาความเชียวชาญ การแพทย์แผนไทย/พัฒนายา/สมุนไพร/สุขภาพ/ความงาม [181] เทคโนโลยีชีววิทยาและจุลชีววิทยา [140]
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธีญาภรณ์ แก้วทวี 34 - เทคนิคและวิธีการสร้างอาหารมีชีวิตสำหรับอนุบาลปลิงทะเลระยะวัยอ่อน - วิธีการเพาะเลี้ยงสาหร่ายทะเลเพื่อเป็นวัตถุดิบสำหรับผลิตอาหารปลิงทะเล - เทคนิคและวิธีการเตรียมบ่อเลี้ยง และการจัดการระหว่างเลี้ยงปลิงทะเลในบ่อดิน - เทคนิคและวิธีการแปรรูปด้วยวิธีการตากแห้ง และการเก็บรักษาปลิงทะเลตากแห้งเพื่อจำหน่าย
ดร.นัทท์ นันทพงศ์ 26 เทคนิคและวิธีการผลิตและผสมวัตถุดิบอาหารสำหรับปลิงทะเลในบ่อดิน
ผู้ช่วยศาสตราจารย์วาสนา ติวงค์ 33 "1. ผ่านการรับรองเป็นนักกำหนดอาหารวิชาชีพ (กอ.ช) Certified Dietitian of Thaniland (CDT) และได้รับการพัฒนาองค์ความรู้ตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง 2. ได้รับใบอนุญาต เป็นผู้ประกอบการวิชาชีพครู จากคุรุสภา 3. เข้ารับการอบรม ประชุม สัมมนาด้านอาหารและโภชนาการ อาหารเพื่อสุขภาพและอาหารบำบัดโรค ฯลฯ อย่างต่อเนื่อง 4. เป็นสมาชิกตลอดชีพ ของสมาคมนักโภชนาการแห่งประเทศไทยฯ และสมาคมนักกำหนดอาหารแห่งประเทศไทย 5. เป็นอาจารย์ผู้สอนในรายวิชา อาหารและโภชนาการ อาหารเพื่อสุขภาพและบำบัดโรค การควบคุมและการประกันคุณภาพอาหาร ความปลอดภัยด้านอาหาร โภชนาการเบื้องต้น การถนอมอาหารและการแปรรูปอาหาร เป็นระยะเวลา 10 ปี จนถึงปัจจุบัน"
อาจารย์สุริยา ชัยวงค์ 36 เภสัชเวทและเภสัชพฤษศาสตร์ (การสกัดและแยกสารจากสมุนไพร) การทดสอบฤทธิ์ทางชีวภาพของสารในหลอดทดลองและสัตว์ทดลอง การพัฒนาผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ การศึกษาทางเซลล์และอณูชีววิทยา ในการตอบสนองต่อสารธรรมชาติหรือผลิตภัณฑ์สุขภาพ
อาจารย์จิราพร ชุมชิต 43 วุฒิการศึกษาปริญญาตรี วท.บ. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสิ่งทอ วุฒิการศึกษาปริญญาโท วท.ม. เทคโนโลยีอุตสาหกรรมและการจัดการสินค้าสิ่งทอ ความเชี่ยวชาญ การฟอก ย้อม พิมพ์ ตกแต่งสำเร็จสิ่งทอ การย้อมสีธรรมชาติ การพัฒนาผลิตภัณฑ์สิ่งทอด้วยสีพิมพ์ธรรมชาติเพื่อความเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม สาขาความเชียวชาญ เทคโนโลยีด้านสิ่งทอ [118] และเทคโนโลยีการเพิ่มคุณสมบัตินาโนกับสิ่งทอ [37]
ดร.ปฐมพงษ์ ฉับพลัน 37 การถ่ายทอดเทคโนโลยี ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ และเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตสำหรับสรรพสิ่ง (IoT)