นางณิชานันท์ กุตระแสง 130 การผลิตและขยายหัวเชื้อชีวภัณฑ์ป้องกันและกำจัดศัตรูพืช
รองศาสตราจารย์ ดร. รวีวรรณ เดื่อมขันมณี 94 โรคพืช อารักขาพืช การกลั่นน้ำมันหอมระเหยเพื่อควบคุมโรคพืชที่เกิดจากเชื้อรา การใช้น้ำส้มควันไม้ควบคุมโรคพืช การควบคุมโรคพืชโดยชีววิธี การใช้เทคโนโลยีผลิตเห็ด การศึกษาเห็ดเอ็คโตมัยคอร์ไรซา การผลิตพืชปลอดภัย ตรวจประเมินเกษตรอินทรีย์ข้าว สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ (มกอช.)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ปฐมพงค์ จิโน 85 เทคโนโลยีเตาเผาถ่านไบโอชาร์
ดร.จุฑามาส เพ็งโคนา 113 เทคโนโลยีการส่งเสริมด้านการตลาด การท่องเที่ยว การพัฒนาหลักสูตรเพื่อชุมชน การตลาดออนไลน์
ว่าที่ ร.อ. ดร.รุ่งสว่าง บุญหนา 100 พัฒนาออกแบบนวัตกรรมเพื่อชุมชนทางการเกษตร
อ.วราเดช แสงบุญ 107 การวิเคราะห์คุณสมบัติของถ่านไบโอชาร์ - คาร์บอน(Carbon (C)) - โฮโดรเจน (Hydrogen (H)) - ไนโตรเจน (Nitrogen (N)) - ออกซิเจน (Oxygen (O)) - ซัลเฟอร์ (Sulfur (S)) การวิเคราะห์คุณสมบัติทางเคมีของถ่านไบโอชาร์
ศ.ดร.อภิชาติ วรรณวิจิตร 78 การผลิตข้าวไรซ์เบอร์รี่เพื่อช่วยเหลือเกษตรกรและพัฒนาให้เป็นข้าวทางการเกษตร
อาจารย์กิติยาพรรณ โพธิ์ล่าม 129 พัฒนาการย้อมสีสิ่งทอ การพัฒนาออกแบบลวดลายสิ่งทอ โดยการมัดย้อม พิมพ์สกรีน และการพัฒนาแปรรูปผลิตภัณฑ์เสื้อผ้า เครื่องประกอบการแต่างกาย และเคหะสิ่งทอ เพื่การเพิ่มสมบัติพิเศษด้านวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรมบนสิ่งทอ อื่น ๆ สาขาออกแบบบรรจุภัณฑ์ การออกแบบบรรจุภัณฑ์ไบโอชีวภาพ ย่อยสลายง่าย จากเส้นไยเซลลูโลสและโพลิเมอร์ PE
นายธนัญกรณ์ ใจผ่อง 70 เครื่องจักรกลการเกษตร ตั้งแต่การปลูกจนถึงการเก็บเกี่ยว เพื่อช่วยลดแรงงานในการเพราะปลูกให้กับเกษตรกร
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นิติ เอี่ยมชื่น 93 ภูมิสารสนเทศในการน้ำเพื่อชุมชนการเกษตร
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธีร์ โคตรถา 91 การพัฒนากลุ่มสินค้าหัตถกรรมสิ่งทอชุมชน, การบริหารจัดการตราสินค้าแฟชั่น, การสร้างสรรค์สินค้าแฟชั่นสาเร็จรูป, การออกแบบตกแต่งภายใน, การออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์
นางสาวศุฐิษา เผ่าจันทวงค์ 97 โครงการปลูกกระชายตามมาตรฐานGAP(มกอช.)
อาจารย์วรเชษฐ์ แสงสีดา 83 การผลิตถ่านไบโอชาร์ โดยใช้วิธีการอบไม้
ผศ.ดร.อมรรัตน์ คำบุญ 61 การพัฒนาชั้นเคลือยแข็งยิ่งยวดของสารประกอบไนไตรด์ของธาตุสามชนิดที่มีโคเมียมเป็นธาตุหลักเพื่อการประยุกต์กับเครื่องมือช่าง
ผศ.ดร.กัลยา ธนาสินธ์ 65 การพัฒนาชั้นเคลือยแข็งยิ่งยวดของสารประกอบไนไตรด์ของธาตุสามชนิดที่มีโคเมียมเป็นธาตุหลักเพื่อการประยุกต์กับเครื่องมือช่าง
ผศ.ดร.พิษณุ พูลเจริญศิลป์ 68 การพัฒนาชั้นเคลือยแข็งยิ่งยวดของสารประกอบไนไตรด์ของธาตุสามชนิดที่มีโคเมียมเป็นธาตุหลักเพื่อการประยุกต์กับเครื่องมือช่าง
นายจรัส ยาย่อ 28 มีความเชี่ยวชาญด้านการประดิษฐ์เครื่องมือช่าง