เทคโนโลยีพร้อมถ่ายทอด
ชื่อ
การพัฒนาชีวภัณฑ์แบคทีเรียปฏิปักษ์ควบคุมโรคเหี่ยวเขียว (Bacterial wilt) ในพืชเศรษฐกิจเพื่อการขับเคลื่อนระบบการเกษตรแบบยั่งยืน (โครงการสิจัยปี 2563)
ชม 128 ครั้ง
67
เจ้าของ
รศ.ดร.อังสนา อัครพิศาล นางสาวอาทิตยา คำวินิจ
เมล์
E-mail: angsanacmu.mpp3@gmail.com
รายละเอียด
เพิ่อลดการเกิดโรคเหี่ยวเขียวในพืชเศรษฐกิจ ในสภาพโรงเรือน และแปลงปลูพืชโดยใช้แบคทีเรียปฏิปักษ์ เช่นแบคทีเรียสกุล Bacillus ซึ่งซึ่มีกลไกการเป็นปฏิปักษ์ที่สำ คัญหลายรูปแบบ เช่น สร้างสารปฏิชีวชีนะมาฆ่าหรือรืยับยั้งเชื้อโรคสร้างเอนไซม์ที่มาย่อยผนังเชื้อจุลินทรีย์เป็นต้น
การพัฒนาชีวชีภัณฑ์แบคทีเรียรีปฏิปักษ์ควบคุมโรคเหี่ยวเขียว
1. การคัดเลือกเชื้อแบคทีเรียรีปฏิปักษ์จากดินรอบรากพืชพืที่แข็งข็แรงสมบูรณ์และไม่แสดงอาการของโรค
2. นำ ไปทดสอบประสิทธิภาพของเชื้อแบคทีเรียปฏิปักษ์ในสภาพห้องปฏิบัติการ พบเชื้อสายพันธุ์ SD03
3. ศึกษากลไกที่เชื้อแบคทีเรียปฏิปักษ์มีผลต่อการควบคุมคหรือยับยั้งเชื้อสาเหตุโรค ในการสร้างสารพิษหรือรืสารปฏิชีวชีนะ surfactin iturinA, iturin D, bacillomycin D, และ fengycin D
4. การจำแนกชนิดนิของเชื้อแบคทีเรียปฏิปักษ์ด้วยวิธีการ ศึกษาทางสัณฐานวิทยา ทางด้านชีวเคมี และวิเคราะห์เปรียบเทียบความเหมือมืนของลำ ดับดีเอ็นเอ
5. การพัฒนารูปแบบ วิธีการผลิต และวิธีการใช้ชีวชีภัณฑ์จากเชื้อแบคทีเรียปฏิปักษ์ โดยมีการพัฒนาในรูปแบบผงซึ่งง่ายต่อการเก็บรักษาและมีอายุการใช้งานได้นานและมีประสิทธิภาพสำหรับ การป้องกันกำจัดโรคที่เกิดจากแบคทีเรียสาเหตุโรคเหี่ยวเขียวในพืชเศรษฐกิจ โดยเน้นการใช้งานที่ง่าย สะดวก ปลอดภัยต่อเกษตรกร
6. ทดสอบประสิทภาพชีวภัณฑ์ในการควบคุมเชื้อสาเหตุโรคประสิทธิภาพของผงชีวชีภัณฑ์ในการควบคุมโรคเหี่ยวเขียวและส่งเสริมการเจริญเติบโตของต้นพืชในระดับห้องปฏิบัติการในโรงเรือนทดสอบ และในแปลงเกษตรกรได้ผลเป็นที่น่าพอใจ
7. การนำ ไปขยายผลงานวิจัยขยายผลในพื้นที่ภาคเหนือชีวชีภัณฑ์ป้องกันโรคเหี่ยวเขียว มีส่วนประกอบหลักจากเชื้อแบคทีเรีย Bacillus velezensis สายพันธุ์ดี ดีที่สามารถยับยั้งการเจริญของเชื้อแบคทีเรียสาเหตุโรคเหี่ยวเขียว ผ่านกรรมวิธีทดสอบประสิทธิภาพทั้งในห้องปฏิบัติการ โรงเรือรืนทดสอบ และแปลงปลูกพืช “เกษตรกรที่ใช้ชีวภัณฑ์ตามคำ แนะนำ อย่างเคร่งครัดจะลดโอกาสการเกิดโรคสูงถึง 80% เมื่อเปรียบเทียบกับแปลงที่ไม่ได้ใช้” หากใช้อย่างต่อเนื่องต้นพืชจะแข็งแรงขึ้นใบเขียวและต้นโทรมช้าลง ทำให้เก็บผลผลิตได้นานยิ่งขึ้น
โบรชัวร์ : การพัฒนาชีวภัณฑ์แบคทีเรียปฏิปักษ์ควบคุมโรคเหี่ยวเขียว (Bacterial wilt) ในพืชเศรษฐกิจเพื่อการขับเคลื่อนระบบการเกษตรแบบยั่งยืน
ดาวน์โหลดโบรชัวร์ได้ที่
https://cab.kps.ku.ac.th/doc/AW-AG-BIO.pdf
QR code รายละเอียดผลงาน
บันทึกโดย
