เทคโนโลยีพร้อมถ่ายทอด
หลักคิด “1 เรือน 5 โรง” ออกแบบเพื่อให้ชุมชนรู้จักการน้อมน้าศาสตร์พระราชาไปปรับใช้“พึ่งตนเอง” ในครัวเรือน เป็นฐานของการ รับมือภัยพิบัติโดยผสมผสานเข้ากับวถิีชีวติประจ้าวนัของประชาชน ร้อยเรียงเป็นเรื่องราว ตื่นเช้ามาแสงอาทิตย์ส่อง ลมพัด น้้าไหลมา น้ามาผลิตเป็นไฟฟ้าใช้ในบ้าน (โรงไฟฟ้า) มีไฟฟ้ามาสูบน้้ารดผัก สูบน้้ามาเก็บไวใ้นถังพัก (โรง น้้าประปา) เพื่อส้ารองใช้ในครัวเรือน เก็บผักมาท้าอาหาร (โรงอาหาร) เศษผักขยะที่เหลือใส่ในบ่อหมักแก๊ส (โรงแก๊สชีวภาพ) เศษไม้ น้ามาใช้กับเตาชีวมวล เศษกากจากบ่อหมักแก๊สน้ามาผสมน้้าเป็นปุ๋ยเพื่อรดน้้าผัก(โรงปุ๋ย) ไฟฟ้าที่ได้น้ามาสีข้าว (โรงสีข้าว) ซึ่งเป็นวถิี ชีวติการด้าเนินชีวติ เกิดเป็นองค์ความรู้เป็นหน่วยการเรียนรู้ครัวเรือน (โรงเรียน) เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้และแบ่งปัน หัวใจหลักของ “1 เรือน 5 โรง” คือ การจัดการเพื่อความพอเพียงและพึ่งตนเอง 1 ครัวเรือน 5 โรง จึงเป็นฐานรากของ BCG Economy ในระดับครัวเรือน ซึ่งเป็นหน่วยเล็กของประเทศที่ทุกครัวเรือนสามารถจะร่วมกัน ขับเคลื่อนได้อย่างมีส่วนร่วม โดยผลพลอยได้ทางตรงคือการลดงบประมาณในระดับครัวเรือนทั้ง 5 ด้าน ซึ่งครัวเรือนสามารถจะขยายผล ต่อไปยังการเพิ่มโรงต่าง ๆ ขึ้นได้อีกตามความถนัดและโอกาสในครัวเรือนของตนเองได้เปิดโอกาสแห่งการเรียนรู้จากสถานีการเรียนรู้ ระดับครัวเรือน ยกระดับเป็นชุมชน จังหวดั และระดับประเทศได้ท้าให้เกิดความมั่นคงโดยใช้ครัวเรือนเป็นฐาน เมื่อน้าไปปฏิบัติได้จริงใน ระดับครัวเรือน ลดค่าใช้จ่ายครัวเรือน เพิ่มความมั่นคงในครัวเรือน เป็นแหล่งการเรียนรู้ในชุมชนที่หลากหลายมีนวตักรรมที่ต่อยอดจาก 1 ครัวเรือน 5 โรง และสร้างฐานความมั่นคงในระดับครัวเรือนหนุนเสริมเศรษฐกิจ BCG ระดับประเทศ ทั้งนี้งานวจิัยดังกล่าวมีผลลัพธเ์ป็น: 3 International Publications 1) Wanishsakpong, W., McNeil, N., & Notodiputro, K. A. “Trend and pattern classification of surface air temperature change in the Arctic region” Atmospheric Science Letters (2016). Vol 17.page 378-383 2) Waeto, S., Chuarkham, K., & Intarasit, A. “Forecasting Time Series Movement Direction with Hybrid Methodology” Hindawi Journal of Probability and Statistics.(2017). Volume 2017, Article ID 3174305, 8 Page 3) “Patterns of Solar Radiation Absorption in USA using Statistical Method” Proceeding of Postgraduate Symposium of Environmental Engineering Technology, MITC Melaka, Malaysia. 7 November 2016 บริการวิชาการ 3 ครั ง
1) พลังงานทางเลือกครัวเรือน: ปฏิบัติการพลังงานทางเลือก 1 ครัวเรือน อย่างน้อย 5 โรง: 18 กรกฎาคม 2559 อบรมให้ความรู้พลังงาน ทางเลือกครอบครัว แก่ประชาชนที่สนใจในพื้นที่จังหวดัชายแดนภาคใต้จ้านวน 30 คน ณ บ้านช่วยอารีย์ต.ทุ่งโพธิ์อ.จุฬาภรณ์จ. นครศรีธรรมราช เรียนรู้การใช้โซลาร์เซลล์ได้เข้าใจในหลักการและร่วมปฏิบัติจริงเชิงประจักษ์เรื่อง “1 ครัวเรือน อย่างน้อย 5 โรง” ได้แก่ ผลิตไฟฟ้า ผลิตน้้า ผลิตแก๊สชีวภาพ ผลิตพืชผักสวนครัว และการเป็นหน่วยการเรียนรู้สร้างเครือข่ายผู้ใช้พลังงานไฟฟ้าจากแสงอาทิตย์ “เครือข่ายชุมชนคนอาทิตย์อุทัย”
2) การประยุกต์ใช้โซลาล์เซลล์เพื่อการเกษตรชลประทาน: วนั ที่ 4-5 เมษายน 2561 อบรมโครงการประยุต์ใช้โซลาร์เซลล์เพื่อการเกษตร ชลประทาน เรียนรู้เชิงประจักษ์ภาคทฤษฎีณ โรงแรมทวนิโลตัส น้าไปสู่ปฎิบัติจริง ณ แปลงทดลองบ้านช่วยอารีย์จากกิจกรรมส เครือข่ายได้เห็นเชิงประจักษ์ในการใช้พลังงานแสงอาทิตย์ในการสูบน้้าขึ้นมาจากสระ และมีส่วนร่วมลงมือปฎิบัติและทดสอบจริงในการ ติดตั้งอุปกรณ์สูบน้้าโดยใช้พลังงาน
3) การสูบน้้าจากบ่อดินจากพลังงานโซลาร์เซลล์ส้าหรับโครงการพัฒนาตามพระราชด้าริของสมเด็จพระเทพรัฒนราชสุดาฯ สยามบรม ราชกุมารี: วนั ที่ 9 เมษายน 2561 ติดตั้งระบบสูบน้้าจากพลังงานโซลาร์เซลล์ให้กับโรงเรียนอุดมศาสนตร์วทิยา อ้าเภอเมือง จังหวดัยะลา จากกิกรรม ครูและนักเรียนสามารถใช้พลังงานโซลาร์เซลล์ในการสูบน้้าไปใช้ในโรงเรียน และทางโรงเรียนสามารถลดการใช้ไฟฟ้าด้วยการ ใช้พลังงานจากโซลาร์เซลล์เป็นพลังงานหลัก