เทคโนโลยีพร้อมถ่ายทอด
ชื่อ
เครื่องอัดพืชอาหารสัตว์สำหรับทำหญ้าแห้งและพืชหมัก
ชม 3,060 ครั้ง
56
เจ้าของ
นายบัณฑิต หิรัญสถิตพร
เมล์
rural_invention@most.go.th
รายละเอียด
โครงการประดิษฐ์กรรมเพื่อการพัฒนาชนบท สำนักส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยี สำนักงานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โทร. 02 333 3927
ผสมวัตถุดิบส่วนผสมอาหารสูตรโปรตีน 35 % ในภาชนะ จากนั้นนำส่วนผสมเทลงในกะบะป้อนวัตถุดิบของเครื่อง วัตถุดิบส่วนผสมอาหารปลาจะตกสู่กระบอกเกลียวลำเลียง และจะถูกใบเกลียวลำเลียง ซึ่งอยู่ภายในกระบอกเกลียวลำเลียง นำพาวัตถุดิบส่วนผสมอาหารปลาเข้าสู่กระบอกรีดภายในกระบอกรีดจะมีชุดลูกรีดทำการรีดวัตถุดิบ ส่วนผสมอาหารปลาผ่านออกตามรูต่าง ๆ ที่เจาะไว้โดยรอบกระบอกรีด จากนั้นเม็ดอาหารปลาที่รีดผ่านรูเจาะแล้วจะถูกตัดท่อน โดยชุดตัดท่อนตกสู่กระบะรองรับเม็ดอาหารสัตว์ จากนั้นจึงตกสู่ตะแกรงลำเลียงของระบบอบแห้ง เม็ดอาหารปลาจะค่อยๆ ถูกลำเลียงอยู่ภายในห้องอบแห้งนานประมาณ 3 นาที ที่อุณหภูมิอบแห้งระหว่าง 120 130 องศาเซลเซียส เม็ดอาหารที่แห้งแล้วจะออกจากตะแกรงลำเลียงฝั่งตรงข้าม ตกสู่ภาชนะรองรับ สำหรับระบบใบเกลียวลำเลียงและชุดลูกรีดใช้แกนเพลาส่งกำลังร่วมกันโดยรับกำลังขับมาจากมอเตอร์ 2.2 kW 1450 rpm ทดรอบผ่านชุดเกียร์ทดรอบและชุดเฟืองโซ่ โซ่ ส่วนระบบตัดท่อนเม็ดอาหารสัตว์ ใช้กำลังขับจากมอเตอร์กระแสตรง สำหรับตะแกรงลำเลียง ซึ่งเคลื่อนที่ภายในห้องอบแห้งเคลื่อนรอบชุดลูกกลิ้งหัวท้าย ซึ่งรับกำลังขับมาจากมอเตอร์ 0.187 kW 1450 rpm ทดรอบผ่านชุดเกียร์ทดรอบและชุดพูลเลย์ สายพาน
ลักษณะเด่นของเครื่อง
สามารถอัดเม็ดอาหารสัตว์ได้ 53 กิโลกรัมวัตถุดิบ/ชั่วโมง ส่วนระบบอบแห้ง สามารถอบได้ 34 กิโลกรัมเม็ดอาหารแห้ง/ ชั่วโมง ระยะเวลาคืนทุน 1 ปี 4 เดือน ค่าไฟฟ้าในการเดินเครื่อง 14,196 บาทต่อปี สามารถนำเครื่องต้นแบบไปผลิตอาหารหมูได้
1. ทำหญ้าแห้งอัดฟ่อนได้ 8.18 กก./ฟ่อน หรือ 424 กก./ชม.
2. ทำฟางข้าวอัดฟ่อนได้ 5.67 กก./ฟ่อน หรือ 290 กก./ชม.
3. ทำข้าวโพดหมักมีน้ำหนักเฉลี่ย 20 กก./ถุง หรือ 636 กก./ชม.
ติดต่อเจ้าของผลงานได้ที่
นายประพันธ์ ศิริพลับพลา
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ถนนห้วยแก้ว ตำบลสุเทพ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 50200
โทร. 053-944146 ต่อ 914 โทรสาร 053-217287
Email : PRAPAN@DOME.ENG.CMU.AC.TH
ผสมวัตถุดิบส่วนผสมอาหารสูตรโปรตีน 35 % ในภาชนะ จากนั้นนำส่วนผสมเทลงในกะบะป้อนวัตถุดิบของเครื่อง วัตถุดิบส่วนผสมอาหารปลาจะตกสู่กระบอกเกลียวลำเลียง และจะถูกใบเกลียวลำเลียง ซึ่งอยู่ภายในกระบอกเกลียวลำเลียง นำพาวัตถุดิบส่วนผสมอาหารปลาเข้าสู่กระบอกรีดภายในกระบอกรีดจะมีชุดลูกรีดทำการรีดวัตถุดิบ ส่วนผสมอาหารปลาผ่านออกตามรูต่าง ๆ ที่เจาะไว้โดยรอบกระบอกรีด จากนั้นเม็ดอาหารปลาที่รีดผ่านรูเจาะแล้วจะถูกตัดท่อน โดยชุดตัดท่อนตกสู่กระบะรองรับเม็ดอาหารสัตว์ จากนั้นจึงตกสู่ตะแกรงลำเลียงของระบบอบแห้ง เม็ดอาหารปลาจะค่อยๆ ถูกลำเลียงอยู่ภายในห้องอบแห้งนานประมาณ 3 นาที ที่อุณหภูมิอบแห้งระหว่าง 120 130 องศาเซลเซียส เม็ดอาหารที่แห้งแล้วจะออกจากตะแกรงลำเลียงฝั่งตรงข้าม ตกสู่ภาชนะรองรับ สำหรับระบบใบเกลียวลำเลียงและชุดลูกรีดใช้แกนเพลาส่งกำลังร่วมกันโดยรับกำลังขับมาจากมอเตอร์ 2.2 kW 1450 rpm ทดรอบผ่านชุดเกียร์ทดรอบและชุดเฟืองโซ่ โซ่ ส่วนระบบตัดท่อนเม็ดอาหารสัตว์ ใช้กำลังขับจากมอเตอร์กระแสตรง สำหรับตะแกรงลำเลียง ซึ่งเคลื่อนที่ภายในห้องอบแห้งเคลื่อนรอบชุดลูกกลิ้งหัวท้าย ซึ่งรับกำลังขับมาจากมอเตอร์ 0.187 kW 1450 rpm ทดรอบผ่านชุดเกียร์ทดรอบและชุดพูลเลย์ สายพาน
ลักษณะเด่นของเครื่อง
สามารถอัดเม็ดอาหารสัตว์ได้ 53 กิโลกรัมวัตถุดิบ/ชั่วโมง ส่วนระบบอบแห้ง สามารถอบได้ 34 กิโลกรัมเม็ดอาหารแห้ง/ ชั่วโมง ระยะเวลาคืนทุน 1 ปี 4 เดือน ค่าไฟฟ้าในการเดินเครื่อง 14,196 บาทต่อปี สามารถนำเครื่องต้นแบบไปผลิตอาหารหมูได้
1. ทำหญ้าแห้งอัดฟ่อนได้ 8.18 กก./ฟ่อน หรือ 424 กก./ชม.
2. ทำฟางข้าวอัดฟ่อนได้ 5.67 กก./ฟ่อน หรือ 290 กก./ชม.
3. ทำข้าวโพดหมักมีน้ำหนักเฉลี่ย 20 กก./ถุง หรือ 636 กก./ชม.
ติดต่อเจ้าของผลงานได้ที่
นายประพันธ์ ศิริพลับพลา
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ถนนห้วยแก้ว ตำบลสุเทพ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 50200
โทร. 053-944146 ต่อ 914 โทรสาร 053-217287
Email : PRAPAN@DOME.ENG.CMU.AC.TH
คำสำคัญ
บันทึกโดย