เทคโนโลยีพร้อมถ่ายทอด
ชื่อ
เครื่องแยกเนื้อสำรองออกจากเมล็ด
ชม 3,204 ครั้ง
52
เจ้าของ
นายสาทิป รัตนภาสกร
เมล์
krsatip@kmitl.ac.th
รายละเอียด
การทำงานผู้ปฏิบัติงานทำหน้าที่ป้อนวัตถุดิบลงเครื่อง หลังจากนั้นเครื่องจะทำงานแยกเปลือกเมล็ดและเนื้อเองในทันทีที่ป้อน ใช้หลักการเหวี่ยงแยกให้เนื้อสำรองลอดผ่านรูตะแกรงของถังเหวี่ยงแยก ส่วนเปลือกและเมล็ดเคลื่อนออกทางด้านบนและออกตรงทางออกของตัวถัง ดังนั้นความสามารถของเครื่องจึงขึ้นอยู่กับการป้อน ความสามารถเครื่องเป็น 120 กิโลกรัม / ชั่วโมง
ลักษณะเด่นของเครื่อง
เครื่องแยกเนื้อสำรองแบบแรงเหวี่ยงใช้ผู้ปฏิบัติงาน 1 คน ใช้สำหรับแยกเนื้อสำรองจากเมล็ดที่ผ่านการแช่น้ำ 1 ชั่วโมง และทิ้งให้สะเด็ดน้ำครึ่งชั่วโมง จะได้เนื้อที่พองน้ำหุ้มเปลือกและเมล็ดประมาณ 16 เท่ากว่าของน้ำหนักผลแห้ง
ส่วนประกอบที่สำคัญของเครื่อง ดังนี้
1. โครงสร้างสแตนเลส
2. ถังเหวี่ยงแยกทรงกรวย
3. ตัวถัง เส้นผ่านศูนย์กลาง 40 เซนติเมตร
4. มอเตอร์ 1 แรงม้า
สนับสนุนโดย
โครงการประดิษฐ์กรรมเพื่อการพัฒนาชนบท
สำนักงานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โทร 0 2354 4466 ต่อ 626 (กัญญา) โทรสาร 0 2354 3712
ติดต่อเจ้าของผลงานได้ที่
นายสาทิป รัตนภาสกร
ภาควิชาวิศวกรรมอาหาร คณะวิศวกรรมศาสตร์
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ถนนฉลองกรุง เขตลาดกระบัง กทม. 10520
โทร. 02 739 2348-9 โทรสาร 02 739 2349
ลักษณะเด่นของเครื่อง
เครื่องแยกเนื้อสำรองแบบแรงเหวี่ยงใช้ผู้ปฏิบัติงาน 1 คน ใช้สำหรับแยกเนื้อสำรองจากเมล็ดที่ผ่านการแช่น้ำ 1 ชั่วโมง และทิ้งให้สะเด็ดน้ำครึ่งชั่วโมง จะได้เนื้อที่พองน้ำหุ้มเปลือกและเมล็ดประมาณ 16 เท่ากว่าของน้ำหนักผลแห้ง
ส่วนประกอบที่สำคัญของเครื่อง ดังนี้
1. โครงสร้างสแตนเลส
2. ถังเหวี่ยงแยกทรงกรวย
3. ตัวถัง เส้นผ่านศูนย์กลาง 40 เซนติเมตร
4. มอเตอร์ 1 แรงม้า
สนับสนุนโดย
โครงการประดิษฐ์กรรมเพื่อการพัฒนาชนบท
สำนักงานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โทร 0 2354 4466 ต่อ 626 (กัญญา) โทรสาร 0 2354 3712
ติดต่อเจ้าของผลงานได้ที่
นายสาทิป รัตนภาสกร
ภาควิชาวิศวกรรมอาหาร คณะวิศวกรรมศาสตร์
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ถนนฉลองกรุง เขตลาดกระบัง กทม. 10520
โทร. 02 739 2348-9 โทรสาร 02 739 2349
บันทึกโดย