เทคโนโลยีพร้อมถ่ายทอด
ชื่อ
การคัดเลือกสายพันธุ์เชื้อราในการควบคุมเพลี้ยอ่อน Myzus persicae และ Macrosiphum euphorbiae
ชม 1,960 ครั้ง
56
เจ้าของ
อ. มาลี ตั้งระเบียบ และอ. ศิรินันธ์ เอี่ยมประภา
เมล์
phisamai@biotec.or.th
รายละเอียด
เพลี้ยอ่อนเป็นแมลงศัตรูพืชที่มีความสำคัญยิ่งต่อการปลูกผักที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจหลายชนิด เนื่องจากมีพืชอาหารกว้างและทำความเสียหายให้กับพืชผักตลอดฤดูปลูก
เชื้อ Beauveria spp. มีประสิทธิภาพในการควบคุมเพลี้ยอ่อนทั้ง Myzus persicae และ Macrosiphum euphorbiae โดยแนะนำให้ใช้เชื้อรา Beauveria bassiana ไอโซเลท 6988 ไปพัฒนาต่อเป็นผลิตภัณฑ์ควบคุมเพลี้ยอ่อนทั้ง 2 ชนิด เพราะเลี้ยงได้ง่าย มีการเจริญเติบโตและเชื้อราสร้างสปอร์ได้เร็ว
จุดเด่นของงานวิจัย
เชื้อรา Beauveria bassiana ไอโซเลท 6988 สามารถนำไปพัฒนาต่อเป็น ผลิตภัณฑ์ควบคุมเพลี้ยอ่อน M persicae และ M. euphorbiae
สามารถพัฒนาต่อเป็นผลิตภัณฑ์ที่ใช้ทดแทนการใช้สารเคมี
มีความปลอดภัย เพราะไม่มีอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตอื่นๆ (non target organisms)
ไม่ก่อให้เกิดความเป็นพิษต่อสิ่งแวดล้อม เพราะเชื้อจุลินทรีย์สามารถนำมาใช้ และเข้ากันได้ดีกับศัตรูธรรมชาติ อื่น ๆ โดยช่วยเสริมประสิทธิภาพให้สูงขึ้น และในช่วงเวลาที่แมลงศัตรูธรรมชาติมีจำนวนน้อย เชื้อจุลินทรีย์ก็อาจมีบทบาทแทนได้
นักวิจัย
สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล สถาบันวิจัยและฝึกอบรมการเกษตรลำปาง
1. อ. มาลี ตั้งระเบียบ
2. อ. ศิรินันธ์ เอี่ยมประภา
ผู้ประสานงาน/ติดต่อสอบถาม
พิศมัย อนุพงศานุกูล
ฝ่ายพัฒนาธุรกิจและกฏหมายเทคโนโลยีชีวภาพ
ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ
113 อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย ถนนพหลโยธิน
ตำบลคลองหนึ่ง อำเภอคลองหนึ่ง ปทุมธานี 12120
โทร 02-564-6700 ต่อ 3134 โทรสาร 02-564-6701
Email : phisamai@biotec.or.th
เชื้อ Beauveria spp. มีประสิทธิภาพในการควบคุมเพลี้ยอ่อนทั้ง Myzus persicae และ Macrosiphum euphorbiae โดยแนะนำให้ใช้เชื้อรา Beauveria bassiana ไอโซเลท 6988 ไปพัฒนาต่อเป็นผลิตภัณฑ์ควบคุมเพลี้ยอ่อนทั้ง 2 ชนิด เพราะเลี้ยงได้ง่าย มีการเจริญเติบโตและเชื้อราสร้างสปอร์ได้เร็ว
จุดเด่นของงานวิจัย
เชื้อรา Beauveria bassiana ไอโซเลท 6988 สามารถนำไปพัฒนาต่อเป็น ผลิตภัณฑ์ควบคุมเพลี้ยอ่อน M persicae และ M. euphorbiae
สามารถพัฒนาต่อเป็นผลิตภัณฑ์ที่ใช้ทดแทนการใช้สารเคมี
มีความปลอดภัย เพราะไม่มีอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตอื่นๆ (non target organisms)
ไม่ก่อให้เกิดความเป็นพิษต่อสิ่งแวดล้อม เพราะเชื้อจุลินทรีย์สามารถนำมาใช้ และเข้ากันได้ดีกับศัตรูธรรมชาติ อื่น ๆ โดยช่วยเสริมประสิทธิภาพให้สูงขึ้น และในช่วงเวลาที่แมลงศัตรูธรรมชาติมีจำนวนน้อย เชื้อจุลินทรีย์ก็อาจมีบทบาทแทนได้
นักวิจัย
สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล สถาบันวิจัยและฝึกอบรมการเกษตรลำปาง
1. อ. มาลี ตั้งระเบียบ
2. อ. ศิรินันธ์ เอี่ยมประภา
ผู้ประสานงาน/ติดต่อสอบถาม
พิศมัย อนุพงศานุกูล
ฝ่ายพัฒนาธุรกิจและกฏหมายเทคโนโลยีชีวภาพ
ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ
113 อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย ถนนพหลโยธิน
ตำบลคลองหนึ่ง อำเภอคลองหนึ่ง ปทุมธานี 12120
โทร 02-564-6700 ต่อ 3134 โทรสาร 02-564-6701
Email : phisamai@biotec.or.th
บันทึกโดย
รายละเอียดผู้รับบริการ
44406
ผู้ถาม : นายกวิน แซ่ซู ที่อยู่ หมู่บ้านปิยะมิตร2 อ.เบตง จ.ยะลา 95110
วันที่ถาม : 16/08/2562
คำถาม : สินค้าด้านการเกษตร โดยเฉพาะมังคุดมีราคาตกต่ำในช่วงผลไม้ล้นตลาด กลุ่มชุมชนได้เสนอความต้องการที่จะรับคำปรึกษาฯ และข้อมูลเทคโนโลยี เรื่องการแปรรูปมังคุดเพื่อเพิ่มมูลค่า โดยนำเทคโนโลยีมาช่วยในการแปรรูป ให้เป็นผลิตภัณฑ์เกี่ยวกับมังคุด เช่นไวน์มังคุด พร้อมให้ความรู้เรื่องการแปรรูปไวน์มังคุด โดยใช้เทคโนโลยี เพื่อให้ชาวบ้านนั้นนำความรู้ไปประยุกต์ในการทำไวน์และการเก็บเกี่ยวไวน์ ให้มีคุณภาพดีและได้มาตรฐาน เพื่อเพิ่มมูลค่าให้กับสินค้าเกษตร ต่อไป|1452|M
คำตอบ :
การดำเนินงานจากเครือข่าย
วันที่ถาม : 16/08/2562
คำถาม : สินค้าด้านการเกษตร โดยเฉพาะมังคุดมีราคาตกต่ำในช่วงผลไม้ล้นตลาด กลุ่มชุมชนได้เสนอความต้องการที่จะรับคำปรึกษาฯ และข้อมูลเทคโนโลยี เรื่องการแปรรูปมังคุดเพื่อเพิ่มมูลค่า โดยนำเทคโนโลยีมาช่วยในการแปรรูป ให้เป็นผลิตภัณฑ์เกี่ยวกับมังคุด เช่นไวน์มังคุด พร้อมให้ความรู้เรื่องการแปรรูปไวน์มังคุด โดยใช้เทคโนโลยี เพื่อให้ชาวบ้านนั้นนำความรู้ไปประยุกต์ในการทำไวน์และการเก็บเกี่ยวไวน์ ให้มีคุณภาพดีและได้มาตรฐาน เพื่อเพิ่มมูลค่าให้กับสินค้าเกษตร ต่อไป|1452|M
คำตอบ :
การดำเนินงานจากเครือข่าย