เทคโนโลยีพร้อมถ่ายทอด
ชื่อ
เครื่องเข็นเส้นใย เมเดลรีจักรา
ชม 3,537 ครั้ง
54
เจ้าของ
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
เมล์
-
รายละเอียด
พัฒนาโดยโครงการฝ้ายแกมไหมมาใช้แทนการเข็นฝ้ายด้วยหลา เครื่องเข็นฝ้ายนี้จะทำงานแตกต่างจากเครื่องเดิมคือ
1. วงล้อหมุนปั่นเกลียวฝ้ายเป็นเส้นด้ายด้วยการถีบจักร (ของเดิมวงล้อจะหมุนด้วยมือหมุน)
2. ผู้เข็นฝ้ายจะนั่งบนเก้าอี้ (ของเดิมผู้เข็นฝ้ายจะนั่งอยู่กับพื้น ทำให้ปวดหลังได้ง่าย)
ข้อดีของเครื่องเข็นฝ้ายนี้คือ
1. ใช้งานง่าย
2. เข็นฝ้ายได้เร็วขึ้น
3. ถูกสุขลักษณะขณะทำงาน (ลดการปวดเมื่อยโดยเฉพาะปวดหลัง)
1. วงล้อหมุนปั่นเกลียวฝ้ายเป็นเส้นด้ายด้วยการถีบจักร (ของเดิมวงล้อจะหมุนด้วยมือหมุน)
2. ผู้เข็นฝ้ายจะนั่งบนเก้าอี้ (ของเดิมผู้เข็นฝ้ายจะนั่งอยู่กับพื้น ทำให้ปวดหลังได้ง่าย)
ข้อดีของเครื่องเข็นฝ้ายนี้คือ
1. ใช้งานง่าย
2. เข็นฝ้ายได้เร็วขึ้น
3. ถูกสุขลักษณะขณะทำงาน (ลดการปวดเมื่อยโดยเฉพาะปวดหลัง)
คำสำคัญ
บันทึกโดย
รายละเอียดผู้รับบริการ
46434
ผู้ถาม : นายบุญแก้ว ทิพย์รงค์ ที่อยู่ 163 หมู่3 ตำบลห้วยยูง อำเภอเหนือคลอง
วันที่ถาม : 08/05/2563
คำถาม : ต้องการเทคโนดลยี การให้น้ำผักแบบประหยัดน้ำ (ระบบน้ำหยดเป็นต้น) สำหรับปลูกผักในโรงเรียน ตอนนี้ทำโรงเรือนเรียบร้อยแล้ว
คำตอบ :
การดำเนินงานจากเครือข่ายคลินิกเทคโนโลยี ฝ่ายพันธกิจสัมพันธ์มหาวิทยาลัยกับสังคม สำนักวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (คลินิกเทคโนโลยี ฯ ม.อ.) ได้ดำเนินการประสานไปยังผู้เชี่ยวชาญ/อาจารย์/นักวิจัย ที่มีองค์ความีรู้ด้านระบบหยดน้ำ จำนวน 4 คน คือ
1. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.มนูญ ศิรินุพงศ์ ภาควิชาเทคโนโลยีและการอุตสาหกรรม คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ม.อ. วิทยาเขตปัตตานี โดยทางอาจารย์มนูญได้มีองค์ความรู้ทำระบบรดน้ำแบบง่าย โดยใช้ถังใหญ่ และหลักการแรงโน้มถวงให้น้ำหยดลงมา
2. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จิราภรณ์ เมืองประทับ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี โดยอาจารย์มีองค์ความรู้ด้าน Application การออกแบบระบบรดน้ำแบบ Smart Farm โดยควบคุมการรดน้ำโดยโทรศัพท์มือถือ
3. รองศาสตราจารย์ ดร.โอภาส พิมพา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี โดยอาจารย์มีองค์ความรู้ด้านระบบรดน้ำ 2 แบบ คือ
3.1 รดน้ำแบบง่าย โดยใช้คนควบคุม โดยเป็นกระบวนการแบบควบคุมมอเตอร์ในการรดน้ำ
3.2 รดแบบเซนเซอร์วัดความชื้น โดยกระบวนการทำงานของระบบนี้จะเป็นการวัดความชื้นจากเครื่องวัดความชื้น โดยเมื่อความชื้นถึงระดับที่ต้องการ ระบบก็จะรดน้ำโดยอัตโนมัต
ทั้งนี้ รศ. ดร.โอภาส ได้ขอข้อมูลกลุ่มเพื่อจะนำไปประกอบในโครงการถ่ายทอดด้านการปลุกผักในโรงเรียน ซึ่งจะขอรับงบประมาณสนับสนุนจาก วช. ซึ่งคลินิกเทคโนโลยี ฯ ม.อ. ได้ประสานไปยังนายบุญแก้ว ทิพย์รงค์ เพื่อข้อข้อมูลการขอรับเทคโนโลยี และข้อมูลกลุ่มเบื้องต้น
วันที่บริการ 18/05/2563
วันที่ถาม : 08/05/2563
คำถาม : ต้องการเทคโนดลยี การให้น้ำผักแบบประหยัดน้ำ (ระบบน้ำหยดเป็นต้น) สำหรับปลูกผักในโรงเรียน ตอนนี้ทำโรงเรือนเรียบร้อยแล้ว
คำตอบ :
การดำเนินงานจากเครือข่าย
46365
ผู้ถาม : ดารา ปราณพรหม ที่อยู่ 200 หมู่1 ต.หัวนา อ.เมือง
วันที่ถาม : 21/04/2563
คำถาม : อยากรับการถ่ายทอดการผลิตและการใช้เครื่องเข็นฝ้าย ราคากี่บาทต่อเครื่อง|1382|M
คำตอบ : ส่งข้อมูลไปให้ทาง มช. แล้วนะครับ
การดำเนินงานจากเครือข่ายราคาเครื่องเข็นฝ้าย 6500 บาท/เครื่อง หากคุณดารา ต้องการที่จะได้รับการถ่ายทอดการผลิต วิธีใช้เครื่องเข็นฝ้าย ติดต่อกลับทางคลินิกเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยโทรศัพท์ 0903180395,053943644 หรือ clinictech@cmu.ac.th เพื่อการรับอนุญาตการใช้สิทธิในเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องนี้
**ทางคลินิกเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ยินดีเป็นอย่างยิ่งที่ได้บริการข้อมูลให้ท่าน**
วันที่บริการ 24/04/2563
วันที่ถาม : 21/04/2563
คำถาม : อยากรับการถ่ายทอดการผลิตและการใช้เครื่องเข็นฝ้าย ราคากี่บาทต่อเครื่อง|1382|M
คำตอบ : ส่งข้อมูลไปให้ทาง มช. แล้วนะครับ
การดำเนินงานจากเครือข่าย