เทคโนโลยีพร้อมถ่ายทอด
ชื่อ
อุปกรณ์ป้อนลวดเชื่อมทิกแบบเส้น
ชม 1,166 ครั้ง
61
เจ้าของ
ธัญวิช ยีละ และอนุพงศ์ แสงทอง คณะวิศวกรรมศาสตร์
เมล์
chaiyatanaphatsiri@gmail.com
รายละเอียด
หลักการทำงานของอุปกรณ์ป้อนลวดเชื่อมทิกแบบเส้น จากการศึกษา
ข้อมูลเบื้องต้นของกรรมวิธีการเชื่อมทิกและการป้อนลวดเชื่อมทิก จึงได้นำ
หลักการดังกล่าวมาประยุกต์ใช้ในการออกแบบกลไกการทำงานของเครื่อง
โดยหลักการในภาพรวมของอุปกรณ์ป้อนลวดเชื่อมทิกแบบเส้น จะใช้
มอเตอร์ไฟฟ้าเป็นต้นกำลัง ส่งกำลังไปยังล้อขับลวดเชื่อมชุดที่ 1 ด้วยโซ่
ส่งกำลัง จากนั้นเฟืองตรงเป็นตัวส่งกำลังไปยังล้อขับลวดชุดแรก ซึ่งล้อ
ขับลวดชุดแรกจะมีสองล้อหมุดเข้าหากันด้วยเฟืองตรงเพื่อขับเคลื่อนลวด
ไปยังล้อขับลวดชุดที่สอง ซึ่งล้อขับลวดชุดที่สองได้รับการส่งกำลังมาจากล้อ
ขับลวดชุดแรกด้วยโซ่ส่งกำลัง ล้อส่งกำลังไปยังล้อขับลวดชุดที่สอง ซึ่ง
ประกอบด้วยล้อขับลวดเพียงล้อเดียวหมุนกับล้อหมุนอิสระ ที่หมุดได้โดยแรง
กดระหว่างล้อขับลวดกับลวดเชื่อม ซึ่งล้อส่งกำลังชุดที่สองนี้ทำหน้าที่ป้อน
ลวดไปยังบริเวณอาร์ค เพื่อลดระยะห่างระหว่างจุดอาร์คกับล้อป้อนลวด
ทำให้เกิดการคุ้มค่าในการใช้งานลวดเชื่อมมากที่สุด
ข้อมูลเบื้องต้นของกรรมวิธีการเชื่อมทิกและการป้อนลวดเชื่อมทิก จึงได้นำ
หลักการดังกล่าวมาประยุกต์ใช้ในการออกแบบกลไกการทำงานของเครื่อง
โดยหลักการในภาพรวมของอุปกรณ์ป้อนลวดเชื่อมทิกแบบเส้น จะใช้
มอเตอร์ไฟฟ้าเป็นต้นกำลัง ส่งกำลังไปยังล้อขับลวดเชื่อมชุดที่ 1 ด้วยโซ่
ส่งกำลัง จากนั้นเฟืองตรงเป็นตัวส่งกำลังไปยังล้อขับลวดชุดแรก ซึ่งล้อ
ขับลวดชุดแรกจะมีสองล้อหมุดเข้าหากันด้วยเฟืองตรงเพื่อขับเคลื่อนลวด
ไปยังล้อขับลวดชุดที่สอง ซึ่งล้อขับลวดชุดที่สองได้รับการส่งกำลังมาจากล้อ
ขับลวดชุดแรกด้วยโซ่ส่งกำลัง ล้อส่งกำลังไปยังล้อขับลวดชุดที่สอง ซึ่ง
ประกอบด้วยล้อขับลวดเพียงล้อเดียวหมุนกับล้อหมุนอิสระ ที่หมุดได้โดยแรง
กดระหว่างล้อขับลวดกับลวดเชื่อม ซึ่งล้อส่งกำลังชุดที่สองนี้ทำหน้าที่ป้อน
ลวดไปยังบริเวณอาร์ค เพื่อลดระยะห่างระหว่างจุดอาร์คกับล้อป้อนลวด
ทำให้เกิดการคุ้มค่าในการใช้งานลวดเชื่อมมากที่สุด
คำสำคัญ
บันทึกโดย
