อาจารย์อารยา บุญศักดิ์ 102 การพัฒนาผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ ผลผลิตทางการเกษตรเน้นผลิตภัณฑ์จากพืชผักผลไม้ การเกษตร ด้านสารชีวภัณฑ์กำจัดแมลงศัตรูพืช
สนอง กลิ่นเกษร 80 การถ่ายภาพพื้นผิวและคุณสมบัติทางไฟฟ้าของวัสดุโดยใช้กล้องจุลทรรศน์แรงอะตอม
ผศ.ดร.วุฒิชัย รสชาติ 99 1.นวัตกรรมพลังงานของชุมชน 2.ผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ จากพืชน้ำมัน 3.ตัวเร่งปฏิกิริยาและการเร่งปฏิกิริยาวิวิธพันธ์ 4. เคมีพื้นผิว การดูดซับ และตัวดูดซับ
ผศ.ดร.สุรีวัลย์ ดวงจิตต์ 93 ระบบนำส่งทางผิวหนัง ลิโพโซม นาโนเทคโนโลยี การออกแบบการทดลอง การหาสูตรที่เหมาะสมที่สุด พื้นผิวตอบสนอง นาโนเทคโนโลยีสำหรับเครื่องสำอาง
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปิยะพร ณ หนองคาย 76 วิทยาศาสตร์เคมีและพอลิเมอร์, การสังเคราะห์และการดัดแปรหมู่ฟังก์ชันของพอลิเมอร์สำหรับประยุกต์ใช้งานทางด้านการแพทย์, การสังเคราะห์และการดัดแปรพื้นผิวอนุภาคนาโนด้วยพอลิเมอร์สำหรับการประยุกต์ใช้เป็นอุปกรณ์ในการตรวจวัดทางชีวภาพ
ดร.อัณณ์ชญาน์ มงคลชัยพฤกษ์ 62 1. พัฒนาผลิตภัณฑ์ส่งเสริมการเจริญของพืชจากแบคทีเรียทนเค็มและการทดสอบประสิทธิภาพการส่งเสริมการเจริญของพืชตระกูล Solanaceae ในระดับแปลงปลูก 2. ศึกษาถึงการแสดงออกของยีน Ethylene Response Factors (ERF) ในการควบคุมเสื่อมสภาพของดอกกล้วยไม้สกุลหวายพันธุ์ขาวสนานในระดับการถอดรหัสของยีน 3. การจัดการหลังการเก็บเกี่ยวและการบรรจุภัณฑ์เพื่อควบคุมคุณภาพของผลิตผลและชิ้นผลิตผลตัดแต่งพร้อมบริโภคของพืชเศรษฐกิจบางชนิด 4. พัฒนาศักยภาพของทรัพยากรแบคทีเรียทนเค็มกลุ่มที่สร้างสาร indole-3-acetic acid (IAA) และสารควบคุมราก่อโรคเพื่อการใช้ประโยชน์ในการส่งเสริมการปลูกและคุณภาพของมะเขือเทศหลังการเก็บเกี่ยว
ดร.วิเชียร ศิริพรม 63 พลาสมาสำหรับวิทยาศาสตร์พื้นผิว
ดร.อรรถพล เชยศุภเกตุ 69 พลาสมาสำหรับวิทยาศาสตร์พื้นผิว
ผศ.ดร.กัญจน์ชญา หงส์เลิศคงสกุล 64 พลาสมาสำหรับวิทยาศาสตร์พื้นผิว
ผศ.ดร.นิรันดร์ วิทิตอนันต์ 59 พลาสมาสำหรับวิทยาศาสตร์พื้นผิว
ผศ.ดร.ภ.พึ่งบุญ ปานศิลา 79 พลาสมาสำหรับวิทยาศาสตร์พื้นผิว
รศ.ดร.อาธรณ์ วรอัด 40 การเคลือบฟิล์มบางด้วยการเคลือบในสุญญากาศ (vacuum coating) เป็นการปรับปรุงผิววัสดุแนวทางหนึ่งที่กำลังได้รับความสนใจอย่างกว้างขวางจากกลุ่มนักวิจัยและภาคอุตสาหกรรม โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเคลือบด้วยระบบสปัตเตอริ่ง (sputtering system) เช่น การเคลือบแข็ง (hard coating) บนผิวเครื่องมือตัดเจาะต่าง ๆ ทางอุตสาหกรรม เป็นการปรับปรุงพื้นผิวของเครื่องมือตัดเจาะให้มีความแข็งและยืดอายุการใช้งานของอุปกรณ์ให้ยาวนานขึ้น ซึ่งช่วยลดต้นทุนในการผลิตและยังเป็นการเพิ่มมูลค่าให้กับเครื่องมือตัดเจาะอีกด้วย นอกจากนี้ยังมีการเคลือบเพื่อใช้งานคุณสมบัติทางแสง เช่น ฟิล์มกรองแสงบนกระจกรถยนต์หรือในตัวอาคาร หรือการปรับปรุงสมบัติทางวัสดุศาสตร์สำหรับอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ เซนเซอร์ เป็นต้น