มนกานต์ อินทรกำแหง 100 การจัดการฟาร์มโคนมผ่านแอพลิเคชั่น
นางจันทรา สโมสร 105 มีความเชี่ยวชาญด้านการจัดการฟาร์มโคนม การผลิตอาหารสำหรับโครีดนม
นายสมศักดิ์ เพ็ชรปานกัน 88 การเลี้ยงโคนม การทำเกษตรผสมผสาน
อาจารย์พิพัฒน์ ชนาเทพาพร 46 การผลิตโคเนื้อ โคนม การประกอบสูตรอาหารสัตว์อย่างง่าย
ดร.อุดมศักดิ์ นพพิบูลย์ 118 การปรับปรุงพันธ์สัตว์(สุกร โคนมและโคเนื้อ), การปรับปรุงคุณภาพอาหารสัตว์
นายภูริงพงศ์ จิตรมะโน 91 การเลี้ยงโคนม
รศ.ดร. วิศิษฐิพร สุขสมบัติ 91 การจัดการโคนม การจัดการโรงงานอาหารสัตว์ (โคนม) การผลิตพืชอาหารสัตว์
พิมพ์นภา ภูฆัง 83 การศึกษาการให้ปริมาณน้ำนมของของโคนมพันธุ์โฮลสไตน์ฟรีเชี่ยน
ดร.รัฐกร มิรัตนไพร 95 การเลี้ยงโคเนื้อโคนมครบวงจร/ อาหารสัตว์เคี้ยวเอื้อง
อาจารย์ อธิปวัฌณ์ อมรปัญญานันท์ 104 โภชนศาสตร์สัตว์เคี้ยวเอื้อง, การจัดการโคเนื้อและโคนม, การจัดการอาหารโคเนื้อและโคนม, สูตรอาหารสัตว์
ดร.ชนะดล สุภาพงษ์ 91 การเลี้ยงโคเนื้อ โคนม
นวลนพมล ศรีอุทัย 126 การเลี้ยงโคเนื้อ โคนม
เสกศักดิ์ น้ำรอบ 91 การเลี้ยงโคเนื้อ โคนม การเลี้ยงสัตว์ต่างๆ
ผศ.ดร.วรรณวิไล อินทนู 61 การควบคุมโรคเหี่ยวที่เกิดจากแบคทีเรียในพืช การควบคุมโรคใบจุดใบไหม้ แอนแทรคโนสในพืช การควบคุมโรคแคงเกอร์ รากโคนเน่า(เชื้อรา)ในพืช
อาจารย์นนท์ ปิ่นเงิน 72 ชุดเซนเซอร์ตรวจวัดสภาพอากาศในโรงเรือนโคนม
นางนุกูล ประเสริฐดี 100 การจัดการฟาร์มการเลี้ยงโคนม โคเนื้อการ
นายดำรง ด้วงแห้ว 93 การเพาะเห็ดแบบครบวงจร เห็ดนางฟ้า เห็ดฟาง เห็ดโคนน้อย
ดร.ชัยณรงค์ รัตนกรีฑากุล 89 1.จดอนุสิทธิบัตร "สูตรผสมสำหรับ ผลิตภัณฑ์สารสกัดสมุนไพร ชนิดสารเข้มข้นแขวนลอย" 2. จดลิขสิทธิ์ ปี 2011 จำนวน 4 เรื่อง "สินค้าคุณภาพจากแปลงสู่ผู้บริโภค" "การประเมินความเสี่ยงเป็นการเตรียมระบบ GAP ให้พร้อมกับสิ่งที่เกิดขึ้น" "การระมัดระวังระหว่างการใช้สารเคมี" "สุขอนามัยระหว่างการเก็บเกี่ยว" 3. งานวิจัยที่เป็นการรายงานครั้งแรกของประเทศไทยที่พบว่า เชื้อสาเหตุโรคกิ่งแห้งของทุเรียนเป็นเชื้อรา Fusarium incarnatum และ F. solani ไม่ใช่เชื้อรา Phytophthora palmivora ตามที่นักวิชาการหลายท่านเข้าใจ รวมทั้งพบว่าเชื้อรา Phytopythium vexans สามารถเข้าทำลายทุเรียน และทำให้เกิดโรครากเน่าโคนเน่าได้เช่นเดียวกับ P. palmivora และได้แนะนำสารเคมีป้องกันกำจัดเชื้อราชนิดที่ควบคุมได้ทั้งเชื้อรา Fusarium, Phytophthora, Phytopythium และ Pythium โดยเกษตรกรไม่จำเป็นต้องสิ้นเปลืองซื้อสารเคมีหลายชนิดมาผสมเองเพราะสาเหตุที่แท้จริงของโรคกิ่งแห้งนั้นเกิดจากเชื้อรา Fusarium solani และ F. incarnatum มิได้เกิดจากเชื้อรา Phytophthora palmivora และได้แนะนำสารเคมีที่มีประสิทธิภาพในการควบคุมโรคกิ่งแห้งซึ่งสามารถควบคุมเชื้อรา Phytophthora palmivora สาเหตุโรครากเน่าโคนเน่าของทุเรียนได้อีกด้วย โดยจำเป็นต้องระมัดระวังการใช้สารเคมี benzimidazoles มากยิ่งขึ้น เนื่องจากเชื้อราสาเหตุเกิดการต้านทานได้ 4. หาความแตกต่างของสารประกอบบนผิวมะม่วงที่ได้รับสารกลุ่ม salicylic เพื่อกระตุ้นความต้านทานโรคแอนแทรคโนส จากงานวิจัยการกระตุ้นความต้านทานการเกิดโรคในมะม่วงหลังการเก็บเกี่ยว
ดร.กันตา แสงวิจิตร 93 ฟิสิกส์นวัตกรรมด้วยลำแสงไอออน/พลาสมาสำหรับการปรับปรุงพันธ์พืช/แบคทีเรียเพื่อเพิ่มผลผลิตโคนมและโคเนื้อ
ผศ.ดร.สุกัญญา สืบแสน 78 Plant Biotechnology/ฟิสิกส์นวัตกรรมด้วยลำแสงไอออน/พลาสมาสำหรับการปรับปรุงพันธ์พืช/แบคทีเรียเพื่อเพิ่มผลผลิตโคนมและโคเนื้อ
อาจารย์จันทรา สโมสร 70 มีความเชี่ยวชาญด้านการจัดการฟาร์มโคนม และการผลิตอาหารสำหรับโครีดนม
นางสาวนวลนพมล ศรีอุทัย 44 กลุ่มสาขา Natural Science โภชนะศาสตร์สัตว์เคี้ยวเอื้อง,การผลิตโคนม,การผลิตสุกร