คำค้น "ูน"
ข้อมูลผู้เชี่ยวชาญ
นางสาวนพรัตน์ ถวิลเวทิน
113
มีความชำนาญ: - ดูแลงานขยายพันธุ์พืชด้านการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ โครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ฯ โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช และงานตลาดและงานวิจัยของศูนย์ฯ
ฐิติพร พระโพธิ์
112
1. ระบบสารสนเทศทางการบัญชี
2. ต้นแบบศูนย์การเรียนรู้ด้านระบบสารสนเทศทางการบัญชีด้านอาหารของไทย
3. แอปพลิเคชันน้ำนมดิบ
4. การบริหารต้นทุนเกษตรสมัยใหม่
4. สมุดบัญชีครัวเรือน
ดร.ขจรเกียรติ์ ศรีนวลสม
95
ปูนาไทย
ศูนย์วิจัยและพัฒนานวัตกรรมสินค้าเกษตรและอาหาร ภาคต
92
ศูนย์วิจัยและพัฒนานวัตกรรมสินค้าเกษตรและอาหาร ภาคตะวันออก คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี จันทบุรี เป็นหน่วยสนับสนุนการเรียนการสอน การวิจัย แลบริการวิชาการ มีหน้าที่หลักดังต่อไปนี้ 1. ทดสอบมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร ISO/IEC 17025 ทดสอบตัวอย่างสินค้าด้านการเกษตร เช่น ดิน น้ำ ใบ ผลผลิตทางการเกษตร และผลิตภัณฑ์จากการเกษตร เช่น ผลิตภัณฑ์อาหารแปรรูป น้ำส้มควันไม้ น้้ำดื่ม น้ำพริก ซอส เป็นต้น ทางศูนย์ทดสอบจะทำการวิเคราะห์เพื่อวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1.1 เฝ้าระวังมาตรฐานสินค้าให้ตรงกับมาตรฐานภานในและต่างประเทศ 1.2 ออกใบรายงานผลให้สอดคล้องกับมาตรฐานภานในและต่างประเทศ 1.3 วิเคราะห์สารเคมี และยาฆ่าแมลงตกค้างในผลผลิต และผลิตภัณฑ์แปรรูป 1.4 วิเคราะห์ฉลากโภชนา 1.5 วิเคราะห์จุลินทรีย์ 1.6 วิเคราะห์น้ำเพื่อการอุปโภคบริโภค 2. วิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ด้านเกษตรและอาหาร ทำการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่ใช้พืชปลทางการเกษตร ในภาคตะวันออก เพื่อรองรับการแปรรุปผลผลิตใหม่ๆ สู่ตลาดในยุยไทยแลนด์ 4.0 3. บริการวิชาการ ฝึกอบรม และให้คำปรึกษา เป็นศูนย์บริการให้คำปรึกษาด้านคุณภาพอาหาร และการขึ้นทะเบียนกับหน่วยงานรัฐ เช่น มผช. OTOP อย. และมาตรฐานสากลได้แก่ GMP/HACCP/ISO/HALAL/BRC เป็นต้น และยังเป็นที่ฝึกอบรมด้านการแปรรูปการเกษตร และอื่นๆ ตามโจทย์ท้องถิ่น 4. เป็นพี่เลี้ยงด้านระบบคุณภาอาหาร เป็นพี่เลี้ยงหน้างาน ให้บริการถึงสถานที่ เพื่อคอยแนะนำให้ผู้ประกอบการทุกระดับ ไม่ว่าจะกลุ่มแม่บ้าน วิสาหกิจชุมชน SME เข้าถึงการแปรรูปที่ถูกต้อง และจัดการสถานที่ให้เป็นไปตามมาตรฐานที่ต้องการ รวมทั้งการประยุกต์ใช้ระบบประกันคุณภาพอาหาร ในสถานประกอบการ สถานที่ติดต่อ ศูนย์วิจัยและพัฒนานวัตกรรมสินค้าเกษตรและอาหาร ภาคตะวันออก หลักสูตรวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี เลขที่ 41 ม.5 ต.ท่าช้าง อ.เมือง จ.จันทบุรี 22000 โทรศัพท์ 061 6605306 E mail Classforecastrbru@hotmail.com
อาจารย์ปฏิวัติ ยะสะกะ
90
การออกแบบคอมพิวเตอร์กราฟิก การ์ตูนอนิเมชันสองมิติ โมเดลสามมิติ ความเป็นจริงเสมือนสามมิติ และการถ่ายภาพ
อาจารย์อังศุมาลิน สมเทพ
110
การออกแบบกล่องบรรจุภัณฑ์ให้กับผลิตภัณฑ์ศูนย์ศิลปาชีพทอผ้าไหมบ้านท่าเรือเพื่อสร้างยอดขายและสร้างความน่าสนใจของสินค้า
นางอัญชาภัทร์ โพชนุกูล
86
การส่งเสริมการเกษตร (ศูนย์การเรียนรู้)
ดร.บุญวัฒน์ วิจารณ์พล
100
การต่อยอดเทคโนโลยีด้านพลังงานทดแทน เพื่อจะนำไปใช้ได้จริงโดยการขยายผลของศูนย์การเรียนรู้
ดร.ศักยะ สมบัติไพรวัน
150
2553 - ผู้ช่วยสอนนักศึกษาปริญญาตรี รายวิชาปฐพีกลศาสตร์ สาขาวิชาวิศวกรรมเกษตร
2554-2555 - ผู้ช่วยวิจัย งานเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว ศึกษาความสามารถในการยืดอายุการเก็บรักษามะม่วงน้ำดอกไม้โดยใช้ถ่านกัมมันต์ดูดซับเอทิลีนในบรรจุภัณฑ์ระหว่างการขนส่ง
2558 - ผู้ช่วยสอนนักศึกษาปริญญาตรี รายวิชาจุลชีววิทยาอาหาร สาขาวิชาวิศวกรรมเกษตร
2563 - นักวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ ศูนย์อนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
2564 - หัวหน้าโครงการการพัฒนาศักยภาพผลิตภัณฑ์ท้องถิ่นด้วยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม (12 ผลิตภัณฑ์) ภายใต้โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
- เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป หน่วยบริการวิชาการชุมชน เทคโนธานี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
2564 - ผู้ช่วยวิจัยโครงการการตรวจสอบชนิดและปริมาณการปนเปื้อนของสารหนูด้วยเทคนิคขั้นสูงจากเครื่องกำเนิดแสงซินโครตรอน รหัสโครงการ PRP6205012260 สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์กรมหาชน)
2565 - นักวิจัยหลังปริญญาเอก สาขาวิชาเทคโนโลยีอาหาร ภายใต้สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
- คณะกรรมการดำเนินการคัดสรรสุดยอดหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ไทย ปี พ.ศ. 2565 จ. นครราชสีมา ตรวจสอบและกลั่นกรองผลิตภัณฑ์ประเภทสมุนไพรที่ไม่ใช่อาหาร (คำสั่งจังหวัดนครราชสีมา ที่ 4785/2565 ลงวันที่ 5 พฤษภาคม 2565)
- ที่ปรึกษา/ผู้วิจัย กิจกรรมการสร้างผู้ประกอบการชุมชน (Local Startups) ประจำปี 2564 ภายใต้แผนงานส่งเสริมการนำนวัตกรรมไปใช้ประโยชน์ในพื้นที่เพื่อพัฒนาชุมชนและสังคม (Area based Innovation for Community) เทคโนธานี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี โครงการเลขที่ TN026/2565 เรื่อง การพัฒนาสูตรแชมพูสมุนไพรตามคุณค่าทางวิชาการและควบคุมคุณลักษณะให้ผ่านมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน (The evaluation of herbal shampoo according to the community product standards) วิสาหกิจชุมชนกลุ่มเกษตรกรรวมใจบ้านไกลเสนียด อ.ท่าตูม จ.สุรินทร์
- ที่ปรึกษา/ผู้วิจัย กิจกรรมการสร้างผู้ประกอบการชุมชน (Local Startups) ประจำปี 2564 ภายใต้แผนงานส่งเสริมการนำนวัตกรรมไปใช้ประโยชน์ในพื้นที่เพื่อพัฒนาชุมชนและสังคม (Area based Innovation for Community) เทคโนธานี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารีโครงการเลขที่ TN028/2565 เรื่อง การวัดสมบัติทางเคมี-กายภาพ สเปรย์บรรเทาอาการปวดและแมลงสัตว์กัดต่อยเพื่อทำมาตรฐานการผลิตและส่งเสริมการขาย ( A study of chemo-physical properties of pain and insect bites relief spray to standardize production and marketing campaigns) วิสาหกิจชุมชนแปรรูปสมุนไพรหนองสมอ อ.คง จ.นครราชสีมา
- ผู้ช่วยวิจัย โครงการสำรวจความเป็นไปได้ในการใช้ประโยชน์จากของเสียในโรงงานผลิตไส้ กรอก (กู้คืนและปรับสภาพน้ำมันสำหรับใช้เป็นพลังงาน) โรงงานไส้กรอก อ.ขามทะเลสอ จ.นครราชสีมา
นางสาวอมาวสี รักเรือง
103
1. พลังงานทดแทน
พลังงานทดแทนและการประยุกต์ใช้ - ระบบทางด้านของไหลและความร้อน เทอร์โมไดนามิกส์ กลศาสตร์ของไหล การถ่ายเทความร้อน - อุปกรณ์แลกเปลี่ยนความร้อน และการทำความเย็นและการปรับอากาศ - กระบวนการผลิตปูนซีเมนต์ และการประกันคุณภาพปูนซีเมนต์
ดร.ศักดิ์ชัย ดรดี
78
สร้างต้นแบบศูนย์การเรียนรู้ เพิ่มศักยภาพและขีดความสามารถด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรมชุมชุน
นางสาวจันทร์มณี ปัญญาไว
91
นิเวศวิทยาระบบนิเวศหญ้าทะเล และ พะยูน
ดร.วาณี ชนเห็นชอบ
80
1. ความสามารถของภาชนะบรรจุเพื่อการขนส่งในการปกป้องผลิตผลเกษตร
2. การพัฒนาฟิล์มเพื่อยืดอายุและรักษาคุณภาพผลิตผลเกษตร (ร่วมกับศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ)
3. รางวัลชนะเลิศ สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ "อุปกรณ์เพิ่มความแม่นยำในการวิเคราะห์อะฟลาทอกซิน บี 1" และรางวัลผลงานประดิษฐ์คิดค้น KU-AF2 : คอลัมน์ขจัดสิ่งรบกวนสำหรับการวิเคราะห์อะฟลาทอกซิน " จากโครงการวิจัย การเพิ่มศักยภาพของชุดตรวจสอบสารพิษเชื้อราซีราลีโนนและอิมมูโนแอฟฟินิตีคอลัมน์สำหรับอะฟลาทอกซินเพื่อการผลิตเชิงพาณิชย์
ดร.รัติยา พงศ์พิสุทธา
85
เป็นทีมวิจัยที่พบสาเหตุโรคกิ่งแห้งของทุเรียนและรายงานว่าเป็นเชื้อรา Fusarium incarnatum และ F. solani พบในประเทศไทย โดยตีพิมพ์ผลงาน ในวารสาร Plants Pongpisutta, R., Keawmanee, P., Sanguansub, S., Dokchan, P., Bincader, S., Phuntumart, V. and Rattanakreetakul, C. 2023. Comprehensive investigation of die-back disease caused by Fusarium in durian. Plants 12, 3045. https://doi.org/10.3390/plants12173045 นอกจากนี้ได้ตีพิมพ์ผลงานวิจัยซึ่งได้รับทุนจากศูนย์นวัตกรรมเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ในวารสารนานาชาติ 2 ฉบับ ได้แก่ 1) Rattanakreetakul, C., Keawmanee, P., Bincader, S., Mongkolporn, O., Phuntumart, V., Chiba, S. and Pongpisutta, R. 2023. Two newly identified Colletotrichum species associated with mango anthracnose in central Thailand. Plants 12, 1130. https://doi.org/10.3390/plants12051130 และ 2) Bincader, S., Pongpisutta, R. and Rattanakreetakul, C. 2022. Diversity of Colletotrichum species causing anthracnose disease from mango cv. Nam Dork Mai See Tong based on ISSR-PCR. Indian Journal of Agricultural Research 56 (1): 81-90. https://doi.org/10.18805/IJARe.AF-691.