อาจารย์ อดิศัย วรรธนะภูติ 129 การพัฒนารูปแบบการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมด้วยเครื่องส่งสัญญาณ beacon
ดร.กัญญาณัฐ เปลวเฟื่อง 117 "Concept Design for Media, Design Thinking, Universal Design นวัตกรรมการเรียนรู้ เทคโนโลยีสื่อ กระบวนการคิดเชิงออกแบบ"
นายกิตติกุล บุญเปลี่ยน 106 ออกแบบพื้นที่ด้วยกระบวนการคิดเชิงออกแบบ
นายนพกร ผลาวรรณ์ 136 การติดหุ่นจำลอง, การประเมินเชิงทัศน์
ผศ.ดร.ณัฎฐ์ดนัย ไค่นุ่นภา 113 -เกมแอนิเมชันเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยว -การท่องเที่ยวเชิงเกษตร -การท่องเที่ยวเชิงนวัตกรรม -การใช้แอปพลิเคชั่น
ดร.นัสทยา ชุ่มบุญชู 106 การเขียนแผนธุรกิจ การจัดการเชิงกลยุทธ์ พฤติกรรมผู้บริโภค
พัชรินทร์ บุญสมธป 121 -แอปพลิเคชั่นและหนังสือนำเที่ยวAR -ออกแบบหนังสือนำเที่ยวโดยใช้เทคโนโลยีความจริงเสริมใช้งานร่วมกับแอปพลิเคชั่น ใช้สำหรับแหล่งท่องเที่ยวเพื่อสนับสนุนการท่องเที่ยวแบบดิจิทัล
ชนกฤต มิตรสงเคราะห์ 104 การพัฒนางานเทคโนโลยีสารสนเทศเชิงเกษตร โปรแกรมสำเร็จรูป
ดร.บรรจบพร อินดี 133 การจัดการแผนกลยุทธ์ การท่องเที่ยวเชิงเกษตร ผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยว
ผู้ช่วยศาสตราจารย์เมธ์วดี พยัฆประโคน 131 ออกแบบผลิตภัณฑ์หัตถกรรม แบ่งเป็น 3 ประเภท คือ 1. ของใช้ (ผลิตภัณฑ์สินค้าแฟชั่น ได้แก่ หมวก กระเป๋า เสื้อผ้า เครื่องประดับ รองเท้า , 2 ของที่ระลึก โดยพัฒนาต่อยอดจากอัตลักษณ์ชุมชน และ 3 ของประดับบ้าน (ผลิตภัณฑ์เฟอร์นิเจอร์ไทย เช่น ตู้ โต๊ะ ตั่ง และของประดับบ้าน เช่น ชุดเครื่องใช้บนโต๊ะอาหาร หมอนอิง เสื่อกก) เป็นต้น
อาจารย์ธวัลรัตน์ สัมฤทธิ์ 114 การพัฒนาผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ของอาหารหรือเครื่องดื่ม วิศวกรรมอาหารการออกแบบเครื่องจักรกลอาหาร กระบวนการแปรรูปอาหารระบบทำความเย็นในอุตสาหกรรมการจำลองสถานการณ์เชิงวิศวกรรม การวางแผนกระบวนการผลิตอาหารมาตรฐานความปลอดภัยของการผลิตอาหาร การจัดการผลผลิตทางการเกษตรหลังการเก็บเกี่ยว
ผู้ช่วยศาสตราจารย์วาลิกา โพธิ์หิรัญ 97 การโรงแรม/การท่องเที่ยว, ธุรกิจการบริการ , งานวิจัยท้องถิ่น, วิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ภัทรานิษฐ์ สิทธินพพันธ์ 130 1. เป็นที่ปรึกษาและดำเนินงานในโครงการวิถีไทยก้าวไกลสู่แฟชั่น (Thailand Grand living) กิจกรรม การยกระดับการออกแบบผลิตภัณฑ์สิ่งทอและเครื่องนุ่งหมเชิงสร้างสรรค์ ให้กับสถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ ในฐานะนักออกแบบพัฒนาภาคใต้ 2. ปรึกษาโครงการที่ปรึกษาเพื่อยกระดับผลิตภัณฑ์หนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOP) ให้มีศักยภาพทางตลาด ด้วยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม 3. ที่ปรึกษาโครงการที่ปรึกษาเพื่อยกระดับผลิตภัณฑ์หนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOP) ให้มีศักยภาพทางตลาด ด้วยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมประเภท ผ้าและเครื่องแต่งกาย ของใช้ ของตกแต่ง และของที่ระลึกพื้นที่ภาคกลางและภาคใต้ประจำปี พ.ศ. 2559 ดำเนินการในพื้นที่ กลุ่มภาคกลาง ชื่อกลุ่ม กลุ่มแม่บ้านทหารเรือ จังหวัดชลบุรี ผลิตภัณฑ์ ประเภทเครื่องแต่งกายและของใช้ ชื่อกลุ่ม กลุ่มปักผ้าด้นมือ (U-THONG QUILTS) ผลิตภัณฑ์ ประเภทของใช้เคหะสิ่งทอ 4. ที่ปรึกษาโครงการพัฒนาและยกระดับสินค้าOTOP ด้วยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม ประเภทผ้าฯ และของใช้ (6 สถานประกอบการ)พื้นที่จังหวัดนราธิวาส) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2561 FC2 (ผ้า1) วิสาหกิจชุมชน กลุ่มผ้าคลุมผมสตรีบ้านลาเวง FC3(ผ้า2) วิสาหกิจชุมชน กลุ่มขัดจักรบ้านกาวะ FC8 (ผ้า5) วิสาหกิจชุมชน กลุ่มเสื้อผ้ามุสลิมบ้านรานอ
อ.วิยะดา พลชัย 47 การจัดการแผนกลยุทธ์ การท่องเที่ยวเชิงเกษตรผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยว
ดร.พุดกรอง พันธุ์อุโมงค์ 124 1.โครงการวิจัยเรื่อง การเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ไม้ผลทางเศรษฐกิจเพื่อการพัฒนาเกษตรที่สูงอย่างยั่งยืน หัวข้อวิจัยย่อย ศึกษากระบวนการแปรรูปและการเก็บ รักษามะม่วง ลิ้นจี่ และลำไยสดพร้อมบริโภค (ทุนวิจัยจากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติงบประมาณประจำปี 2550-51) 2.โครงการวิจัย เรื่อง การยืดอายุการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์ผักผลไม้แกะสลักเพื่อการสร้างมูลค่าเพิ่ม (งบประมาณแผ่นดิน พ.ศ. 2552)
ชนิดา ป้อมเสน 124 สาขาพลังงาน-พลังงานทดแทนและการอนุรักษ์พลังงาน สาขาวิศวกรรมศาสตร์-วิศวกรรมเครื่องกล การประชุมวิชาการมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ครั้งที่ 10 การประชุมวิชาการระดับชาติเทคโนโลยีเชิงสร้างสรรค์ ครั้งที่ 2 ให้คำปรึกษาด้านอนุรักษ์พลังงานแก่โครงการต่างๆ และวิทยากรอบรมในการให้คำปรึกษาด้านอนุรักษ์พลังงาน
นายสุระศักดิ์ ศรีปาน 131 สาขาพลังงาน-พลังงานทดแทน สาขาวิศวกรรมศาสตร์-วิศวกรรมเครื่องกล การศึกษาความเหมาะสมเชื้อเพลิงอัดเม็ดจากกะลามะพร้าวและเปลือกมะพร้าว การศึกษาประสิทธิภาพของระบบปรับอากาศแบบแยกส่วนร่วมกับพลังงานความร้อนทิ้งเหลือใช้ เครื่องบดเปลือกหอยแครง.
นางสาวอิศกฤตา โลหพรหม 139 การศึกษาความเหมาะสมเชื้อเพลิงอัดเม็ดจากกะลามะพร้าวและเปลือกมะพร้าว การศึกษาประสิทธิภาพของระบบปรับอากาศแบบแยกส่วนร่วมกับพลังงานความร้อนทิ้งเหลือใช้ ปัจจัยที่มีผลต่อการผลิตแก๊สไฮโดรเจนโดยใช้ระบบผลิตไฟฟ้าและน้ำร้อนร่วมพลังงานแสงอาทิตย์ สาขาพลังงาน-พลังงานทดแทน สาขาวิศวกรรมศาสตร์-วิศวกรรมเครื่องกล
ปิยภัทร บุษบาบดินทร์ 138 การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ การจัดการชุมชน การตลาดในท้องถิ่น ผลิตภัณฑ์ชุมชน แปรรูปผลผลิตการเกษตร
ดร.รุ่งอรุณ พรเจริญ 98 เทคโนโลยีการผลิตสื่อเสมือนจริง โดยใช้เทคโนโลยีความจริงเสริม (AR) เช่น การสร้างสื่อประชาสัมพันธ์ส่งเสริมการท่องเที่ยว เป็นต้น
นางสาวเมทิกา พ่วงแสง 122 การบริหารจัดการชุมชน การพัฒนาศักยภาพชุมชน การเชื่อมโยงระบบเศรษฐกิจชุมชนฐานรากกับวิถีวัฒนธรรม การพัฒนาชุมชนสู่การท่องเที่ยว การเพิ่มมูลค่าสินค้าชุมชนและการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนเชิงสร้างสรรค์
ดร.สมยศ เด่นจิตเจริญ 115 เทคโนโลยี ทินฟิล์ม, สูญญากาศ การสังเคราะห์วัสดุนาโน ซิงค์ออกไซด์ งานควบคุม
นางสาวเบ็ญจวรรณ บัวขวัญ 112 การบูรณาการภูมิปัญญาเพื่อเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ (การนำภูมิปัญญาและทรัพยากรในท้องถิ่นมาใช้ประโยชน์ให้เกิดประโยชน์ และการสร้างสรรค์สิ่งเหลือใช้จากงานเกษตร งานหัตถกรรม มาพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพและรักษาสิ่งแวดล้อม
นายวิญญู ศักดาทร 136 สาขาเทคโนโลยีอาหาร - กระบวนการผลิตและระบบผลิต สาขาออกแบบผลิตภัณฑ์ - ออกแบบผลิตภัณฑ์เชิงวิศวกรรม ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม - ออกแบบบรรจุภัณฑ์ กราฟิก และโครงสร้าง branding
นางสาวจิราพร เกียรตินฤมล 95 การออกแบบเชิงสร้างสรรค์แบบทันสมัย
รศ.ดร.อาทิตย์ อัศวสุขี 87 เชื้อเพลิงชีวภาพ แก๊สชีวภาพ การเร่งปฏิกิริยาการเปลี่ยนสารชีวมวล กระบวนการแยก
ดร.จิตรกร กรพรม 229 วุฒิการศึกษาปริญญาตรี วท.บ. (ฟิสิกส์ประยุกต์) มหาวิทยาลัยนเรศวร วุฒิการศึกษาปริญญาโท วท.ม. (ฟิสิกส์ประยุกต์) มหาวิทยาลัยนเรศวร วุฒิการศึกษาปริญญาเอก ปร.ด. (ฟิสิกส์ประยุกต์) มหาวิทยาลัยนเรศวร ความเชี่ยวชาญ -ด้านฟิสิกส์ประยุกต์และฟิสิกส์พื้นฐาน -การใช้เครื่องมือ X-ray diffraction, Scanning microscope, Transmission microscope, เครื่อง LCR, เครื่องวัดสมบัติ Piezo-ferro, เตาเผาอุณหภูมิสูง, Rama scattering 3 -การเตรียมเซรามิกไฟฟ้า และศึกษาสมบัติเชิงฟิสิกส์ -ความรู้การใช้งานแสงซินโครตรอน โดยเทคนิค XAS และ XPS - materials science
อาจารย์โอปอล์ รังสิมันตุชาติ 109 การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์
ดร.พิพัฒน์ จันทร์ประดิษฐ์ 103 เทคโนโลยีชีวภาพด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม การจัดการและการใช้ประโยชน์จากวัสดุเศษเหลือทางการเกษตร การคิดและการออกแบบนวัตกรรมเชิงสร้างสรรค์ การถ่ายทอดเทคโนโลยีชุดต้นแบบด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม แห่งการเรียนรู้ตามแนวทางในการจัดการและการสร้างมูลค่าเพิ่มแก่วัสดุเศษเหลือทางการเกษตร เพื่อการผลิตก๊าซชีวภาพและปุ๋ยหมักแก่กลุ่มวิสาหกิจชุมชนนวัตวิถีวิทย์ ด้วยกิจกรรมการอบรมเชิงปฏิบัติการ เพื่อการพึ่งพาตัวเองได้อย่างยั่งยืนในสถานการณ์โควิดตามแนวทาง ชีวิตวิถีใหม่ (new normal) ได้เป็นอย่างดี
ผศ.วีระ พันอินทร์ 98 "1. ตู้อบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์สำหรับแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร 2. ถ่านอัดแท่งจากเชื้อเพลิงชีวมวลสำหรับสร้างรายได้ลดรายจ่ายครัวเรือน 3. ระบบผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์สำหรับประหยัดพลังงาน 4. ระบบสูบน้ำพลังงานแสงอาทิตย์สำหรับลดภาระค่าใช้จ่ายเกษตรกร"
ผศ. ปัทมา อภิชัย 90 การเตรียมชิ้นงานศึกษาโครงสร้างจุลภาคและทดสอบเชิงกลทางโลหะวิทยา
ผศ.ดร.บิณฑสันต์ ขวัญข้าว 91 เป็นการพัฒนาเครื่องมือเพื่อสร้างคุณค่าให้กับขวดพลาสติกโดยนำกลับมาใช้ใหม่ให้เกิดประโยชน์ ช่วยลดปริมาณขยะด้วยการอาศัยความรู้เชิงนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อสร้างสรรค์เป็นผลิตภัณฑ์สิ่งทอ ซึ่งเส้นพลาสติกที่ได้จะมีขนาดเล็กยาวและกลมคล้ายเส้นด้ายที่เหมาะสมต่อการทำไปถักทอ จากนั้นนำไปขึ้นรูปเพื่อนำไปทำเป็นผลิตภัณฑ์จำพวกโฮมเท็กซ์ไทล์ เช่น ผ้าบุเฟอร์นิเจอร์ ผ้ารองจาน ผ้าม่าน เป็นต้น
ว่าที่ร.ต.หญิงศิริวรรณ ศรีธรรมรงค์ 76 เป็นการพัฒนาเครื่องมือเพื่อสร้างคุณค่าให้กับขวดพลาสติกโดยนำกลับมาใช้ใหม่ให้เกิดประโยชน์ ช่วยลดปริมาณขยะด้วยการอาศัยความรู้เชิงนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อสร้างสรรค์เป็นผลิตภัณฑ์สิ่งทอ ซึ่งเส้นพลาสติกที่ได้จะมีขนาดเล็กยาวและกลมคล้ายเส้นด้ายที่เหมาะสมต่อการทำไปถักทอ จากนั้นนำไปขึ้นรูปเพื่อนำไปทำเป็นผลิตภัณฑ์จำพวกโฮมเท็กซ์ไทล์ เช่น ผ้าบุเฟอร์นิเจอร์ ผ้ารองจาน ผ้าม่าน เป็นต้น
อาจารย์ ดร.ปภาภร จันทะวงศ์ฤทธิ์ 90 การวิเคราะห์ความบกพร่องทางโครงสร้างผลึกของวัสดุสารกึ่งตัวนำด้วยเทคนิค TEM การทำเชื้อเพลิงอัดแท่งจากเปลือกผลไม้
อาจารย์สุนีย์ ตรีมณี 75 - การบริหารจัดการฟาร์มไก่เบตง - เทคโนโลยีการเลี้ยงไก่เบตงเชิงพานิชย์ - การใช้สมุนไพรเพื่อการเลี้ยงไก่เบตง
อาจารย์ ดร.วิทยา หอทรัพย์ 110 การผสมผสานจิตรกรรมเทคโนโลยีโลกเสมือน AR ที่ผสานเอาโลกแห่งความเป็นจริง (Real) เข้ากับโลกเสมือน (Virtual) โดยผ่านอุปกรณ์ทางด้านฮาร์ดแวร์รวมกับการใช้ซอฟต์แวร์ต่างๆ ทำให้สามารถมองเห็นภาพที่มีลักษณะเป็นวัตถุ
ผศ.ดร.ณิชารีย์ ใจคำวัง 88 การประเมินผลโครงการ การพยาบาลและสาธารณสุข การวิจัยเชิงคุณภาพ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์จิรพร สวัสดิการ 95 เทคนิคการ Spray Dryer สินค้าเกษตรและอาหาร การทำงานของเครื่อง Spray Dryer คือการนำตัวอย่างของเหลว (feed) ที่นำมาฉีด ควรมีลักษณะเหลว และไม่ข้นมาก จากนั้นของเหลวจะถูกดูดโดยปั๊มผ่านอุปกรณ์ที่ทำให้เกิดละอองฝอยคือ atomizer ภายในห้องอบ เมื่อละอองสัมผัสกับอากาศร้อนจะทำให้เกิดการระเหยของน้ำอย่างรวดเร็ว และจะได้ผงของผลิตภัณฑ์ตกลงสู่ด้านล่างของ drying chamber ผงบางส่วนที่หลุดออกมากับอากาศจะถูกแยกโดยใช้ cyclone ซึ่งจะรวมเข้าเป็นผลิตภัณฑ์รวมในที่สุด การนำไปใช้ ผลิตภัณฑ์ต่างๆ ที่นิยมใช้กันในปัจจุบันมักอยู่ในรูปที่พร้อมใช้งานได้เลย และสามารถเก็บรักษาได้ง่ายและนาน คือการทำให้อยู่ในรูปของแห้ง ส่วนวิธีการที่นิยมใช้ในการทำแห้งวิธีหนึ่งก็คือการทำแห้งแบบพ่นฝอย (Spray Dry) โดยมีเครื่องมือที่ใช้คือเครื่องทำแห้งแบบพ่นฝอย (Spray Dryer) มักใช้วิธีนี้กับผลิตภัณฑ์อาหาร เช่น นมผง ไข่ผง อาหารเด็ก เนื้อวัวสกัด โปรตีนสกัด และผลิตภัณฑ์ยา เช่น ยาผงสมุนไพร เป็นต้น แหล่งอ้างอิง ตูแวอิสมาแอ ตูแวบีรู. 2549. Spray Dryer. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก: http://web.yru.ac.th/~ dolah/ no
ประธาน คำจินะ 117 วุฒิการศึกษาปริญญาตรี วท.บ. (วิทยาการคอมพิวเตอร์) มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาโท วท.ม. (เทคโนโลยีสารสนเทศ) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ความเชี่ยวชาญ - IoT, Database, Information System, Web Application - เทคโนโลยีโลกเสมือนผสานโลกจริง(Augmented Reality)
ดร.นิติศักดิ์ เจริญรูป 120 - การวิเคราะห์ธุรกิจเพื่อการตัดสินใจโดยใช้ข้อมูล (Business Analytics for Data-Driven Decision Making) - ระบบสนเทศและภูมิศาสตร์ และการสำรวจระยะไกล (Geographic Information System & Remote Sensing) - ระบบการคิดเชิงออกแบบ (Design Thinking) ภายใต้หลักสูตร STEAM4INNOVATOR ดำเนินการโดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) - นักกระบวนการ (Facilitator) และโค้ช (Coach) การจัดการเรียนการสอนที่มุ่งเน้นสมรรถนะการเรียนรู้ของผู้เรียน
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กิ่งกาญจน์ ปวนสุรินทร์ 121 - การวิเคราะห์ข้อมูลด้านการตัดสินใจแบบหลายเงื่อนไข - การประยุกต์ระบบสารสนเทศเชิงภูมิศาสตร์ - การประยุกต์ใช้ Good Agricultural Practice
อัตถ์ อัจฉริยมนตรี 86 วุฒิการศึกษาปริญญาตรี วท.บ.(พืชสวน) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วุฒิการศึกษาปริญญาโท วท.ม.(เกษตรศาสตร์เชิงระบบ) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ความเชี่ยวชาญ ระบบผลิตทางการเกษตร
นางสาวธิดารัตน์ คำล้อม 37 เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศเพื่อการจัดการสิ่งแวดล้อม การจัดการสิ่งแวดล้อมเชิงพื้นที่โดยใช้เครื่องมือด้านเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ
ผศ.ดร.ศักดิ์ชาย เพชรช่วย 114 การบริหารจัดการชุมชน/การจัดการองค์กรส่วนท้องถิ่น, การท่องเที่ยว, การท่องเที่ยวเชิงดาราศาสตร์ ดาราศาสตร์ ฟิสิกส์ศึกษา
นางสายสนิท พงศ์สุวรรณ 90 ความหลากหลายทางชีวภาพ นิเวศวิทยา ชนิดและการกระจายของสัตว์และพืชในพื้นที่ระบบนิเวศแบบต่างๆ พฤติกรรม และความสามารถการปรับตัวของสิ่งมีชีวิต การคัดเลือกชนิดพันธุ์เป้าหมายเพื่อการอนุรักษ์ และใช้ประโยชน์ในด้านการการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ การออกแบบและสร้างแหล่งเรียนรู้ด้านทรัพยากรธรรมชาติ และการประเมินขีดความสามารถในการรองรับของพื้นที่ในเชิงนิเวศ (Ecology Carrying Capacity)
Asst.prof.Dr.Bundit Unyong 99 Mathematical model, mathematics analysis การสร้างตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์เพื่อการประยุกต์ใช้แก้ปัญหาด้านต่างๆ
ผศ.ดร.ธนา สุทธิบัทม์พงศ์ 108 (1) การจำลองโมเลกุล (molecular simulation) สำหรับระบบเอนไซม์ พอลิเมอร์ และวัสดุคาร์บอน (2) การออกแบบโมเลกุลยาจากการคัดกรองเสมือน (virtual screening) และเทคนิคเชิงปัญญาประดิษฐ์ (3) การสร้างแบบจำลองทางคณิตศาสตร์เพื่อวิเคราะห์ข้อมูลเชิงอุตสาหกรรม
บุปผชาติ จันทร์สว่าง 129 การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคณิตศาสตร์ และการวิจัยทางด้านการตลาด calculus, numerical computing, computational mathematics, data analysis, marketing research
ดร. เกรียงไกร วันทอง 146 เทคโนโลยีสปัตเตอริงหรือ เทคนิคการเคลือบฟิล์มบางในสุญญากาศ กระบวนการนี้ใช้เคลือบฟิล์มได้หลากหลายชนิด เช่น ฟิล์มโลหะ อัลลอย แก้ว เซรามิกส์ ฟิล์มสารกึ่งตัวนำ ในกลุ่มอุตสาหกรรมในประเทศไทยที่ใช้เทคโนโลยี สปัตเตอริง ได้แก่ ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ ฮาร์ดดิสไดรฟ์ ยานยนต์ กระจกอาคาร ใยแก้วนำแสง และเซลล์แสงอาทิตย์, การทดสอบโลหะต่างๆ และการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึก Data Science Semiconductor Physics, Electronics, Crystal Growth, Thin Film Sputtering, C, Python and R programming, Computational Physics, Data Science, Scintillation Materials and Nuclear Physics, Precious Metals Testing
ธนภัทร์ ดีสุวรรณ 97 ฟิสิกส์ทฤษฎีและฟิสิกส์เชิงสถิติ เทคโนโลยีควอนตัม การสร้างแบบจำลองทางคณิตศาสตร์
นางสาวโสภิดา วิศาลศักดิ์กุล 87 การออกแบบและพัฒนาบรรจุภัณฑ์สำหรับผลิตภัณฑ์งานประดิษฐ์ และผลิตภัณฑ์อื่นๆ จากวัสดุธรรมชาติและวัสดุสังเคราะห์ การพัฒนาผลิตภัณฑ์และวัสดุที่จำเป็นในการปฏิบัติงานด้านคหกรรมศาสตร์และศิลปประดิษฐ์ การพัฒนานวัตกรรมจากผลผลิตทางการเกษตรและการสร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่ผลิตภัณฑ์ในชุมชน
ดร.เจนจิรา ฝั้นเต็ม 105 การพัฒนาการท่องเที่ยวชุมชนเชิงสร้างสรรค์
นางสาวอุทัยวรรณ ประสงค์เงิน 98 การออกแบบผลิตภัณฑ์ระบบอุตสาหกรรม งานความคิดสร้างสรรค์ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ การออกแบบในเชิงนวัตกรรมและการออกแบบเพื่อมวลชน การนำวัสดุเหลือทิ้งมาแปรรูปและนำมาผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ การออกแบบผลิตภัณฑ์สำหรับงานผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ การพัฒนาบรรจุภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อม
นางสาวมยุรี เรืองสมบัติ 101 การออกแบบผลิตภัณฑ์ระบบอุตสาหกรรม งานความคิดสร้างสรรค์ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ การออกแบบในเชิงนวัตกรรมและการออกแบบเพื่อมวลชน, การออกแบบบรรจุภัณฑ์สำหรับงานผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ การพัฒนาบรรจุภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อมและ
ผศ.ดร.กิ่งกาญจน์ พิจักขณา 92 การพัฒนาบรรจุภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อมรวมและการใช้วัสดุเพื่อให้สอดคล้องกับตัวผลิตภัณฑ์ การนำวัสดุใหม่มาผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆที่ทันสมัย การออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม งานสร้างสรรค์ การพัฒนาผลิตภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อม การออกแบบในเชิงนวัตกรรมและการออกแบบเพื่อมวลชน
นางสาวพิมพ์จุฑา พิกุลทอง 108 ด้านวัสดุธรรมชาติ ออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ ออกแบบกราฟิก ออกแบบบรรจุภัณฑ์และผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ วัสดุเส้นใยธรรมชาติ การแปรรูปเส้นใยและวัสดุเหลือใช้ การออกแบบผลิตภัณฑ์จากผ้า ด้านการตลาดเชิงพาณิชย์
นางสาวสุรภา วงศ์สุวรรณ 112 การสร้างสรรค์งานออกแบบ Graphic Design / Packaging Design /Digital Printing / Communication Design / Applied Art / Product Design เช่น บรรจุภัณฑ์ สื่อสิ่งพิมพ์ Ad โฆษณาในหนังสือพิมพ์ นิตยสาร โปสเตอร์ โบร์ชัวร์ แผ่นพับ หรือในสื่อรูปแบบ E-Book และสื่อรูปแบบสื่อการเรียนการสอน E-Learning เพื่อตอบโจทย์ความต้องการของลูกค้าการขายในเชิงพาณิชย์ได้จริง
อาจารย์ปฏิวัติ ยะสะกะ 90 การออกแบบคอมพิวเตอร์กราฟิก การ์ตูนอนิเมชันสองมิติ โมเดลสามมิติ ความเป็นจริงเสมือนสามมิติ และการถ่ายภาพ
นายนุรักษ์ ไชยศรี 123 - การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ - การสร้างแอพพลิเคชั่นบน Mobile Device - การประมวลผลภาพ (Image Processing)
ดร.วิศรา ไชยสาลี 109 การวางแนวทาง วางยุทธศาสตร์การพัฒนาเชิงพื้นที่แบบมีส่วนร่วมกับชุมชน และการบริหารจัดการเทคโนโลยีสู่ชุมชน ได้แก่ เทคโนโลยีการผลิตสัตว์ เทคโนโลยีการเพาะเห็ด และเทคโนโลยีการเกษตรอื่นๆ
นายนเรศ ใหญ่วงศ์ 113 1) ที่ปรึกษา และผู้ทวนสอบ เกี่ยวกับคาร์บอนฟุตพริ้นท์ของผลิตภัณฑ์ และองค์กร , โครงการลดก๊าซเรือนกระจกภาคสมัครใจตามมาตรฐานของประเทศไทย (T-VER) 2)ที่ปรึกษาการพัฒนาระบบพลังงานแสงอาทิตย์สำหรับการผลิตไฟฟ้า การอบแห้ง และการเกษตรสมัยใหม่ 3) ที่ปรึกษาการพัฒนาการแปรรูปชีวมวลเชิงพาณิยช์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ภูธฤทธิ์ วิทยาพัฒนานุรักษ์ 74 วิชาการเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ (วิทยาศาสตร์เนื้อ การแปรรูปผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร) และเกษตรเชิงระบบ
อาจารย์วรพล วัฒนเหลืองอรุณ 113 วุฒิการศึกษาปริญญาตรี ศศ.บ. (อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว) วิทยาลัยครูฉะเชิงเทรา วุฒิการศึกษาปริญญาโท ศศ.ม. (การจัดการอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ความเชี่ยวชาญ การท่องเที่ยว การโรงแรม ด้าน การท่องเที่ยวโดยชุมชน ด้าน การบริการอาหารและเครื่องดื่ม ด้าน เทคนิคการผสมเครื่องดื่ม ด้าน การท่องเที่ยววิถีชุมชนบนพื้นฐานศาสตร์พระราชา ด้าน การบริหารทรัพยากรมนุษย์ ด้าน การเป็นที่ปรึกษาทางธุรกิจ
อาจารย์กริช สอิ้งทอง 120 วุฒิการศึกษาปริญญาตรี บธ.บ. (การจัดการ) มหาวิทยาลัยพายัพ วุฒิการศึกษาปริญญาโท ศศ.ม. (การจัดการอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ความเชี่ยวชาญ ด้าน การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ด้าน การท่องเที่ยวโดยชุมชน ด้าน การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
นายจักรพันธ์ วงศ์ฤกษ์ดี 89 การใช้เทคโนโลยีเสมือนจริง กับ ผลิตภัณฑ์
ผศ. ธวัชชัย ประหยัดวงศ์ 91 การบริหารจัดการอาคาร การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม การยกระดับการท่องเที่ยวชุมชน
อ.เยาวลักษณ์ เกิดปั้น 99 การบริหารจัดการโลจิสติกส์ การจัดการภาคอุตสาหกรรมเกษตร รบบห่วงโซ่อุปทาน ระบบโลจิสติกส์เชิงท่องเที่ยว
อ.พฤกษา ปิ่นสวาสดิ์ 88 ระบบโลจิสติกส์ การจัดการภาคอุตสาหกรรมเกษตร ระบบห่วงโซ่อุปทานทางการเกษตร ระบบโลจิสติกส์เชิงท่องเที่ยว
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.แดง แซ่เบ๊ คณะวิศวกรรมศาสตร์ 45 การผลิตเชื้อเพลิง
ดร.ปิยนารถ ศรชัย 103 การสร้างผลิตภัณฑ์เพื่อตอบโจทย์เชิงเศรษฐกิจและด้านสุขภาพ
รองศาสตราจารย์สุเพชร จิรขจรกุล 130 เทคโนโลยีสารสนเทศเชิงพื้นที่ IOT
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชลดรงค์ ทองสง 95 การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน การพัฒนาท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม การพัฒนาโครงข่ายการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
ผศ.ดร.วัฒนณรงค์ มากพันธ์ 98 1. พลังงานทดแทนจากกระบวน Fermentation 2. การจัดการขยะ 3. การจัดกระบวนการมีส่วนร่วมกับชุมชน 4. เศรษฐศาสตร์ทรัพยากรธรรมชาติและสิงแวดล้อม
ผศ.ดร.วสวัชร นาคเขียว 108 การปรับปรุงประสิทธิภาพในกระบวนการผลิต การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ในกระบวนการผลิต การทดสอบสมบัติเชิงกลของนวัตกรรมวัสดุ
ดร. พิสิฐพงษ์ อินทรพงษ์ 74 เครื่องกวน เครื่องอบลดความชื้น พลังงานจากเชื้อเพลิงชีวภาพ การลดก๊าซเรือนกระจก
ดร.บุษราคัม ป้อมทอง 79 การวิเคราะห์ความหอมและคุณค่าทางโภชนาการ และการกำหนดเอกลักษณ์ประจำพันธุ์ของข้าว พันธุ์หอมเตี้ยเพื่อนำไปสู่การอนุรักษ์และการ ส่งเสริมเชิงเศรษฐกิจ
อ.ชุมศักดิ์ ศรีบุญเรือง 98 การออกแบบและบริหารภูมิปัญญาชุมชน/การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมและแผนธุรกิจการตลาด
นายณรงค์ศักดิ์ ราวะรินทร์ 112 การนวัตกรรมภูมิปัญญา/ประวัติศาสตร์ให้มีมูลค่าเพิ่ม/เสริมการท่องเที่ยว นวัตวิถีเชิงวัฒนธรรมชุมชน
อาจารย์วิลักษณ์นาม ผลเจริญ 90 เทคโนโลการบำรุงรักษาเครื่องจักรกล,วิศวกรรมยานยนต์,พลังงานและเชื้อเพลิงทดแทน การออกแบบเครื่องจักรกลของไหล
นางสาวจินตนาภรณ์ จิกิตศิลปิน 158 1. ด้านการท่องเที่ยว มีความเชี่ยวชาญในด้านการจัดการการท่องเที่ยว การจัดการประชุม การจัดการฝึกอบรมเพื่อพัฒนาทีมงาน การจัดเส้นทางท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์และวัฒนธรรมโดยฐานภูมิปัญญาและทุนท้องถิ่น การจัดเส้นทางท่องเที่ยวโดยชุมชนสำหรับนักท่องเที่ยวชาวไทยและนักท่องเที่ยวต่างชาติ การฝึกอบรมด้านหลักการจัดการการท่องเที่ยวโดยชุมชน การฝึกอบรมหลักการนำชมสำหรับมัคคุเทศก์ท้องถิ่นภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 2. ด้านศิลปะประดิษฐ์และของที่ระลึก/งานหัตถกรรมพื้นบ้าน มีความเชี่ยวชาญด้านการพัฒนาศิลปะหัตถกรรมพื้นบ้านเป็นสินค้าการท่องเที่ยวของชุมชน
ผู้ช่วยศาสตราจารย์จิรพร มหาอินทร์ 99 การบริหารธุรกิจขนาดย่อม การวิเคราะห์ธุรกิจ การจัดการเชิงกลยุทธ์ ธุรกิจเพื่อสังคม
นางสาวภคพร สาทลาลัย 93 เคมี/ เคมีผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ การสกัดสารและน้ำมันหอมระเหย การพัฒนาผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพเชิงสร้างสรรค์จากพืชสมุนไพร, สารสกัดธรรมชาติและน้ำมันหอมระเหย
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กฤตวิชญ์ สุขอึ้ง 123 ระบบภูมิสารสนเทศ การประยุกต์ใช้ระบบภูมิสารสนเทศในการจัดการสิ่งแวดล้อมเชิงพื้นที่
ดร.ไผ่แดง ขวัญใจ 85 การพัฒนาผลิตภัณฑ์แปรรูปจากปลาทับทิมเพื่อเพิ่มมูลค่าเชิงพาณิชย์
ผศ.ซินเนีย รัติภัทร์ 85 การจัดการธุรกิจ การจัดการความรู้ การจัดการทรัพยากรมนุษย์ การจัดการเชิงกลยุทธ์ แผนธุรกิจ
ดร.เจนจิรา ฝั้นเต็ม 150 - การบริหารจัดการการท่องเที่ยว - การท่องเที่ยวเชิงชุมชน
อาจารย์ธีราภรณ์ พรหมอนันต์ 84 การเตรียมตัวเร่งปฎิกิริยาในเซลล์เชื้อเพลิง การเตรียมซิลิกาจากวัสดุธรรมชาติ เคมีวัสดุศาสตร์
ดร.บุญวัฒน์ วิจารณ์พล 100 การต่อยอดเทคโนโลยีด้านพลังงานทดแทน เพื่อจะนำไปใช้ได้จริงโดยการขยายผลของศูนย์การเรียนรู้
รศ.ดร.สุภัค มหัทธนพรรค 75 การหาสาเหตุที่แท้จริงของการเกิดโรคผลแตกผลลาย และข้อมูลของพื้นที่การระบาดโรคพืชสำคัญในลำไย แมลงศัตรูลำไยในแหล่งปลูกที่สำคัญในการผลิตลำไยส่งออกในจังหวัดพะเยาเพื่อใช้เป็นข้อมูลในการเฝ้าระวังและหาแนวทางป้องกันกำจัดโรค
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปิยชนน์ เกษสุวรรณ 91 ไมโครคอนโทรลเลอร ์ และระบบสมองกลฝังตัว, ระบบอัตโนมัติและ ระบบสมารท์, วัสดุเชิงฟิสิกส์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปิยชนน์ เกษสุวรรณ 90 ไมโครคอนโทรลเลอร์และระบบสมองกลฝังตัว, ระบบอัตโนมัติและระบบสมารท์, วัสดุเชิงฟิสิกส์
นายบรรจง อูปแก้ว 137 1. การอารักขาพืช การจัดการศัตรูพืชแบบปลอดภัยในสวนส้มสีทอง มะขาม มะม่วง ลำไย มะม่วงหิมพานต์ โกโก้ 2. เทคโนโลยีไม้ผลและไม้ดอก การจัดการด้านเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการผลิตส้มสีทอง มะขาม มะม่วง ลำไย มะม่วงหิมพานต์ โกโก้ 3. พืชผัก ผักพื้นบ้าน สมุนไพร พฤกษเคมีและภูมิปัญญาการใช้ประโยชน์จากความหลากหลายทางชีวภาพของพืชสมุนไพร พืชสมุนไพรพื้นบ้านที่สำคัญในพื้นที่ป่าชุมชน และการอนุรักษ์พันธุกรรมมันพื้นบ้าน 4. เทคโนโลยีด้านการออกแบบบรรจุภัณฑ์ ที่เหมาะสมกับสินค้าบนฐานอัตลักษณ์วิถีชีวิตของชุมชน 5. การท่องเที่ยว การพัฒนาเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศ การจัดการวิสาหกิจชุมชนเพื่อการท่องเที่ยว 6. การออกแบบภูมิทัศน์ การออกแบบและการบริหารจัดการทรัพยากรพิพิธภัณฑ์ชุมชน และการจัดการสิ่งแวดล้อม
อ.รัฐทิตยา หิรัณยหาด 110 การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ การพัฒนาการท่องเที่ยวทางสังคมและวัฒนธรรม การท่องเที่ยวเชิงนิเวศและผจญภัย การท่องเที่ยวชุมชน
ดร.วรีวรรณ เจริญรูป 128 - การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการตัดสินใจและการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลด้านการบัญชี - ระบบการคิดเชิงออกแบบ (Design Thinking) ภายใต้หลักสูตร STEAM4INNOVATOR ดำเนินการโดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) - นักกระบวนการ (Facilitator) และโค้ช (Coach) การจัดการเรียนการสอนที่มุ่งเน้นสมรรถนะการเรียนรู้ของผู้เรียน
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.แววดาว พรมเสน 153 - งานวิจัยเชิงปริมาณ - ผู้ช่วยจัดกระบวนกร (Facilitator) - การบัญชี
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชไมพร รัตนเจริญชัย 97 - การบัญชี - การเงินธุรกิจ - การบริหารต้นทุนเชิงกลยุทธ์ - การประเมินโครงการลงทุน
ดร.ปวีรัฐ ภักดีณรงค์ 93 มีความเชี่ยวชาญด้านแนวทางการจัดการ การเพิ่มประสิทธิภาพ การวิเคราะห์และสังเคราะห์ศักยภาพ การลำดับความสำคัญ ความสัมพันธ์เชิงสาเหตุ
อาจารย์รสสุคนธ์ แย้มทองคำ 89 การท่องเที่ยวชุมชน การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเชิง อนุรักษ์ - พัฒนาผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น - บรรจุภัณฑ์ - การตลาด
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ดลพร ศรีฟ้า 104 เทคโนโลยีความจริงเสมือน, ความจริงเสริม, การถ่ายภาพใต้น้ำ
รองศาสตราจารย์ ดร.ฟ้ารุ่ง สุรินา บุญทิศ 108 ดาราศาสตร์ การดูดาว ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงดาราศาสตร์ อบรมมัคคุเทศก์ชุมชนให้เป็นนักเล่าเรื่องดาวดาว การประยุกต์ใช้ดาราศาสตร์ในเรื่องต่าง ๆ เช่น การตลาด ผลิตภัณฑ์ ฯลฯ
อาจารย์ ดร.ธารนี นวัสนธี 92 การจัดการการท่องเที่ยว การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์
นางสาววิจิตรา อมรวิริยะชัย 100 1.การผลิตพืช -การขยายพันธุ์พืช -การผลิตปุ๋ยหมักชีวภาพและสารชีวภัณฑ์ 2.การพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน -การเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ -การวิเคราะห์ตลาดและแผนธุรกิจ -การพัฒนาบรรจุภัณฑ์ 3.การทำงานวิจัยเชิงพื้นที่ปฏิบัติการชุมชน -การจัดเวทีการประชุมโดยการมีส่วนร่วม -การดำเนินการโครงการด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม -การจัดกระบวนการถอดบทเรียน
ดร.วันทกาญจน์ สีมาโรฤทธิ์ 84 การจัดการท่องเที่ยว ธุรกิจการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ
อ.วรรณา คำปวนบุตร 96 การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ
ผศ.ดร.อัจฉริยา อิสสระไพบูลย์ 99 การท่องเที่ยวเชิงสุขภาวะ สมุนไพรในชุมชน การบริหารจัดการชุมชน การจัดการองค์กรส่วนท้องถิ่น
อาจารย์พจน์ศิรินทร์ ลิมปินันทน์ 88 มัลติมีเดียและแอนิเมชั่น การส่งเสริมแหล่งท่องเที่ยวโดยใช้เทคโนโลยีเสมือนจริง Augmented Reality (AR)
อาจารย์จิราณี พันมูล 92 การจัดการการท่องเที่ยว การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์
อาจารย์จง แซ่สง 120 การจัดการการท่องเที่ยว การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์
ผศ.วิภาดา มุนินทร์นพมาศ 95 ดำเนินการโครงการกับวว และสปอว.ตั้งแต่ปี 2560-2566 อย่างต่อเนื่องจนถึงปัจจุบันโดยทำการพัฒนาและยกระดับกลุ่มวิสาหกิจชุมชนในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนใต้ต้านต่าง ๆ ดังนี้ 1.ด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์ - ปี 2560 พัฒนาผลิตภัณฑ์ส้มแขกสามรส น้ำส้มแขกเข้มข้น และน้ำพริกเผาส้มแขก ให้กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรบ้านท่าสาป เลขที่ 79 บ้าน ท่าสาป อ.เมือง จ.ยะลา 95000 (สนับสนุนโดยสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ;วว.) - ปี 2561 การพัฒนาผลิตภัณฑ์ขนมรังผึ้งและวาฟเฟิล ให้นายองอาจ สายวารี ที่อยู่ บ้านเลขที่ 54 ถนน อนุสรณ์มหาราช ตำบล สะเตง อำเภอเมือง จังหวัดยะลา 95000 โทรศัพท์ 093-6808573 (สนับสนุนโดยสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ;วว.) - ปี 2562 พัฒนาผลิตภัณฑ์ข้าวแต๋นหน้ากล้วยหินตากเคลือบช็อกโกแลต กลุ่มสตรีบ้านเงาะกาโปร์ บ้านเลขที่ 63/1 ถนน สุขยางค์ ตำบล บันนังสตา อำเภอ นันนังสตา จังหวัดยะลา 95130 (สนับสนุนโดยคูปองวิทย์ ปี 2562) -ปี 2564 พัฒนาผลิตภัณฑ์เปลือกมะนาวสามรสให้กับกลุ่มวิสาหกิจชุมชนกลุ่มมะนาวสร้างตนเอง อ.โคกโพธิ์ จ.ปัตตานี (สนับสนุนโดยคูปองวิทย์เพื่อโอทอป ปี 64) - ปี 2564 พัฒนาผลิตภัณฑ์น้ำลองกองผสมน้ำอัญชันเสริมคอลลาเจนแคลลอรี่ต่ำและลองกองหยีให้กับกลุ่มวิสาหกิจแปรรูปผลไม้บ้านเชิงเขา อ.บาเจาะ จ.นราธิวาส (สนับสนุนโดยคูปองวิทย์เพื่อโอทอป ปี 64) - ปี 2566 การพัฒนาผลิตภัณฑ์แกงไตปลาแห้งและน้ำพริกแกงไตปลาเจเพื่อส่งเสริมการตลาดให้กับกลุ่มวิสาหกิจชุมชนน้ำพริกแม่ผัว อ.เมือง จ.ยะลา (สนับสนุนโดยสปอว.2566) 2.พัฒนาฉลากและบรรจุภัณฑ์ - ปี 2560 การพัฒนาบรรจุภัณฑ์ผลิตภัณฑ์ธัญพืชบด กลุ่มแปรรูปผลิตภัณฑ์การเกษตร ตำบลตาชี อำเภอยะหา จังหวัดยะลา (สนับสนุนโดยสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ;วว.) - ปี 2561 การพัฒนาฉลากและบรรจุภัณฑ์ผลิตภัณฑ์ขนมรังผึ้งและวาฟเฟิล ให้นายองอาจ สายวารี ที่อยู่ บ้านเลขที่ 54 ถนน อนุสรณ์มหาราช ตำบล สะเตง อำเภอเมือง จังหวัดยะลา 95000 โทรศัพท์ 093-6808573 (สนับสนุนโดยสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ;วว.) -ปี 2464 พัฒนาฉลากและบรรจุภัณฑ์ผลิตภัณฑ์เปลือกมะนาวสามรสให้กับกลุ่มวิสาหกิจชุมชนกลุ่มมะนาวสร้างตนเอง อ.โคกโพธิ์ จ.ปัตตานี (สนับสนุนโดยคูปองวิทย์เพื่อโอทอป ปี 64) - ปี 2564 3.พัฒนามาตรฐาน - ปี 2560 ขอมาตรฐานอย.จนได้รับรองมาตรฐานให้กับผลิตภัณฑ์ธัญพืชบด กลุ่มแปรรูปผลิตภัณฑ์การเกษตร ตำบลตาชี อำเภอยะหา จังหวัดยะลา (สนับสนุนโดยสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ;วว.) - ปี 2562 ขอมาตรฐานอย.อาคารผลิตจนได้รับรองมาตรฐานในผลิตภัณฑ์ข้าวแต๋นหน้ากล้วยหินตากเคลือบช็อกโกแลต กลุ่มสตรีบ้านเงาะกาโปร์ บ้านเลขที่ 63/1 ถนน สุขยางค์ ตำบล บันนังสตา อำเภอ นันนังสตา จังหวัดยะลา 95130 (สนับสนุนโดยคูปองวิทย์ ปี 2562) - ปี 2565 ขอมาตรฐานอย.จนได้รับรองมาตรฐาน อาคารผลิต ผลิตภัณฑ์มะนาวสามรส ผลิตภัณฑ์น้ำมะนาวผสมน้ำผึ้งบรรจุขวดให้กับกลุ่มวิสาหกิจชุมชนกลุ่มมะนาวสร้างตนเอง อ.โคกโพธิ์ จ.ปัตตานี (สนับสนุนโดยคูปองวิทย์เพื่อโอทอป ปี 2565) 4.พัฒนากระบวนการผลิต - ปี 2565 พัฒนากระบวนการผลิตน้ำมะนาวผสมน้ำผึ้งบรรจุขวดให้กับกลุ่มวิสาหกิจชุมชนมะนาวสร้างตนเอง 16/5 บ้านโพธิ์ หมู่ 2 ถนนเพรชเกษม ต.มะกรูด อ.โคกโพธิ์ จ.ปัตตานี (สนับสนุนโดยคูปองวิทย์เพื่อโอทอป ปี 65)
มิยอง ซอ 95 การออกแบบผลิตภัณฑ์ การออกแบบระบบสี ออกแบบบรรจุภัณฑ์เชิงนิเวศ วัสดุธรรมชาติเพื่่อใช้ในงานออกแบบผลิตภัณฑ์
นางนิตยา เอกบาง 89 การส่งเสริมงานด้านวัฒนธรรม การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม การจัดการขยะชุมชน
ผศ.ดร.สราวุธ ประเสริฐศรี 41 การแปรรูปผลิตภัณฑ์ยางจากน้ำยางและยางแห้ง การแปรรูปผลิตภัณฑ์ยางเชิงพาณิชย์
ดร.พุทธพร บุณณะ 89 การจัดการธุรกิจเกษตรเพื่อการท่องเที่ยว การจัดการตลาดท่องเที่ยวเชิงเกษตร การนำเที่ยวเชิงเกษตร การพัฒนาผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร สุขภาวะแบบองค์รวม ผู้ดำเนินการสปา Spa Manager
อาจารย์กนกวรรณ แก้วอุไทย 85 การจัดการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน ทรัพยากรสัตว์ป่า การจัดการท่องเที่ยวเชิงเกษตร
ผศ.สุทธิณี พรพันธ์ไพบูลย์ 93 โมเดลการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ การสื่อความหมายชุมชน ในระดับสากล เกณฑ์การประเมินการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพระดับอาเซียน
นางณวพร สังทอง 107 ยาดมสมุนไพรการใช้สมุนไพรพื้นบ้านมาผสมยาดมแก้อาการวิงเวียน
นายพัดยศ เพชรวงษ์ 82 - นวัตกรรมทางการท่องเที่ยว - การท่องเที่ยวเชิงวิถีชุมชน - การจัดกิจกรรมนันทนาการเพื่อการท่องเที่ยว - กฎหมายและจรรยาบรรณทางการท่องเที่ยว
ดร.วีรภรณ์ โตคีรี 91 การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน การท่องเที่ยวและการบริการ การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์
ดร.ชัยณรงค์ รัตนกรีฑากุล 89 1.จดอนุสิทธิบัตร "สูตรผสมสำหรับ ผลิตภัณฑ์สารสกัดสมุนไพร ชนิดสารเข้มข้นแขวนลอย" 2. จดลิขสิทธิ์ ปี 2011 จำนวน 4 เรื่อง "สินค้าคุณภาพจากแปลงสู่ผู้บริโภค" "การประเมินความเสี่ยงเป็นการเตรียมระบบ GAP ให้พร้อมกับสิ่งที่เกิดขึ้น" "การระมัดระวังระหว่างการใช้สารเคมี" "สุขอนามัยระหว่างการเก็บเกี่ยว" 3. งานวิจัยที่เป็นการรายงานครั้งแรกของประเทศไทยที่พบว่า เชื้อสาเหตุโรคกิ่งแห้งของทุเรียนเป็นเชื้อรา Fusarium incarnatum และ F. solani ไม่ใช่เชื้อรา Phytophthora palmivora ตามที่นักวิชาการหลายท่านเข้าใจ รวมทั้งพบว่าเชื้อรา Phytopythium vexans สามารถเข้าทำลายทุเรียน และทำให้เกิดโรครากเน่าโคนเน่าได้เช่นเดียวกับ P. palmivora และได้แนะนำสารเคมีป้องกันกำจัดเชื้อราชนิดที่ควบคุมได้ทั้งเชื้อรา Fusarium, Phytophthora, Phytopythium และ Pythium โดยเกษตรกรไม่จำเป็นต้องสิ้นเปลืองซื้อสารเคมีหลายชนิดมาผสมเองเพราะสาเหตุที่แท้จริงของโรคกิ่งแห้งนั้นเกิดจากเชื้อรา Fusarium solani และ F. incarnatum มิได้เกิดจากเชื้อรา Phytophthora palmivora และได้แนะนำสารเคมีที่มีประสิทธิภาพในการควบคุมโรคกิ่งแห้งซึ่งสามารถควบคุมเชื้อรา Phytophthora palmivora สาเหตุโรครากเน่าโคนเน่าของทุเรียนได้อีกด้วย โดยจำเป็นต้องระมัดระวังการใช้สารเคมี benzimidazoles มากยิ่งขึ้น เนื่องจากเชื้อราสาเหตุเกิดการต้านทานได้ 4. หาความแตกต่างของสารประกอบบนผิวมะม่วงที่ได้รับสารกลุ่ม salicylic เพื่อกระตุ้นความต้านทานโรคแอนแทรคโนส จากงานวิจัยการกระตุ้นความต้านทานการเกิดโรคในมะม่วงหลังการเก็บเกี่ยว
ดร.วาณี ชนเห็นชอบ 80 1. ความสามารถของภาชนะบรรจุเพื่อการขนส่งในการปกป้องผลิตผลเกษตร 2. การพัฒนาฟิล์มเพื่อยืดอายุและรักษาคุณภาพผลิตผลเกษตร (ร่วมกับศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ) 3. รางวัลชนะเลิศ สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ "อุปกรณ์เพิ่มความแม่นยำในการวิเคราะห์อะฟลาทอกซิน บี 1" และรางวัลผลงานประดิษฐ์คิดค้น KU-AF2 : คอลัมน์ขจัดสิ่งรบกวนสำหรับการวิเคราะห์อะฟลาทอกซิน " จากโครงการวิจัย การเพิ่มศักยภาพของชุดตรวจสอบสารพิษเชื้อราซีราลีโนนและอิมมูโนแอฟฟินิตีคอลัมน์สำหรับอะฟลาทอกซินเพื่อการผลิตเชิงพาณิชย์
ดร.กิตติพงษ์ ลาลุน 49 ด้านพลังงานชีวมวล เช่น เครื่องอัดเม็ดชีวมวลจากใบอ้อย การผลิตถ่านอัดแท่ง การผลิตน้ำมันเชื้อเพลิงจากวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร
ผศ. ดร.ป๋วย อุ่นใจ 88 ชีวฟิสิกส์ อณูชีววิทยา ชีววิทยาเชิงโครงสร้าง ชีววิทยาระดับเซลล์ เทคโนโลยีชีวภาพ
ดร.ทิพย์สุดา ไชยไพบูลย์วงศ์ 67 สแกนนิงโพรบไมโครสโครสโกปีเพื่องานวิจัยด้านออปติกส์สนามระยะใกล้
ดร.ธเนศ พฤทธิวรสิน 85 นาฬิกาอะตอมเชิงแสงสำหรับมาตรฐานความถี่ของประเทศไทย
ดร.ธารา เฉลิมทรางศักดิ์ 68 นาฬิกาอะตอมเชิงแสงสำหรับมาตรฐานความถี่ของประเทศไทย
ดร.นพดล นันทวงศ์ 66 การพัฒนาระบบเคลือบแข็งยิ่งยวดด้วยเทคนิคการตกสะสมด้วยไอออนเชิงกายภาพบนอุปกรณ์ตัดเฉือน
Mr. Naritchaphan Penpondee 62 กาศึกษาสภาพนำไฟฟ้าเชิงแสงและการสั่นของพาสมาบนผิวแผ่นกราฟีนบางสำหรับการเปล่งคลื่นความถี่ย่านเทร่าเฮิรตซ์
Mr. Michael Rhodes 67 การพัฒนาระบบเครื่องเร่งอิเล็กตรอนเชิงเส้นสำหรับปรับปรุงวัสดุและการวัลคาไนซ์ยางธรรมชาติ
ผศ.ดร.อาทิตย์ ฉิ่งสูงเนิน 59 การพัฒนาระบบเคลือบแข็งยิ่งยวดด้วยเทคนิคการตกสะสมด้วยไอออนเชิงกายภาพบนอุปกรณ์ตัดเฉือน
Mr. Charndet Hruanun 62 กาศึกษาสภาพนำไฟฟ้าเชิงแสงและการสั่นของพาสมาบนผิวแผ่นกราฟีนบางสำหรับการเปล่งคลื่นความถี่ย่านเทร่าเฮิรตซ์
นายวิทวัช วงศ์พิศาล 78 การพัฒนาระบบเคลือบแข็งยิ่งยวดด้วยเทคนิคการตกสะสมด้วยไอออนเชิงกายภาพบนอุปกรณ์ตัดเฉือน
ดร.ปกรณ์ ปรีชาบูรณะ 72 สแกนนิงโพรบไมโครสโครสโกปีเพื่องานวิจัยด้านออปติกส์สนามระยะใกล้
ดร.ปิยพัฒน์ พูลทอง 82 นาฬิกาอะตอมเชิงแสงสำหรับมาตรฐานความถี่ของประเทศไทย
ดร.พิทักษ์ เอี่ยมชัย 70 การพัฒนาระบบเคลือบแข็งยิ่งยวดด้วยเทคนิคการตกสะสมด้วยไอออนเชิงกายภาพบนอุปกรณ์ตัดเฉือน
ดร.พิทักษ์ เอี่ยมชัย 65 การพัฒนาระบบเคลือบแข็งยิ่งยวดด้วยเทคนิคการตกสะสมด้วยไอออนเชิงกายภาพบนอุปกรณ์ตัดเฉือน
ดร.ภาสรี เล้ากิจเจริญ 81 การพัฒนาระบบเครื่องเร่งอิเล็กตรอนเชิงเส้นสำหรับปรับปรุงวัสดุและการวัลคาไนซ์ยางธรรมชาติ
ดร.ศรายุทธ ตั้นมี 83 การพัฒนาระบบเคลือบแข็งยิ่งยวดด้วยเทคนิคการตกสะสมด้วยไอออนเชิงกายภาพบนอุปกรณ์ตัดเฉือน
ดร.หทัยทิพย์ ชาชิโย 78 การศึกษาเชิงทฤษฎีของอะตอมริดเบอร์ก อันตรกิริยากับอะตอมสถานะพื้นและการแทรกสอดในสนามแม่เหล็ก
Dr.Stefan Schreier 57 วิธีเชิงบูรณาการเพื่อการพัฒนาวิธีตรวจวัดแอนติโนเจนโดยอาศัยอนุภาคไมโครและนาโน แบบจำลองการแพร่กระจายโรคติดเชื้อและแบบจำลองการดื้อยาปฏิชีวนะ
ผศ.ดร. ยุรนันท์ หาญลำยวง 62 การศึกษาสมบัติแม่เหล็กและเชิงกายภาพของสารประกอบความร้อนเชิงแม่เหล็กในกล่มแทงกาไนต์ (LaMnO3)และการพัฒนาผลิตภัณฑ์ต้นแบระบบทำความเย็น
ผศ.ดร.คมศิลป์ โคตมูล 60 การพัฒนาสมบัติเชิงแม่เหล็กไฟฟ้าและสมบัติเชิงกลของวัสดุต้นแบบเซลล์แสงอาทิตย์อุบัติใหม่และวัสุกักเก็บไฮโดรเจนโดยเทคนิคสภาวะรุนแรง
ผศ.ดร.นวพันธ์ ขยันกิจ 60 ฟิสิกส์นวัตกรรมด้วยวัสดุนาโนซิงค์ออกไซด์เพื่อการเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ทาง การเกษตร
ผศ.ดร.ปรเมษฐ์ จันทร์เพ็ง 69 การพัฒนาระบบเคลือบแข็งยิ่งยวดด้วยเทคนิคการตกสะสมด้วยไอออนเชิงกายภาพบนอุปกรณ์ตัดเฉือน
ผศ.ดร.ยอดชาย จอมพล 85 กาศึกษาสภาพนำไฟฟ้าเชิงแสงและการสั่นของพาสมาบนผิวแผ่นกราฟีนบางสำหรับการเปล่งคลื่นความถี่ย่านเทร่าเฮิรตซ์
ผศ.ดร.สาคร ริมแจ่ม 70 การพัฒนาระบบเครื่องเร่งอิเล็กตรอนเชิงเส้น
ผศ.ดร.สุทัศนา ณ พัทลุง 81 การศึกษาโลหะออกไซด์และโลหะซํลไฟล์เชิงคำนวณสำหรับอุปกรณ์อิเล็กส์ทรอนิกส์ยุคใหม่
ผศ.ดร.อดิเรก แรงกสิกรณ์ 59 ฟิสิกส์นวัตกรรมด้วยวัสดุนาโนซิงค์ออกไซด์เพื่อการเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ทาง การเกษตร
รศ.ดร.จริญาณี ประสงค์กิจ 52 การศึกษาโลหะออกไซด์และโลหะซํลไฟล์เชิงคำนวณสำหรับอุปกรณ์อิเล็กส์ทรอนิกส์ยุคใหม่
รศ.ดร.จริญาณี ประสงค์กิจ 67 การศึกษาโลหะออกไซด์และโลหะซํลไฟล์เชิงคำนวณสำหรับอุปกรณ์อิเล็กส์ทรอนิกส์ยุคใหม่
รศ.ดร.ประยูรศักดิ์ เปลื้องผล 79 สมบัติเชิงโครงสร้างะเชิงอิเล็กทรอนิกส์ของเมทิลแอมโมเนียเลดไอโอไดด์เพอรอฟสไกต์ภายใต้ความดันสูง
รศ.ดร.พรจักร ศรีพัชราวุธ 77 การจำลองแบบเพื่อการเพิ่มประสิทธิภาพการแปลงพลังงานแสงอาทิตย์และเสถียรภาพเชิงโครงสร้างจองสารกึ่งตัวนำCH3NH3Pb1-xSnx(Br,Cl)y)3 และ CsSnxPb1-xI3 ในเซลล์แสงอาทิตย์ชนิดเพอรอฟสไกต์
รศ.ดร.ภาคภูมิ เรือนจันทร์ 66 การศึกษาโลหะออกไซด์และโลหะซํลไฟล์เชิงคำนวณสำหรับอุปกรณ์อิเล็กส์ทรอนิกส์ยุคใหม่
รศ.ดร.สุธี ชุติไพจิตร 82 ฟิสิกส์นวัตกรรมด้วยวัสดุนาโนซิงค์ออกไซด์เพื่อการเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ทาง การเกษตร
รศ.ดร.อดิศักดิ์ บุญชื่น 78 การศึกษาโลหะออกไซด์และโลหะซํลไฟล์เชิงคำนวณสำหรับอุปกรณ์อิเล็กส์ทรอนิกส์ยุคใหม่
รศ.ดร.ทีปานีส ชาชิโย 86 การศึกษาเชิงทฤษฎีของอะตอมริดเบอร์ก อันตรกิริยากับอะตอมสถานะพื้นและการแทรกสอดในสนามแม่เหล็ก
รศ.ดร.ราชธีร์ เตชไพศาลเจริญกิจ 67 การศึกษาสมบัติแม่เหล็กและเชิงกายภาพของสารประกอบความร้อนเชิงแม่เหล็กในกล่มแทงกาไนต์ (LaMnO3)และการพัฒนาผลิตภัณฑ์ต้นแบระบบทำความเย็น
รศ.ดร.วีรชัย ชัยวรพฤกษ์ 70 การศึกษาสมบัติแม่เหล็กและเชิงกายภาพของสารประกอบความร้อนเชิงแม่เหล็กในกล่มแทงกาไนต์ (LaMnO3)และการพัฒนาผลิตภัณฑ์ต้นแบระบบทำความเย็น
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นัจภัค สุขสวัสดิ์ 84 มีประสบการณ์ถ่ายทอดเทคโนโลยีเรื่องการแปรรูปวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรในระดับจังหวัดฉะเชิงเทรา 2 ครั้งให้กับกลุ่มเกษตรกร และเรื่องการใช้ประโยชน์ไผ่ไม้เศรษฐกิจในระดับตำบลของจังหวัดชลบุรี จังหวัดสุรินทร์ จังหวัดยโสธร และจังหวัดกาญจนบุรี ให้กับกลุ่มเกษตรกรรมทั้งเจ้าหน้าที่ภาครัฐ เช่น กรมพัฒนาชุมชน สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด และสำนักงานเกษตรกร เป็นผู้ช่วยศาสตราจารย์ด้านวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมและมีงานวิจัยตีพิมพ์เผยแพร่ด้าน Agricultural waste treatment and utilization
ผศ.ดร.สุนทรีย์ วิพัฒครุฑ 62 การพัฒนานวัตกรรมผลิตภัณฑ์เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มสู่เชิงพาณิชย์
อาจารย์ ดร.วศิน ประดิษฐ์ศิลป์ 75 Soft Power, การสื่อสารเชิงกลยุทธ์, การตลาดและการสร้างแบรนด์
อาจารย์ โอปอลล์ รังสิมันตุชาติ 28 เทคโนโลยีการจัดการชุมชนและการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์
นายไกรสร วงษ์ปู่ 37 -การออกแบบแม่พิมพ์พลาสติก -การบำรุงรักษาโรงงาน การบำรุงรักษาเชิงป้องกัน -การลดการสูญเสียและการเพิ่มผลิตภาพในสถานประกอบการ
อาจารย์ณัฐพงศ์ ชัยภักดี 33 เคมีอินทรีย์, อาหารเพื่อสุขภาพที่มีส่วนผสมของสมุนไพรวงศ์ขิง
นายวทัญญู ศรีไสว 30 ความเชี่ยวชาญด้านสมุนไพร ยาหม่อง เพื่อบรรเทาอาการแมลงสัตย์กัดต่อย หน้ามือดวิงเวียน คัดจมูกเนื่องจากหวัด
นางสาวกัลยา พงสะพัง 46 การวิเคราะห์และการเขียนแผนธุรกิจ ธุรกิจเพื่อสังคม การบริหารจัดการองค์การ การออกแบบผลิตภัณฑ์ การจัดการการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ การผลิตสารสกัดและผลิตภัณฑ์สารสกัดในเชิงการค้า
ดร.จิรพรรณ สัจจารักษ์ 29 1. ชีววิทยาและวงจรชีวิต (Life cycle) ของปลิงทะเล 2. การคัดเลือกพ่อแม่พันธุ์และเทคนิคการกระตุ้นให้ปลิงปล่อยเซลล์สืบพันธุ์ ๓. การผสมเซลล์สืบพันธุ์และเพาะฟักลูกปลิงระยะวัยอ่อน 4. เทคนิคการอนุบาลลูกปลิงระยะว่ายน้ำ 5. เทคนิคการอนุบาลลูกปลิงระยะลงเกาะ 6. การเตรียมน้ำและการจัดการคุณภาพน้ำสำหรับการอนุบาลและการเลี้ยงปลิงทะเลระยะวัยรุ่น 7. เทคนิคและวิธีการบรรจุและขนส่งลูกพันธุ์ปลิงทะเล 8. เทคนิคการบรรจุและการขนส่งพ่อแม่พันธุ์ปลิงทะเล
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธีญาภรณ์ แก้วทวี 35 - เทคนิคและวิธีการสร้างอาหารมีชีวิตสำหรับอนุบาลปลิงทะเลระยะวัยอ่อน - วิธีการเพาะเลี้ยงสาหร่ายทะเลเพื่อเป็นวัตถุดิบสำหรับผลิตอาหารปลิงทะเล - เทคนิคและวิธีการเตรียมบ่อเลี้ยง และการจัดการระหว่างเลี้ยงปลิงทะเลในบ่อดิน - เทคนิคและวิธีการแปรรูปด้วยวิธีการตากแห้ง และการเก็บรักษาปลิงทะเลตากแห้งเพื่อจำหน่าย
ศาสตราจารย์ ดร.การุณ ทองประจุแก้ว 32 - เทคนิคและวิธีการตรวจสอบพฤติกรรมของปลิงทะเลที่จะปล่อยเซลล์สืบพันธุ์หลังการกระตุ้น - เทคนิคและวิธีการตรวจสอบความสมบูรณ์และพัฒนาการของลูกปลิงระยะวัยอ่อน
ดร.นัทท์ นันทพงศ์ 27 เทคนิคและวิธีการผลิตและผสมวัตถุดิบอาหารสำหรับปลิงทะเลในบ่อดิน
อาจารย์ ทับทิม เป็งมล 36 วุฒิการศึกษาปริญญาตรี ศศบ.อุตสาหกรรมท่องเที่ยว วุฒิการศึกษาปริญญาโท ศศม.การจัดการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน วุฒิการศึกษาปริญญาเอก ปรด.พัฒนาการท่องเที่ยว (กำลังศึกษา) ความเชี่ยวชาญ การพัฒนาและการจัดการท่องเที่ยวแบบยั่งยืน เส้นทางเดินป่า การท่องเที่ยว โดยชุมชน การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม การท่องเที่ยวเชิงเกษตร วัฒนธรรมกลุ่มชาติพันธุ์ การแปรรูป ผลิตผลทางการเกษตรในระบบครัวเรือน การผสมเครื่องดื่ม
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อีลีหย๊ะ สนิโซ 31 เทคโนโลยีการแปลงขยะเป็นพลังงาน, เทคโนโลยีการอบแห้งวัสดุอาหารและผลผลิตการเกษตร, พลังงานที่ผลิตไฟฟ้าขนาดจิ๋ว, การนำชีวมวลมาใช้เป็นเชื้อเพลิงทดแทน, การผลิตไบโอแก๊สจากขยะอินทรีย์ในครัวเรือน
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อีลีหย๊ะ สนิโซ 46 เทคโนโลยีการแปลงขยะเป็นพลังงาน, เทคโนโลยีการอบแห้งวัสดุอาหารและผลผลิตการเกษตร, พลังงานที่ผลิตไฟฟ้าขนาดจิ๋ว, การนำชีวมวลมาใช้เป็นเชื้อเพลิงทดแทน, การผลิตไบโอแก๊สจากขยะอินทรีย์ในครัวเรือน
อาจารย์ ดร.นฤมล รักไชย 33 การผลิตไซรัปจากข้าวช่อขิง ด้วยเทคโนโลยีชีวภาพ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปิยลักษณ์ โพธิวรรณ์ 26 ความเชี่ยวชาญ : การบริหารต้นทุนเชิงกลยุทธ์และการเขียนแผนธุรกิจ
ดร.ภูวนารถ ศรีทอง 114 มีประสบการณ์ด้านการจัดกการท่องเที่ยวทั้งภาคทฤษฏีและการปฏิบัติงานในสาขาการท่องเที่ยว การโรงแรม และบริการ