นางสาววราภรณ์ แพงป้อง 113 การออกแบบสร้างคอลเลคชั่นเครื่องประดับ การออกแบบบรรจุภัณฑ์ การออกแบบผลิตภัณฑ์สำหรับงานอุตสาหกรรม , การออกแบบเครื่องประดับ , การออกแบบบรรจุภัณฑ์
นางชินีเพ็ญ มะลิสุวรรณ 107 การพัฒนาอาหารในรูปแบบใหม่ บรรจุภัณฑ์ที่สะดวกต่อการขนส่ง การใช้สื่อเพื่อการตลาด
ดร.รณกร สร้อยนาค 104 ด้านการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต การยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์/ระบบมาตรฐาน บริการปรึกษาแนะนำการจัดทำระบบ GMP การวิจัย และพัฒนาผลิตภัณฑ์การแปรรูปอาหารทุกประเภท
ภัทรวดี เอียดเต็ม 105 พัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร, ยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์และสถานประกอบการ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์เมธ์วดี พยัฆประโคน 131 ออกแบบผลิตภัณฑ์หัตถกรรม แบ่งเป็น 3 ประเภท คือ 1. ของใช้ (ผลิตภัณฑ์สินค้าแฟชั่น ได้แก่ หมวก กระเป๋า เสื้อผ้า เครื่องประดับ รองเท้า , 2 ของที่ระลึก โดยพัฒนาต่อยอดจากอัตลักษณ์ชุมชน และ 3 ของประดับบ้าน (ผลิตภัณฑ์เฟอร์นิเจอร์ไทย เช่น ตู้ โต๊ะ ตั่ง และของประดับบ้าน เช่น ชุดเครื่องใช้บนโต๊ะอาหาร หมอนอิง เสื่อกก) เป็นต้น
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ปรารถนา ศิริสานต์ 105 ออกแบบและดีไซน์สื่อประชาสัมพันธ์, ออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม, ออกแบบผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น, graphic, ออกแบบบรรจุภัณฑ์, Design
อาจารย์สุรินทราพร ชั่งไชย 101 วิศวกรรมอาหาร การออกแบบเครื่องจักรกลอาหาร กระบวนการแปรรูปอาหารและการยืดอายุการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์ การออกแบบโรงงานอาหาร การวางแผนกระบวนการผลิตอาหาร มาตรฐานความปลอกภัยของอาหารในระดับสากล การประเมินคุณภาพอาหารและผลผลิตทางการเกษตรทางคุณสมบัติทางกายภาพและเคมี และเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว
นางสาวนุชเนตร ตาเยีะ 109 พัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร ยกระดับสถานประกอบการ ิวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร มาตรฐานฮาลาล แปรรูปข้าว
นายศรันย์ คัมภีร์ภัทร 112 ระบบสื่อสารทั้งแบบมีสายและไร้สาย ด้านออกแบบฐานข้อมูลขั้นสูงและ Data Warehouse ด้านปัญญาประดิษฐ์ และพัฒนาอุปกรณ์ด้าน IOT
อาจารย์จันทร์เพ็ญ บุตรใส 116 1. กฎหมายอาหารและมาตรฐานอาหาร 2.การยกระดับคุณภาพมาตรฐานผลิตภัณฑ์อาหาร อย. /มผช./ GMP/ Primary GMP 3.การสุขาภิบาลโรงงานและกฎหมายอาหาร 4.การแปรรูปผลิตภัณฑ์อาหาร 5.เทคโนโลยีผัก และผลไม้ 6.จุลชีววิทยาอาหาร
อาจารย์ อภิชาติ สุวรรณชื่น 70 งานศิลปะประดิษฐ์ การจัดดอกไม้สด งานมัดย้อมผ้า งานใบตอง การแกะสลักผักผลไม้ งานดอกไม้ประดิษฐ์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ภัทรานิษฐ์ สิทธินพพันธ์ 130 1. เป็นที่ปรึกษาและดำเนินงานในโครงการวิถีไทยก้าวไกลสู่แฟชั่น (Thailand Grand living) กิจกรรม การยกระดับการออกแบบผลิตภัณฑ์สิ่งทอและเครื่องนุ่งหมเชิงสร้างสรรค์ ให้กับสถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ ในฐานะนักออกแบบพัฒนาภาคใต้ 2. ปรึกษาโครงการที่ปรึกษาเพื่อยกระดับผลิตภัณฑ์หนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOP) ให้มีศักยภาพทางตลาด ด้วยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม 3. ที่ปรึกษาโครงการที่ปรึกษาเพื่อยกระดับผลิตภัณฑ์หนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOP) ให้มีศักยภาพทางตลาด ด้วยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมประเภท ผ้าและเครื่องแต่งกาย ของใช้ ของตกแต่ง และของที่ระลึกพื้นที่ภาคกลางและภาคใต้ประจำปี พ.ศ. 2559 ดำเนินการในพื้นที่ กลุ่มภาคกลาง ชื่อกลุ่ม กลุ่มแม่บ้านทหารเรือ จังหวัดชลบุรี ผลิตภัณฑ์ ประเภทเครื่องแต่งกายและของใช้ ชื่อกลุ่ม กลุ่มปักผ้าด้นมือ (U-THONG QUILTS) ผลิตภัณฑ์ ประเภทของใช้เคหะสิ่งทอ 4. ที่ปรึกษาโครงการพัฒนาและยกระดับสินค้าOTOP ด้วยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม ประเภทผ้าฯ และของใช้ (6 สถานประกอบการ)พื้นที่จังหวัดนราธิวาส) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2561 FC2 (ผ้า1) วิสาหกิจชุมชน กลุ่มผ้าคลุมผมสตรีบ้านลาเวง FC3(ผ้า2) วิสาหกิจชุมชน กลุ่มขัดจักรบ้านกาวะ FC8 (ผ้า5) วิสาหกิจชุมชน กลุ่มเสื้อผ้ามุสลิมบ้านรานอ
ผศ.กรณัท สุขสวัสดิ์ 113 "1. สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีและนวัตกรรม การพัฒนาและการสร้างคุณค่าเพิ่มมูลค่า 2. ขบวนการย้อมสีธรรมชาติที่เป้นมิตรกับสิ่งแวดล้อม การพัฒนาผลิตภัณฑ์เคหะสิ่งทอฯ 3.การพัฒนาและยกระดับผลิตภัณฑ์จากปาล์ม ตลอดจนนวัตกรรมเพื่อการแปรรูปผลิตภัณฑ์สิ่งทอฯ และยกระดับผลิตภัณฑ์ OTOP จังหวัดปทุมธานี"
นายพินิจนันท์ รุทธนานุรักษ์ 109 ขบวนการทางการฉายรังสีลงบนโพลีเมอร์เพื่อย่อยสลาย ผลิตผลทางการเกษตร สารหรือวัสดุอินทรีย์ เช่น เมล็ดข้าวและใยสับปะรด แล้วใช้ขบวนการทาง XRD เพื่อวิเคราะห์โครงสร้างของวัสดุหลังจากผ่านขบวนการย่อยสลายเฉพาะด้าน เช่น รังสี
สมชาย ดิษฐาภรณ์ 119 1.วิทยากรและพัฒนาผลิตภัณฑ์โครงการการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากหญ้าแฝกอันเนื่องในพระราชดำริ กลุ่มชาวบ้านที่เป็นเกษตรกรกลุ่มพัฒนาผลิตภัณฑ์หญ้าแฝกอันเนื่องในพระราชดำริ กลุ่มหัตถกรรมหญ้าแฝกบ้านแสงจันทร์ ตำบลบ้านแก้ง อำเภอเมือง จังหวัดสระแก้ว 2.นักพัฒนาผลิตภัณฑ์โครงการพัฒนาและยกระดับผลิตภัณฑ์ OTOP ด้วย วทน. ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กลุ่มสตรีทอผ้าไหม เลขที่ 10 หมู่ 4 บ้านหัวงัว ตำบลโพธิ์ศรีสว่าง อำเภอโพนทอง จังหวัดร้อยเอ็ด สาขาความชำนาญ 1.การออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์หัตถกรรม 2.การออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์หัตถอุตสาหกรรม 3.การออกแบบกราฟิก ตราฉลากสินค้า และบรรจุภัณฑ์
สุชาติ ปุริตธรรม 113 การออกแบบอุปกรณ์ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้สูงอายุ การออกแบบและพัฒนาแท่นเลื่อนสำหรับเครื่องเร้าเตอร์ ประธานอนุกรรมการกำหนดมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ สาขาช่างประกอบติดตั้งเฟอร์นิเจอร์ ระดับ 1 และระดับ 2 การผลิตและการออกแบบอุปกรณ์ช่วยการผลิต
ชนิดา ป้อมเสน 124 สาขาพลังงาน-พลังงานทดแทนและการอนุรักษ์พลังงาน สาขาวิศวกรรมศาสตร์-วิศวกรรมเครื่องกล การประชุมวิชาการมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ครั้งที่ 10 การประชุมวิชาการระดับชาติเทคโนโลยีเชิงสร้างสรรค์ ครั้งที่ 2 ให้คำปรึกษาด้านอนุรักษ์พลังงานแก่โครงการต่างๆ และวิทยากรอบรมในการให้คำปรึกษาด้านอนุรักษ์พลังงาน
อาจารย์ กฤษณา เกตุคำ 115 งานศิลปะประดิษฐ์ ดอกไม้ประดิษฐ์ ประดิษฐ์เครื่องมือที่ใช้ในงานบายศรี งานประดิษฐ์ การจัดดอกไม้สด งานใบตอง งานแกะสลัก ผัก-ผลไม้
นายวรกฤช ดอนคำเพ็ง 98 มีความเชี่ยวชาญด้านการทำแก็สชีวภาพจากมูลสัตว์ ทั้งเกษตรกรรายย่อยและระดับอุตสาหกรรม
นายสัมภาษณ์ สุวรรณคีรี 109 เทคโนโลยีด้านสิ่งทอ การทำกระดาษจากเส้นใยธรรมชาติ
ผศ.อุดมเดชา พลเยี่ยม 93 การพัฒนาผลิตภัณฑ์เคมีในครัวเรือน สารทำความสะอาด แชมพู ยาสระผม สบู่ล้างมือ น้ำยาล้างจาน น้ำยาปรับผ้านุ่ม ยาหม่อง น้ำยาล้างรถ พิมเสนน้ำ สบู่เหลวล้างมือ และการผลิตกระดาษ
ผศ.ดร.วราจิต พยอม 104 1. การผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าว 2. การยกระดับกลุ่มเกษตรกร
อ.กฤตชัย บุญศิวนนท 34 การพัฒนาโรงเรือนเกษตรอัจฉริยะด้วยเทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตย์
อ.กฤตชัย บุญศิวนนท 97 การพัฒนาโรงเรือนเกษตรอัจฉริยะด้วยเทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตย์
ผศ.พลวัฒน์ เกิดศิริ 99 การจัดทำพวงกุญแจจิ๋วรุปแบบภาชนะดินเผาโบราณ
อาจารย์ธรา ราษีนวล 120 การออกแบบภูมิทัศน์, การเลือกไม้ดอกไม้ประดับในการตกแต่ง
นายพิเชษฐ กันทะวัง 116 1. ระบบไมโครคอนโทรเลอร์และการอินเตอร์เฟส 2. ปัญญาประดิษฐ์และการเรียนรู้ของเครื่อง 3. ระบบสมองกลฝังตัวและอินเตอร์เน็ตของทุกสรรพสิ่ง 4. วิศวกรรมชีวการแพทย์
นางสาวณฐมน ทรัพย์บุญโต 112 1. การตลาดออนไลน์ 2.เทคนิคการถ่ายรูป การตัดต่อคลิป รูปภาพและวีดีโอ การทำสื่อ การตกแต่งรูปภาพผลิตภัณฑ์ และการสร้างโลโก้ผลิตภัณฑ์ เพื่อการขายสินค้าผ่านช่างทางออนไลน์และออฟไลน์ 3. การตลาดและการพัฒนาผลิตภัณฑ์ 4. ที่ปรึกษาทางการตลาดออนไลน์ ด้านการตลาด ด้านธุรกิจ และด้านเทคโนโลยีทางการตลาด
อ.ดร.ณัฐวุฒิ ดอนลาว 118 1. การปรับปรุงกระบวนการผลิตเพื่อยกระดับคุณภาพผลิตภัณฑ์ / ลดต้นทุนในการผลิต / ยืดอายุการเก็บรักษา / รักษาคุณค่าทางโภชนาการของผลิตภัณฑ์ 2. กระบวนการผลิตชา อาหารเพื่อสุขภาพ อาหารทางเลือก 3. การปรับปรุงกระบวนการผลิต การเลือกใช้เครื่องจักรในกระบวนการผลิต 4. การอบแห้งอาหาร
ผศ.ดร.จิตรา เกตุแก้ว 116 การปรับปรุงคุณภาพอัญมณี งานอัญมณีและเครื่องประดับ การเคลือบฟิล์มบาง แก้วและวัสดุทางแสง
นางนิตยา มหาไชยวงศ์ 105 ย้อมฝ้าย/ด้าย/ไหมอีรี่ ด้วยเพกา ประดู่ มะเกลือ ตะโก คราม และกุฒฑา การต้มลอกกาวไหมหม่อนและไหมอีรี่ การปั่นเส้นด้ายไหมอีรี่ การทอผ้าพื้นฐาน
ดร. สุภาวดี แช่ม 105 1. การแปรรูปผลิตผลทางการเกษตร เช่น ผัก ผลไม้ ธัญพืชโดยเฉพาะด้าน แป้ง ข้าวและผลิตภัณฑ์ (อาหารและเครื่องดื่ม) 2. พัฒนารูปแบบและฉลากของบรรจุภัณฑ์
นางสาวธนวรรณ สอ้าง 106 การตัดเย็บเสื้อผ้า การประดิษฐ์ของชำร่วย
รศ.ดร.รุ่งนภา ช่างเจรจา 128 สรีรวิทยาและการปรับปรุงพันธุ์ไม้ดอกไม้ประดับ เทคโนโลยีชีวภาพทางพืช
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สมพร เรืองอ่อน 115 การวิเคราะห์และออกแบบระบบสารสนเทศ การพัฒนาเว็บแอปพลิเคชัน การเขียนโปรแกรมภาษา การพัฒนาคุณภาพการให้บริการระบบเทคโนโลยีสารสนเทศในองค์กร การจัดทำแผนยุทธศาสตร์ การประกันคุณภาพการศึกษาระดับอุดมศึกษา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ฉัตรชัย สังข์ผุด 106 การแปรรูปและพัฒนาผลิตภัณฑ์จากพืชน้ำมันและสมุนไพร วิธีการผลิตน้ำมันมะพร้าวสกัดเย็นที่ให้ผลผลิตสูงและคุณภาพดีสามารถกระทำได้ในระดับครัวเรือน รวมถึงการนำมาใช้เป็นวัตถุดิบในการสกัดสารสำคัญจากสมุนไพรเพื่อนำมาใช้ในการผลิตเครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ
ผศ.ดร.บิณฑสันต์ ขวัญข้าว 91 เป็นการพัฒนาเครื่องมือเพื่อสร้างคุณค่าให้กับขวดพลาสติกโดยนำกลับมาใช้ใหม่ให้เกิดประโยชน์ ช่วยลดปริมาณขยะด้วยการอาศัยความรู้เชิงนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อสร้างสรรค์เป็นผลิตภัณฑ์สิ่งทอ ซึ่งเส้นพลาสติกที่ได้จะมีขนาดเล็กยาวและกลมคล้ายเส้นด้ายที่เหมาะสมต่อการทำไปถักทอ จากนั้นนำไปขึ้นรูปเพื่อนำไปทำเป็นผลิตภัณฑ์จำพวกโฮมเท็กซ์ไทล์ เช่น ผ้าบุเฟอร์นิเจอร์ ผ้ารองจาน ผ้าม่าน เป็นต้น
ว่าที่ร.ต.หญิงศิริวรรณ ศรีธรรมรงค์ 76 เป็นการพัฒนาเครื่องมือเพื่อสร้างคุณค่าให้กับขวดพลาสติกโดยนำกลับมาใช้ใหม่ให้เกิดประโยชน์ ช่วยลดปริมาณขยะด้วยการอาศัยความรู้เชิงนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อสร้างสรรค์เป็นผลิตภัณฑ์สิ่งทอ ซึ่งเส้นพลาสติกที่ได้จะมีขนาดเล็กยาวและกลมคล้ายเส้นด้ายที่เหมาะสมต่อการทำไปถักทอ จากนั้นนำไปขึ้นรูปเพื่อนำไปทำเป็นผลิตภัณฑ์จำพวกโฮมเท็กซ์ไทล์ เช่น ผ้าบุเฟอร์นิเจอร์ ผ้ารองจาน ผ้าม่าน เป็นต้น
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธีรศาสตร์ คณาศรี 78 เทคโนโลยีอบแห้ง เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ สิ่งประดิษฐ์ และนวัตกรรม
นายนิรันดร หนักแดง 80 - เทคโนโลยีการตัดแต่งซากแพะ เพื่อยกระดับและเพิ่มมูลค่าให้กับเนื้อแพะ - เทคโนโลยีการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากแพะเพื่อเพิ่มมูลค่า ด้วย วทน. - เทคโนโลยีการเพิ่มรสสัมผัสปรุงแต่งเนื้อแพะ ด้วย วทน. - เทคโนโลยี กระบวนการผลิตเพื่อ ยกระดับ ผลิตภัณฑ์แปรรูป ที่ได้มาตรฐานฮาลาล - กระจัดการวางแผนกระบวนการตลาดและการจัดจำหน่าย
อาจารย์นายศรุติวงศ์ บุญคง 84 1.การผลิตก๊าซชีวภาพระดับครัวเรือน 2.การเลี้ยงโคและกระบือ
อาจารย์รุ่งโรจน์ ยิ่งสง่า 123 งานทางด้านการผลิตเครื่องประดับ งานหล่อโลหะ งานทำต้นแบบเครื่องประดับ งานรูปพรรณ
ผศ.สุภารีย์ เถาว์วงศ์ษา 92 การออกแบบอัญมณีและเครื่องประดับ / เครื่องประดับไทย / การออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์
อาจารย์สุนทรต์ ชูลักษณ์ 99 ชีวสารสนเทศศาสตร์และชีววิทยาการคำนวณวิศวกรรมโปรตีนพันธุศาสตร์ระดับโมเลกุลและพันธุวิศวกรรม
ดร.นพ.เกษม ใช้คล่องกิจ 110 การออกกำลังกาย ศัลยกรรมกระดูกและข้อ
รศ. ดร.จันทิมา ชั่งสิริพร 103 กระบวนการผลิตน้ำส้มควันไม้พร้อมใช้ แบบไม่ต้องตั้งให้ตกตะกอน สามารถแยกน้ำมันทาร์ออกทันที ด้วยเครื่องผลิตน้ำส้มควันไม้ระดับชุมชน
นางปิยะธิดา สีหะวัฒนกุล 95 ศิลปะประดิษฐ์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์เดือนรุ่ง เบญจมาศ 90 1. การยกระดับผลิตภัณฑ์อาหาร 2. การแปรรูปอาหาร และผลผลิตทางการเกษตร 3. การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร 4. การวิจัยด้านการพัฒนามาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร ให้มีความปลอดภัย
ศูนย์วิจัยและพัฒนานวัตกรรมสินค้าเกษตรและอาหาร ภาคต 92 ศูนย์วิจัยและพัฒนานวัตกรรมสินค้าเกษตรและอาหาร ภาคตะวันออก คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี จันทบุรี เป็นหน่วยสนับสนุนการเรียนการสอน การวิจัย แลบริการวิชาการ มีหน้าที่หลักดังต่อไปนี้ 1. ทดสอบมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร ISO/IEC 17025 ทดสอบตัวอย่างสินค้าด้านการเกษตร เช่น ดิน น้ำ ใบ ผลผลิตทางการเกษตร และผลิตภัณฑ์จากการเกษตร เช่น ผลิตภัณฑ์อาหารแปรรูป น้ำส้มควันไม้ น้้ำดื่ม น้ำพริก ซอส เป็นต้น ทางศูนย์ทดสอบจะทำการวิเคราะห์เพื่อวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1.1 เฝ้าระวังมาตรฐานสินค้าให้ตรงกับมาตรฐานภานในและต่างประเทศ 1.2 ออกใบรายงานผลให้สอดคล้องกับมาตรฐานภานในและต่างประเทศ 1.3 วิเคราะห์สารเคมี และยาฆ่าแมลงตกค้างในผลผลิต และผลิตภัณฑ์แปรรูป 1.4 วิเคราะห์ฉลากโภชนา 1.5 วิเคราะห์จุลินทรีย์ 1.6 วิเคราะห์น้ำเพื่อการอุปโภคบริโภค 2. วิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ด้านเกษตรและอาหาร ทำการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่ใช้พืชปลทางการเกษตร ในภาคตะวันออก เพื่อรองรับการแปรรุปผลผลิตใหม่ๆ สู่ตลาดในยุยไทยแลนด์ 4.0 3. บริการวิชาการ ฝึกอบรม และให้คำปรึกษา เป็นศูนย์บริการให้คำปรึกษาด้านคุณภาพอาหาร และการขึ้นทะเบียนกับหน่วยงานรัฐ เช่น มผช. OTOP อย. และมาตรฐานสากลได้แก่ GMP/HACCP/ISO/HALAL/BRC เป็นต้น และยังเป็นที่ฝึกอบรมด้านการแปรรูปการเกษตร และอื่นๆ ตามโจทย์ท้องถิ่น 4. เป็นพี่เลี้ยงด้านระบบคุณภาอาหาร เป็นพี่เลี้ยงหน้างาน ให้บริการถึงสถานที่ เพื่อคอยแนะนำให้ผู้ประกอบการทุกระดับ ไม่ว่าจะกลุ่มแม่บ้าน วิสาหกิจชุมชน SME เข้าถึงการแปรรูปที่ถูกต้อง และจัดการสถานที่ให้เป็นไปตามมาตรฐานที่ต้องการ รวมทั้งการประยุกต์ใช้ระบบประกันคุณภาพอาหาร ในสถานประกอบการ สถานที่ติดต่อ ศูนย์วิจัยและพัฒนานวัตกรรมสินค้าเกษตรและอาหาร ภาคตะวันออก หลักสูตรวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี เลขที่ 41 ม.5 ต.ท่าช้าง อ.เมือง จ.จันทบุรี 22000 โทรศัพท์ 061 6605306 E mail Classforecastrbru@hotmail.com
นายมนูญ รักษาภักดี 96 การประดิษฐ์อุปกรณ์ประเภทสิ่งประดิษฐ์ด้านการประกอบอาชีพ เพื่อความสะดวกและปลอดภัยของช่าง
ผู้ช่วยศาสตราจารย์เดือนรุ่ง เบญจมาศ 94 การแปรรูปผลไม้ เช่น มังคุด สละ เงาะ ทุเรียน ลำไย มะพร้าว และอื่นๆ ให้เป็นสินค้าประเภท ผลไม้ลอยแก้ว กวน หยี แยม ทอฟฟี่ น้ำ 100% 80% 60% หรือขึ้นอยู่กับความต้องการของชุมชน เพื่อยกระดับมาตรฐานการแปรรูป ให้ทันต่อการแข่งขัน
ยิ่งศักดิ์ ชุ่มเย็น 101 การสร้างอุปกรณ์-เครื่องดนตรีไทย,นวัตกรรมการประดิษฐ์พวงกุญแจไม้ฆ้องจิ๋ว
ศ.ดร.ปานฉัตร อินทร์คง 98 ออกแบบผลิตภัณฑ์ต่างๆฐออกแบบเครื่องประดับ,ออกแบบบรรจุภัณฑ์,ออกแบบเฟอร์นิเจอร์,ออกแบบแฟชั่น
ศ.สมพร ธุรี 135 ออกแบบผลิตภัณฑ์,ออกแบบแฟชั่น,ศิลปะประดิษฐ์
ศ.สมพร ธุรี 107 ออกแบบผลิตภัณฑ์,ออกแบบแฟชั่น,ศิลปะประดิษฐ์
ดร.จิราพร ขวัญมุณี 90 ชีวเคมีและชีววิทยาโมเลกุล การสกัดและแยกสารชีวโมเลกุลจากสิ่งมีชีวิตเพื่อประโยชน์ทางด้านการเกษตร อุตสาหกรรม และด้านการแพทย์ การจำแนกชนิดของสิ่งมีชีวิตด้วยดีเอ็นเอ การโคลนยีน การศึกษาการแสดงออกของยีน การผลิตโปรตีนลูกผสม (recombinant protein) การทำให้กลายพันธุ์ของยีนในหลอดทดลอง การสกัดสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพ การทดสอบฤทธิ์ทางชีวภาพ
นางสาวฐิตติมา ธัญญานิติ 64 ฟิสิกส์ศึกษา การจัดกิจกรรม/ทดลอง ทางการเรียนการสอนฟิสิกส์ในระดับมัธยมศึกษา
ดร.ป ปัทมา เหมมาชูเกียรติกุล 89 ด้านโมเดลด้านสภาพอากาศและน้ำ วิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับclimate change ด้านneural network ด้านคณิตศาสตร์มัธยมปลาย(สาธิต) "ด้านโมเดลด้านสภาพอากาศและน้ำ (เริ่มทำวิจัยตั้งแต่ปี2550 มีความสัมพันธ์กับบุคลากรในกรมอุตุนิยมวิทยา และสถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำ (องค์การมหาชน) วิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับclimate change (มีเครือข่ายกับองค์กรในประเทศจีน ที่ใช้ข้อมูลร่วมกันได้) ด้านneural network (เริ่มทำวิจัยและเขียนเพเพอร์ในปี 2560) ด้านคณิตศาสตร์มัธยมปลาย(สาธิต)เริ่มสอนในสาธิตมัธยมภูเก็ต ระดับมัธยมปลาย และร่วมร่างหลักสูตรใหม่สำหรับสาธิตเพื่อเริ่มใช้ในปี2564"
ผศ. ศิวพงศ์ ทองเจือ 116 การบริหารจัดการชุมชน/การจัดการองค์กรส่วนท้องถิ่น, สถาปัตยกรรม, การออกแบบภูมิทัศน์, การวางแผนและออกแบบเมือง / การอนุรักษ์สถาปัตยกรรมและชุมชน / การออกแบบภูมิสังคมภายใต้แนวคิดศาสตร์พระราชาและภูมิปัญญาบรรพบุรุษ "1. ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ ระดับสามัญสถาปนิก เลขที่ ส-สผ. 26 สาขาสถาปัตยกรรมผังเมือง 2. ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ ระดับภาคี เลขที่ ภ-สถ. 15729 สาขาสถาปัตยกรรมหลัก (อยู่ระหว่างประกาศผลเป็นระดับสามัญ)"
ผศ.ดร.ธนา สุทธิบัทม์พงศ์ 108 (1) การจำลองโมเลกุล (molecular simulation) สำหรับระบบเอนไซม์ พอลิเมอร์ และวัสดุคาร์บอน (2) การออกแบบโมเลกุลยาจากการคัดกรองเสมือน (virtual screening) และเทคนิคเชิงปัญญาประดิษฐ์ (3) การสร้างแบบจำลองทางคณิตศาสตร์เพื่อวิเคราะห์ข้อมูลเชิงอุตสาหกรรม
ผศ. นรินทร์ทร พันธ์สวัสดิ์ 104 ความรู้ทางด้านเวชกรรมแผนไทย ด้านเภสัชกรรมแผนไทย ด้านหัตถเวชกรรมแผนไทย ทางด้านมหกายวิภาคศาสตร์ (Gross anatomy) และจุลกายวิภาคศาสตร์ (Microscopic anatomy หรือ Histology) และด้านผดุงครรภ์แผนไทย เช่น การออกแบบและพัฒนาอุปกรณ์ที่ใช้ในการรักาทางการแพทย์แผนไทย เช่นเครื่องช่วยนวดกล้ามเนื้อ อุปกรณ์วิเคราะห์โรคทางการแพทย์แผนไทย การพัฒนาผลิตภัณฑ์ทสมุนไพร การทดสอบผลิตภัณฑ์
นางสาวโสภิดา วิศาลศักดิ์กุล 87 การออกแบบและพัฒนาบรรจุภัณฑ์สำหรับผลิตภัณฑ์งานประดิษฐ์ และผลิตภัณฑ์อื่นๆ จากวัสดุธรรมชาติและวัสดุสังเคราะห์ การพัฒนาผลิตภัณฑ์และวัสดุที่จำเป็นในการปฏิบัติงานด้านคหกรรมศาสตร์และศิลปประดิษฐ์ การพัฒนานวัตกรรมจากผลผลิตทางการเกษตรและการสร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่ผลิตภัณฑ์ในชุมชน
ดร.สุภา จุฬคุปต์ 126 พัฒนาและสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสิ่งเหลือใช้เช่น กากกาแฟ กาบหมาก , พัฒนางานประดิษฐ์ และหัตถกรรมต่างๆ งานจักสานจากวัสดุทดแทนต่างๆ
ผศ.ดร.ปกรณ์เกียรติ เศวตเมธิกุล 117 ระบบไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ สิ่งประดิษฐ์เพื่อยกระดับเกษตรอัจฉริยะ
ผศ.ดร.พรรณธิภา เพชรบุญมี 84 การพัฒนาและยกระดับผลิตภัณฑ์สมุนไพรไทย
นายจักรพันธ์ วงศ์ฤกษ์ดี 103 การพัฒนาและยกระดับผลิตภัณฑ์
นางสาวรดาพร พยัฆฑา 79 การผลิตไม้ดอกไม้ประดับและไม้ผล
นางสาวรุ่งฤทัย รำพึงจิต 104 งานหัตถกรรม ศิลปะประดิษฐ์ และภูมิปัญญาท้องถิ่น
รศ.ดร.นิราวรรณ กุนัน 34 การพัฒนาและยกระดับธุรกิจชุมชนโคเนื้อบ้านโคกคำแบบครบวงจร
นางณิชาพล บัวทอง 97 การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช ไม้ดอก ไม้ประดับ พืชเศรษฐกิจ พืชทางใต้ พืชสมุนไพร
ผศ.ปราถนา ศิริสานต์ 111 ออกแบบและดีไซน์สื่อประชาสัมพันธ์ ออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ออกแบบผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น graphic ออกแบบบรรจุภัณฑ์ Design
ผศ.ดร.ประดิษฐา ภาษาประเทศ 103 เชี่ยวชาญด้านงานศิลปะ การประดิษฐ์ เทคนิคการถ่ายภาพ และการจัดกิจกรรมการเรียนรู้วิถีชุมชน
ดร.รัฐ ชมภูพาน 117 การประดิษฐ์เครื่องใช้ ของตกแต่ง และของที่ระลึก การจัดดอกไม้ การพัฒนาผลิตภัณฑ์และนวัตกรรมงานศิลปประดิษฐ์ รวมถึงด้านการวิจัยด้วยกระบวนการการมีส่วนร่วมของสังคม
เดชาวัต มั่นกลาง 83 การบริหารจัดการเทคโนโลยีอุตสาหกรรมระดับครัวเรือน
ผศ.ดร.พรรณธิภา เพชรบุญมี 95 การบูรณาการองค์ความรู้ด้านการพัฒนาและยกระดับผลิตภัณฑ์ผ้าทอใยกัญชง
น.ส.สุกัญญา จันทกุล 111 ศิลปะประดิษฐ์ แกะสลักผักและผลไม้
น.ส.รุ่งฤทัย รำพึงจิต 101 ศิลปะประดิษฐ์และของที่ระลึก จัดดอกไม้
น.ส.สมปรารถนา สุขสละ 106 ศิลปะประดิษฐ์และของที่ระลึก
อาจารย์ชนาพร รัตนมาลี 105 การผลิตเห็ดนางฟ้า เห็ดขอน เห็ดบด เห็ดกระด้าง การแปลรูปเห็ด
ผศ. บุญเยี่ยม ยศเรืองศักดิ์ 106 วิเคราะห์การผลิตพลังงานไฟฟ้าและศึกษาความคุ้มค่าต่อการลงทุนติดตั้งระบบผลิตไฟฟ้า จากพลังงานแสงอาทิตย์ระดับครัวเรือน
อาจารย์คมศักดิ์ หาญไชย 81 องค์ความรู้การผลิตกระดาษจากสับปะรด ควบคุมและรักษาคุณภาพของสินค้า
อาจารย์วรรภา วงษ์แสงธรรม 102 การยกระดับมาตรฐาน สินค้า นวัตกรรมอาหาร
ผศ. ธวัชชัย ประหยัดวงศ์ 91 การบริหารจัดการอาคาร การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม การยกระดับการท่องเที่ยวชุมชน
อาจารย์ทรงพันธุ์ จันทร์ทอง 90 การออกแบบเครื่องประดับ ออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ การออกแบบสื่อประชาสัมพันธ์และบรรจุภัณฑ์ การออกแบบแบรนด์ การถ่ายภาพสินค้า
ดร.สุรินทร์ อินทะยศ คณะอัญมณี มหาวิทยาลัยบูรพา วิท 88 อัญมณีและเครื่องประดับ
นายภูมิสิษฐ์ กมลงาม 87 1.การพัฒนาเครื่องสำอางจากสารสกัดธรรมชาติ และการสกัด และเพิ่มประสิทธิภาพสารสำคัญ 2. การวิเคราะทดสอบด้านชีววิทยาระดับโมเลกุล (Molecular biology)
อาจารย์สุพจน์ ใหม่กันทะ 100 จัดดอกไม้ ศิลปะการประดิษฐ์ตุงล้านนา
อาจารย์นงลักษณ์ เล็กรุ่งเรืองกิจ 84 การประดิษฐ์เครื่องอัดกระทงใบตอง เพื่อเป็นภาชนะสำหรับใส่อาหาร
ดร.ปิยนารถ ศรชัย 103 การสร้างผลิตภัณฑ์เพื่อตอบโจทย์เชิงเศรษฐกิจและด้านสุขภาพ
ดร.สุภาวดี แช่ม 97 1. การแปรรูปผลิตผลทางการเกษตร เช่น ผัก ผลไม้ ธัญพืชโดยเฉพาะด้าน แป้ง ข้าวและผลิตภัณฑ์ (อาหารและเครื่องดื่ม) 2. พัฒนารูปแบบและฉลากของบรรจุภัณฑ์
ผศ.กมลวรรณ สีใส 121 การพัฒนาลวดลายไทยสำหรับงานประดิษฐ์
นางกฤษณา ชูโชนาค 129 การศึกษาและทดลองสูตรดินปั้นจากโอเอซิสเหลือใช้ 5 สูตร ประเมินคุณสมบัติและคัดเลือก นำไปศึกษาระยะเวลาที่เหมาะสมในการให้ความร้อนดินปั้นจากโอเอซิสเหลือใช้ในไมโครเวฟที่เวลา 3, 8, 13 และ 18 วินาที ให้ผู้เชี่ยวชาญด้านดินปั้นทดลองและประเมินความพึงพอใจ นำดินปั้นจากโอเอซิสที่พัฒนาประดิษฐ์ผลิตภัณฑ์งานใบตองและประเมินความพึงพอใจของผู้บริโภคต่อผลิตภัณฑ์จากกลุ่มลูกค้าของร้านขายผลิตภัณฑ์ดินปั้นหรืองานใบตองในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล พบว่า ดินปั้นจากโอเอซิสสูตรที่ 4 ให้ความร้อนแต่ละครั้งเป็นระยะเวลา 8 วินาที มีความเหมาะสมสำหรับนำไปใช้ในงานใบตอง ผู้เชี่ยวชาญมีความพึงพอใจในระดับมากที่สุด และกลุ่มผู้บริโภคมีความพึงพอใจในระดับมาก
ดร.นฤมล มีบุญ 103 การผลิตโยเกิร์ต การทำสครับสมุนไพร การทำสบู่ การผลิตน้ำพริกผัด การผลิตลูกประดอง
ผศ.ดร.ซารีนา สือแม 81 โภชนศาสตร์สัตว์เคี้ยวเอื้อง โดยเฉพาะด้านสัตว์เคี้ยวเอื้องขนาดเล็ก และการผลิตสัตว์เคี้ยวเอื้องขนาดเล็ก
ดร. ทรงสิน ธีระกุลพิศุทธิ์ 108 - การยกระดับอุตสาหกรรมไมซ์อย่างครบวงจร - MICE Management - Customer Service Standards - Muslim-friendly Amenities - Venue Operation - Sustainable Event Practices
นางสาวนชพรรณ จั่นทอง 128 การพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนให้สามารถยกระดับมาตรฐานและตอบโจทย์กลุ่มตลาดใหม่
ผศ.ดร. ณฐิตากานต์ พยัคฆา 115 การส่งเสริมเกษตรพัฒนาชนบท การพัฒนามาตรฐานสินค้าเกษตร มาตรฐานสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ไทย การยกระดับสินค้าทางการเกษตรเพื่อการรับรองมาตรฐาน อย.
นางสาวพรพิมล ควรรณสุ 79 ผลิตภัณฑ์น้ำพริกเห็ดกรอบ จากเห็ดนางฟ้า 1. การพัฒนาสูตรน้ำพริกเห็ดกรอบ 2. การพัฒนาบรรจุภัณฑ์ให้ทันสมัย สวยงาม และ และดึงดูดผู้บริโภค 3. การพัฒนาตลาดออนไลน์ และตลาดออฟไลน์ ขนาดบรรจุ 100 กรัม ความโดดเด่นคือ กลุ่มวิสาหกิจชุมชนผลิตเห็ดบ้านกลางมีความพิถีพิถันในการเพาะเห็ด โดยมีกระบวนการเพาะแบบปลอดสารเคมี นอกจากนั้นยังมีการคัดสรรวัตถุดิบทีมีคุณภาพเพื่อนำมาแปรรูป และมีการตรวจยืนยันด้านอาหารปลอดภัยจากห้องปฏิบัติการทีได้รับการรับรองคุณภาพ เพื่อให้ผู้บริโภคได้รับสินค้าที่มีรสชาติอร่อยและดีต่อสุขภาพ
นางสาวพรพิมล ควรรณสุ 91 ผลิตภัณฑ์ไส้อั่วเห็ดสมุนไพร 1. การพัฒนาผลิตภัณฑ์ไส้อั่วเห็ดสมุนไพร รสชาติอร่อย ไม่มัน มีไฟเบอร์จากเห็ด 2. การพัฒนาบรรจุภัณฑ์ให้ทันสมัย สวยงาม และ และดึงดูดผู้บริโภค 3. การพัฒนาตลาดออนไลน์ และตลาดออฟไลน์ ขนาดบรรจุ 250 กรัม
นางสาวพรพิมล ควรรณสุ 89 ผลิตภัณฑ์แหนมเห็ด เป็นผลิตภัณฑ์ที่กลุ่มมีการผลิตและจำหน่ายอยู่แล้ว แต่นักวิจัยจากมหาวิทยาลัยนครพนมเข้ามาพัฒนาต่อยอด 1. ขั้นตอนการผลิตให้ปลอดภัย 2. การพัฒนาบรรจุภัณฑ์ให้ทันสมัย สวยงาม และ และดึงดูดผู้บริโภค 3. การพัฒนาตลาดออนไลน์ และตลาดออฟไลน์ ขนาดบรรจุ 200 กรัม วัตถุดิบมาจาก กลุ่มวิสาหกิจชุมชนเพาะเห็ดบ้านกลาง 355 หมู่ 4 ตำบลโพนแพง อำเภออากาศอำนวย จังหวัดสกลนคร
ผศ.ปรียาภรณ์ ไชยสัตย์ 111 การนำไมโครและนาโนแคปซูลในการปรับคุณสมบัติของผ้า เช่นการปรับสภาพความร้อน ให้มีกลิ่น ผ้ากันยุง เป็นต้น และด้านอาหารเช่นเทคนิคการกักเก็บสารสำคัญของอาหารโดยใช้พอลิเมอร์ เป็นต้น
อาจารย์ณกันต์วลัย วิศิฎศรี 86 การทดสอบฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาของสารสกัดสมุนไพรในระดับเซลล์และโมเลกุล การค้นหากลไกการทำงานของยา และสารสกัดสมุนไพร
ผศ.อรรคพล เชิดชูศิลป์ 93 การออกแบบบรรจุภัณฑ์อาหาร วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอาหาร การแปลงภาพถ่ายให้เป็นภาพสีน้ำมัน สุนทรียภาพในศิลปะบนบรรจุภัณฑ์ ศิลปวัฒนธรรมและการสร้างสรรค์ศิลปะดิจิตอล ศิลปะดิจิตอลร่วมสมัย ภาพถ่ายและงานศิลปะ
นางสาวจินตนาภรณ์ จิกิตศิลปิน 158 1. ด้านการท่องเที่ยว มีความเชี่ยวชาญในด้านการจัดการการท่องเที่ยว การจัดการประชุม การจัดการฝึกอบรมเพื่อพัฒนาทีมงาน การจัดเส้นทางท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์และวัฒนธรรมโดยฐานภูมิปัญญาและทุนท้องถิ่น การจัดเส้นทางท่องเที่ยวโดยชุมชนสำหรับนักท่องเที่ยวชาวไทยและนักท่องเที่ยวต่างชาติ การฝึกอบรมด้านหลักการจัดการการท่องเที่ยวโดยชุมชน การฝึกอบรมหลักการนำชมสำหรับมัคคุเทศก์ท้องถิ่นภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 2. ด้านศิลปะประดิษฐ์และของที่ระลึก/งานหัตถกรรมพื้นบ้าน มีความเชี่ยวชาญด้านการพัฒนาศิลปะหัตถกรรมพื้นบ้านเป็นสินค้าการท่องเที่ยวของชุมชน
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สิริรัตน์ พานิช 130 - ตรวจสอบฤทธิ์ในการต้านอนุมูลอิสระด้วยวิธี FCR, DPPH, ABTS ในอาหาร สมุนไพร เครื่องดื่ม และเครื่องสำอาง -สารสกัดน้ำมันหอมระเหย และไฮโดรโซล -ปรับปรุงและพัฒนาสูตรเซรั่มบำรุงผิว -พัฒนาสูตรเครื่องสำอางค์ที่มีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ -พัฒนาผลิตภัณฑ์แผ่นมาส์คหน้าเพิ่มความชุ่มชื่น -วิเคราะห์คุณภาพ และคุณสมบัติต่าง ๆ ของเครื่องสำอางค์ เช่น ความชุ่มชื้น ฤทธิ์ในการสมานแผน ความสามารถในการลดเลือนริ้วรอย -อาหาร Superfood -อาหารที่มีโปรตีนสูงและมีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ -นมจากพืช -การวิเคราะห์เพื่อจัดทำฉลากทางโภชนการ -การตรวจสอบสารปนเปื้อนในอาหาร เช่น โลหะหนัก สารพิษ และสารปนเปื้อนเป็นต้น -วิธีการสกัด การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากสมุนไพรไทย -การตรวจวิเคราะห์องค์ประกอบ -การควบคุมคุณภาพสมุนไพรไทย -สารลดแรงตึงผิวในเครื่องสำอางค์ -สารลดแรงตึงผิวในผลิตภัณฑ์ที่ใช้ในครัวเรือน เช่น น้ำยาปรับผ้านุ่ม น้ำยาซักผ้า น้ำยาล้างจาน - เซนเซอร์ตรวจจับปริมาณโลหะหนักเช่น ตะกั่ว
นางสาวนิอร ดาวเจริญพร 101 งานหัตถกรรม ศิลปะประดิษฐ์ และภูมิปัญญาท้องถิ่น
นายสิทธิศักดิ์ โรจชะยะ 105 - การโปรแกรมคอมพิวเตอร์และไมโครคอนโทรลเลอร์ - การออกแบบวงจรไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ - การขับเคลื่อนมอเตอร์ไฟฟ้า - นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ และเทคโนโลยี
น.ส.อัยรา พันอนุ 90 แปรรูปสินค้าเกษตรอุตสาหกรรม การสร้างผู้ประกอบการชุมชน (Local Startups) การเพิ่มศักยภาพและยกระดับเทคโนโลยีอุตสาหกรรม (เกษตรแปรรูป)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กษิดิศ ใจผาวัง 114 การจัดการธุรกิจการเกษตร การจัดการธุรกิจชุมชน การพัฒนาเกษตรกร การพัฒนาการรวมกลุ่ม การยกระดับการผลิตสินค้าเกษตร การเพิ่มมูลค่าสินค้าเกษตร การประยุกต์แนวคิดเศรษฐกิจสร้างสรรค์ BCG โมเดล Eco Rice การพัฒนานวัตกรรมชุมชน
อาจารย์ นิรุต ขันทรี 91 งานประยุกต์ศิลป์, การออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์, ศิลปะดอกไม้
อาจารย์ ธเนศ เรืองเดช 89 ศิลปะประดิษฐ์
ผศ.เอกลักษณ์ สุมนพันธ์ 99 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อยกระดับการเรียนการสอน
ผศ.ดร.ยุธนา ศรีอุดม 67 ด้านการผลิต เครื่องกล และด้านพลังงาน
รองศาสตราจารย์ ดร.สิทธิศักดิ์ ปิ่นมงคลกุล 104 การประยุกต์ใช้นวัตกรรมบริหารจัดการน้ำผิวดินและน้ำใต้ดินยกระดับขีดความสามารถ ชุมชนเพื่อรับมือภัยแล้ง ตำบลฝ่ายกวาง อำเภอเชียงคำ จังหวัดพะเยา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์พรสวัสดิ์ สิงห์ยาม 91 การบริหารการเงิน การประเมินห่วงโซ่คุณค่า การจัดทำแผนธุรกิจระดับชุมชน การศึกษาความเป็นไปด้วยของโครงการทางด้านการเงิน เศรษกิจและสังคม และการประเมินความคุ้มค่าของการลงทุน
นวัตกรรมเพื่อเกษตรปลอดภัยครบวงจร (พืชและสัตว์) 120 การประเมินห่วงโซ่คุณค่า การจัดทำแผนธุรกิจระดับชุมชน และการศึกษาความเป็นไปด้วยของโครงการทางด้านการจัดการ
นางสาวขวัญฤทัย แซ่ลิ่ม 124 ปัญญาประดิษฐ์(Artificial Intelligence)หรือ AI แขนง ภาษาธรรมชาติ
รศ.ดร.รุ่งนภา ช่างเจรจา 105 สรีรวิทยาและการปรับปรุงพันธุ์ไม้ดอกไม้ประดับ เทคโนโลยีชีวภาพทางพืช
นางปราณี สถิตบรรจง 75 การออกแบบและดัดแปลงเครื่องค้นหูกกึ่งอัตโนมัติ
นางเวฬุกานต์ ขานวงศ์ 111 การออกแบบและดัดแปลงโครงขึ้นหัวม้วน
นายสุรเชษฐ์ จันทร์แสงศรี 121 การพัฒนาและยกระดับผลิตภัณฑ์ผ้าทอย้อมสีธรรมชาติ
อาจารย์ อัฏฐพร อริยฤทธิ์ 89 การประดิษฐ์เซลล์แสงอาทิตย์,เทคโนโลยีฟิล์มบาง
ดร.สุภาวดี แช่ม 83 1. การแปรรูปผลิตผลทางการเกษตร เช่น ผัก ผลไม้ ธัญพืชโดยเฉพาะด้าน แป้ง ข้าวและผลิตภัณฑ์ (อาหารและเครื่องดื่ม) 2. พัฒนารูปแบบและฉลากของบรรจุภัณฑ์
รศ.ดร.รุ่งนภา ช่างเจรจา 91 สรีรวิทยาและการปรับปรุงพันธุ์ไม้ดอกไม้ประดับ เทคโนโลยีชีวภาพทางพืช
อาจารย์ ดร.จุฑามาศ พิลาดี 82 ไม้ดอกไม้ประดับเศรษฐกิจ
อาขารย์ชญานิน วังตาล 103 การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากการลงพื้นที่ในท้องถิ่น การทดลองพัฒนากระดาษจากพืชท้องถิ่น การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากกระดาษจากพืชท้องถิ่น การถ่ายทอดสู่ชุมชนเช่นการอบรมกลุมสตรีแม่บ้าน การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้ภูมิปัญญาของชุมชนสู่การถ่ายทอดในโรงเรียนโดยวิทยากรท้องถิ่นหรือปราชญ์ชุมชน
นายพิชิตร ทองดี 89 การผลิตเครื่องมือเครื่องจรักช่วยในการเพิ่มผลผลิตผ(การพัฒนากระบวนการผลิต ให้มีคุณภาพ ลดเวลาการผลิต เพิ่มกำลังการผลิตให้มากขึ้นรวมถึงการออกแบบและจัดสร้างเครื่องมือ อุปกรณ์ในการช่วยยกระดับคุณภาพชีวิตชุมชน)
นางชญาภา บัวน้อย 94 งานปั้นจากดินไทย ดอกไม้ประดิษฐ์ และงานศิลปประดิษฐ์
นางชญาภา บัวน้อย 73 งานปั้นจากดินไทย ดอกไม้ประดิษฐ์ และงานศิลปประดิษฐ์
ผศ.ดร.กัญลยา มิขะมา 73 ยกระดับผลิตภัณฑ์สับปะรด GI ท่าอุเทน
ดร.วิรุณ โมนะตระกูล 101 การวางแผนกระบวนการผลิตในงานอุตสาหกรรม อาหาร ยานยนต์ เกษตร การออกแบบเครื่องจักรและเครื่องมือสนับสนุนระบบการผลิต อาหาร ยานยนต์ เกษตร การวิเคราะห์และการจัดการต้นทุนในอุตสาหกรรม อาหาร ยานยนต์ เกษตร วิศวกรควบคุมและออกแบบงานวิศวกรรมเครื่องกล โดยมีใบอนุญาตจากสภาวิศวกร ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมระดับภาคีวิศวกร สาขาวิศวกรรมเครื่องกล เลขทะเบียน ภก. 23988
ผศ.วิภาดา มุนินทร์นพมาศ 95 ดำเนินการโครงการกับวว และสปอว.ตั้งแต่ปี 2560-2566 อย่างต่อเนื่องจนถึงปัจจุบันโดยทำการพัฒนาและยกระดับกลุ่มวิสาหกิจชุมชนในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนใต้ต้านต่าง ๆ ดังนี้ 1.ด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์ - ปี 2560 พัฒนาผลิตภัณฑ์ส้มแขกสามรส น้ำส้มแขกเข้มข้น และน้ำพริกเผาส้มแขก ให้กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรบ้านท่าสาป เลขที่ 79 บ้าน ท่าสาป อ.เมือง จ.ยะลา 95000 (สนับสนุนโดยสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ;วว.) - ปี 2561 การพัฒนาผลิตภัณฑ์ขนมรังผึ้งและวาฟเฟิล ให้นายองอาจ สายวารี ที่อยู่ บ้านเลขที่ 54 ถนน อนุสรณ์มหาราช ตำบล สะเตง อำเภอเมือง จังหวัดยะลา 95000 โทรศัพท์ 093-6808573 (สนับสนุนโดยสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ;วว.) - ปี 2562 พัฒนาผลิตภัณฑ์ข้าวแต๋นหน้ากล้วยหินตากเคลือบช็อกโกแลต กลุ่มสตรีบ้านเงาะกาโปร์ บ้านเลขที่ 63/1 ถนน สุขยางค์ ตำบล บันนังสตา อำเภอ นันนังสตา จังหวัดยะลา 95130 (สนับสนุนโดยคูปองวิทย์ ปี 2562) -ปี 2564 พัฒนาผลิตภัณฑ์เปลือกมะนาวสามรสให้กับกลุ่มวิสาหกิจชุมชนกลุ่มมะนาวสร้างตนเอง อ.โคกโพธิ์ จ.ปัตตานี (สนับสนุนโดยคูปองวิทย์เพื่อโอทอป ปี 64) - ปี 2564 พัฒนาผลิตภัณฑ์น้ำลองกองผสมน้ำอัญชันเสริมคอลลาเจนแคลลอรี่ต่ำและลองกองหยีให้กับกลุ่มวิสาหกิจแปรรูปผลไม้บ้านเชิงเขา อ.บาเจาะ จ.นราธิวาส (สนับสนุนโดยคูปองวิทย์เพื่อโอทอป ปี 64) - ปี 2566 การพัฒนาผลิตภัณฑ์แกงไตปลาแห้งและน้ำพริกแกงไตปลาเจเพื่อส่งเสริมการตลาดให้กับกลุ่มวิสาหกิจชุมชนน้ำพริกแม่ผัว อ.เมือง จ.ยะลา (สนับสนุนโดยสปอว.2566) 2.พัฒนาฉลากและบรรจุภัณฑ์ - ปี 2560 การพัฒนาบรรจุภัณฑ์ผลิตภัณฑ์ธัญพืชบด กลุ่มแปรรูปผลิตภัณฑ์การเกษตร ตำบลตาชี อำเภอยะหา จังหวัดยะลา (สนับสนุนโดยสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ;วว.) - ปี 2561 การพัฒนาฉลากและบรรจุภัณฑ์ผลิตภัณฑ์ขนมรังผึ้งและวาฟเฟิล ให้นายองอาจ สายวารี ที่อยู่ บ้านเลขที่ 54 ถนน อนุสรณ์มหาราช ตำบล สะเตง อำเภอเมือง จังหวัดยะลา 95000 โทรศัพท์ 093-6808573 (สนับสนุนโดยสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ;วว.) -ปี 2464 พัฒนาฉลากและบรรจุภัณฑ์ผลิตภัณฑ์เปลือกมะนาวสามรสให้กับกลุ่มวิสาหกิจชุมชนกลุ่มมะนาวสร้างตนเอง อ.โคกโพธิ์ จ.ปัตตานี (สนับสนุนโดยคูปองวิทย์เพื่อโอทอป ปี 64) - ปี 2564 3.พัฒนามาตรฐาน - ปี 2560 ขอมาตรฐานอย.จนได้รับรองมาตรฐานให้กับผลิตภัณฑ์ธัญพืชบด กลุ่มแปรรูปผลิตภัณฑ์การเกษตร ตำบลตาชี อำเภอยะหา จังหวัดยะลา (สนับสนุนโดยสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ;วว.) - ปี 2562 ขอมาตรฐานอย.อาคารผลิตจนได้รับรองมาตรฐานในผลิตภัณฑ์ข้าวแต๋นหน้ากล้วยหินตากเคลือบช็อกโกแลต กลุ่มสตรีบ้านเงาะกาโปร์ บ้านเลขที่ 63/1 ถนน สุขยางค์ ตำบล บันนังสตา อำเภอ นันนังสตา จังหวัดยะลา 95130 (สนับสนุนโดยคูปองวิทย์ ปี 2562) - ปี 2565 ขอมาตรฐานอย.จนได้รับรองมาตรฐาน อาคารผลิต ผลิตภัณฑ์มะนาวสามรส ผลิตภัณฑ์น้ำมะนาวผสมน้ำผึ้งบรรจุขวดให้กับกลุ่มวิสาหกิจชุมชนกลุ่มมะนาวสร้างตนเอง อ.โคกโพธิ์ จ.ปัตตานี (สนับสนุนโดยคูปองวิทย์เพื่อโอทอป ปี 2565) 4.พัฒนากระบวนการผลิต - ปี 2565 พัฒนากระบวนการผลิตน้ำมะนาวผสมน้ำผึ้งบรรจุขวดให้กับกลุ่มวิสาหกิจชุมชนมะนาวสร้างตนเอง 16/5 บ้านโพธิ์ หมู่ 2 ถนนเพรชเกษม ต.มะกรูด อ.โคกโพธิ์ จ.ปัตตานี (สนับสนุนโดยคูปองวิทย์เพื่อโอทอป ปี 65)
นางสาวขวัญฤทัย แซ่ลิ่ม 104 ปัญญาประดิษฐ์(Artificial Intelligence) หรือ AI แขนง ภาษาธรรมชาต
นางสาวซุฟเฟียนี สนิ 109 ด้านการจัดหลักสูตรระยะสั้น และด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน
ว่าที่ ร.ต.สายันต์ ปานบุตร 82 ด้านเทคโนโลยีการเกษตร การเลี้ยงปศุสัตว์ การทำเกษตรผสมผสาน และด้านการนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้
นายเชาวลิต จันทะวงค์ 84 เป็นอุปกรณ์ที่ใช้อำนวยความสะดวกในการใช้งานประแจขันน็อตและนัท
นางสาววรัญญา ไชยมงคล 67 ตะแกรงเหล็กย่างแบบปรับระดับ
ผศ.สุทธิณี พรพันธ์ไพบูลย์ 93 โมเดลการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ การสื่อความหมายชุมชน ในระดับสากล เกณฑ์การประเมินการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพระดับอาเซียน
นางสาวหทัยรัตน์ เทพสถิตย์ 84 สิ่งประดิด่านเทคโนโลยีชีวภาพ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร. สิทธิบูรณ์ ศ 107 นวัตกรรมเครื่องสไลด์กล้วยตามแนวยาวและขวาง (Longitudinal and Horizontal-Aligned Banana Slicing Machine), การออกแบบ สร้างเครื่องจักร เครื่องมือและอุปกรณ์เพื่อการผลิตระดับชุมชนและอุตสาหกรรมขนาดเล็กถึงระดับกลาง
ผู้ช่วยศาสตราจารย์จริยา สุขจันทรา 106 - การพัฒนายกระดับสถานที่ผลิตอาหารให้เป็นไปตามมาตรฐาน - การพัฒนาผลิตภัณฑ์อัตลักษณ์
อาจารย์ปณิธาน วรรณวัลย์ 68 การผลิตเหล็กปิ้งย่างประกอบเตาอั้งโล่ปรับระดับได้ เป็บันการผลิตสินค้าเพื่อใช้ในการประกอบอาหารในครัวเรือน
นางสาวนวรัตน์ เพ็ชรปานกัน 78 ศึกษาผลผลิตและต้นทุนการปลูกหญ้าเนเปียร์โดยใช่มูลสุกรในระดับที่ต่างกัน
นายเอกพงษ์ คุมสุข 63 การปลูกไม้ดอกไม้ประดับ การจัดสวนในภาชนะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำรณ พิทักษ์ 43 วิศวกรรมอุตสาหการ การพัฒนาและยกระดับผู้ประกอบการ การบ่มเพาะธุรกิจนวัตกรรม
ดร. เอกลักษณ์ รัตนโชติ 95 ชีววิทยาและนิเวศวิทยาทางทะเล สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
ดร.วาณี ชนเห็นชอบ 80 1. ความสามารถของภาชนะบรรจุเพื่อการขนส่งในการปกป้องผลิตผลเกษตร 2. การพัฒนาฟิล์มเพื่อยืดอายุและรักษาคุณภาพผลิตผลเกษตร (ร่วมกับศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ) 3. รางวัลชนะเลิศ สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ "อุปกรณ์เพิ่มความแม่นยำในการวิเคราะห์อะฟลาทอกซิน บี 1" และรางวัลผลงานประดิษฐ์คิดค้น KU-AF2 : คอลัมน์ขจัดสิ่งรบกวนสำหรับการวิเคราะห์อะฟลาทอกซิน " จากโครงการวิจัย การเพิ่มศักยภาพของชุดตรวจสอบสารพิษเชื้อราซีราลีโนนและอิมมูโนแอฟฟินิตีคอลัมน์สำหรับอะฟลาทอกซินเพื่อการผลิตเชิงพาณิชย์
ดร.อัณณ์ชญาน์ มงคลชัยพฤกษ์ 62 1. พัฒนาผลิตภัณฑ์ส่งเสริมการเจริญของพืชจากแบคทีเรียทนเค็มและการทดสอบประสิทธิภาพการส่งเสริมการเจริญของพืชตระกูล Solanaceae ในระดับแปลงปลูก 2. ศึกษาถึงการแสดงออกของยีน Ethylene Response Factors (ERF) ในการควบคุมเสื่อมสภาพของดอกกล้วยไม้สกุลหวายพันธุ์ขาวสนานในระดับการถอดรหัสของยีน 3. การจัดการหลังการเก็บเกี่ยวและการบรรจุภัณฑ์เพื่อควบคุมคุณภาพของผลิตผลและชิ้นผลิตผลตัดแต่งพร้อมบริโภคของพืชเศรษฐกิจบางชนิด 4. พัฒนาศักยภาพของทรัพยากรแบคทีเรียทนเค็มกลุ่มที่สร้างสาร indole-3-acetic acid (IAA) และสารควบคุมราก่อโรคเพื่อการใช้ประโยชน์ในการส่งเสริมการปลูกและคุณภาพของมะเขือเทศหลังการเก็บเกี่ยว
ดร.พีรพงษ์ แสงวนางค์กูล 78 1. ผลงาน "ห้องบ่มและเทคนิคการบ่มผลไม้ประโยชน์ 7 อย่าง" ได้รับรางวัลงานวิจัยสร้างผลกระทบสูงระดับ Silver จากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ประจำปี 2564 2. โครงการ "สารเอทีฟอนตกค้างในผลทุเรียนหมอนทองและทางเลือกในการบ่มเพื่อการส่งออก" งบประมาณจาก สวก. ผลวิจัยแสดงถึงความปลอดภัยในการบริโภคทุเรียนไทยทั้งในตลาดท้องถิ่นและตลาดส่งออก สร้างความมั่นใจในสินค้าทุเรียนไทย และลดความตื่นตระหนกความกังวลของผู้บริโภคไทยและจีนที่มีการให้ข้อมูลบิดเบือน 3. ผลวิจัยจาก "โครงการศึกษาเกณฑ์น้ำหนักแห้งของทุเรียนพันธุ์หมอนทอง กระดุมทอง ชะนี พวงมณี และก้านยาว เพื่อเป็นเกณฑ์บ่งชี้คุณภาพ" ใช้ปรับปรุงเกณฑ์น้ำหนักผลและน้ำหนักเนื้อแห้งของทุเรียนในมาตรฐานสินค้าเกษตร (ทุเรียน) มกษ.3-2556 ที่กำลังทบทวนในวาระครบรอบ 20 ปี ในปี 2566
ดร.อำภา ยาสมุทร์ 79 โครงการ การผลิตอินเตอร์เฟียรอนแกมมาในปริมาณมากเพื่อใช้ทางการแพทย์และการบูรณาการปลายน้ำสำหรับชุดคัดกรองแอนติ-อินเตอร์เฟียรอนแกมมาแอนติบอดีในผู้ป่วยกลุ่มอาการโรคภูมิคุ้มกันบกพร่องในวัยผู้ใหญ่ ภายใต้งบวิจัยที่ได้รับการคัดเลือกประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 โครงการการใช้ประโยชน์อาคารนวัตกรรมชีวภัณฑ์มหาวิทยาลัยมหิดล (MUBio) เพื่อทดสอบและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตชีววัตถุและชุดตรวจโรค ในระดับอุตสาหกรรม
ดร.นฤมล แสงประดับ 89 แมลงน้ำ, ชีววิทยาแหล่งน้ำจืด, การประเมินคุณภาพลำธารและแม่น้ำโดยใช้วิธีทางชีวภาพด้วยสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังหน้าดิน
รศ.ดร.สุรางค์ ชาญกำแหงเดชา 82 ชีววิทยาระดับโมเลกุล จุลชีววิทยา
ผศ. ดร.ป๋วย อุ่นใจ 88 ชีวฟิสิกส์ อณูชีววิทยา ชีววิทยาเชิงโครงสร้าง ชีววิทยาระดับเซลล์ เทคโนโลยีชีวภาพ
ดร.ทรงคุณ บุญชัยสุข 73 การสำรวจรอยเลื่อนมีพลังระดับลึกในประเทศไทยด้วยเทคนิคทางธรณีฟิสิกส์สมัยใหม่
ผศ.ดร.อภิโชค ตั้งตระการ 63 การประดิษฐ์สารกึ่งตัวนำชนิดพีเพื่อประยุกต์ใช้ในเซลล์แสงอาทิตย์ชนิดเพอรอฟสไกต์
ดร.วิวัฒน์ นวลสิงห์ 93 การพัฒนาวัสดุเทอร์โมอิเล็กทริกแบบผสมและเทคนิคการพิมพ์สามมิติ เพื่อประดิษฐ์ผ้าใบทำความเย็นเทอร์โมอิเล็กทริกสำหรับประยุกต์ใช้ในระบบปรับอากาศยานยนต์
ดร.สุทธิพงษ์ น้อยสกุล 75 การสำรวจรอยเลื่อนมีพลังระดับลึกในประเทศไทยด้วยเทคนิคทางธรณีฟิสิกส์สมัยใหม่
ผศ.ดร.ภูวิศ อมาตรยกุล 75 การสำรวจรอยเลื่อนมีพลังระดับลึกในประเทศไทยด้วยเทคนิคทางธรณีฟิสิกส์สมัยใหม่
รศ.ดร.จักรพงษ์ แก้วขาว 89 แก้วและวัสดุศาสตร์ อัญมณีเทียมสำหรับผลิตภัณฑ์ เครื่องประดับ แก้วกำบังรังสีชนิดใหม่.
รศ.ดร.พาวินี กลางท่าไค่ 80 การประดิษฐ์สารกึ่งตัวนำชนิดพีเพื่อประยุกต์ใช้ในเซลล์แสงอาทิตย์ชนิดเพอรอฟสไกต์
รศ.ดร.วิยะดา หาญชนะ 58 การประดิษฐ์สารกึ่งตัวนำชนิดพีเพื่อประยุกต์ใช้ในเซลล์แสงอาทิตย์ชนิดเพอรอฟสไกต์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นัจภัค สุขสวัสดิ์ 84 มีประสบการณ์ถ่ายทอดเทคโนโลยีเรื่องการแปรรูปวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรในระดับจังหวัดฉะเชิงเทรา 2 ครั้งให้กับกลุ่มเกษตรกร และเรื่องการใช้ประโยชน์ไผ่ไม้เศรษฐกิจในระดับตำบลของจังหวัดชลบุรี จังหวัดสุรินทร์ จังหวัดยโสธร และจังหวัดกาญจนบุรี ให้กับกลุ่มเกษตรกรรมทั้งเจ้าหน้าที่ภาครัฐ เช่น กรมพัฒนาชุมชน สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด และสำนักงานเกษตรกร เป็นผู้ช่วยศาสตราจารย์ด้านวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมและมีงานวิจัยตีพิมพ์เผยแพร่ด้าน Agricultural waste treatment and utilization
ดารินทร์ ล้วนวิเศษ 83 ความเชี่ยวชาญ เทคโนโลยีบำบัดน้ำเสียและการปรับปรุงคุณภาพน้ำ, เทคโนโลยีการย่อยสลายแบบไม่ใช้ออกซิเจน, การประเมินปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกและการลดก๊าซเรือนกระจกในระดับเมือง, การประเมินคาร์บอนฟุตพริ้นท์ของผลิตภัณฑ์ (CFP), การประเมินวัฏจักรชีวิตของผลิตภัณฑ์ (LCA), การรับมือและการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
อาจารย์อรณิช คำยง 37 มีความเชี่ยวชาญทางด้านไม้ดอกไม้ประดับ พืชผัก และการเพราะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์.ดร. มนตรี แสงสุริยันต์ 46 การออกแบบบรรจุภัณฑ์ บุคลากรด้านการผลิต ด้านเทคนิค ด้านวิจัยและพัฒนาและด้านการตลาดในอุตสาหกรรมการผลิตวัสดุและภาชนะบรรจุ
นางสาววนิดา ถาปันแก้ว 47 กระบวนกรค้นหาอัตลักษณ์ชุมชนเพื่อพัฒนากระบวนการผลิตผ้า ลายผ้า บรรจุภัณฑ์ผ้าทอ และจักสาน,กระบวนกรวิเคราะห์จุดอ่อนจุดแข็งของชุมชนและผู้ประกอบการ, การทำการตลาดออนไลน์, งานด้านการยกระดับเศรษฐกิจชุมชนด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์ในท้องถิ่น
อาจารย์อัมพวัน ยันเสน 36 งานศิลปะประดิษฐ์และของที่ระลึก
อาจารย์ศุภสิทฐ์ วราศิลป์ 29 ศิลปะประดิษฐ์และของที่ระลึก
ดร.สุรัสวดี ปลิโพธ 40 -เคมีประยุกต์ -ผลของกระดาษกาบกล้วยผสมถ่านกัมมันต์และไททาเนียมไดออกไซด์ต่ออายุการเก็บรักษากล้วยหอมทอง
นายเกียรติศักดิ์ ศรีแก้ว 30 ด้านการประดิษฐ์เครื่องอำนวยความสะดวกในการทำรังผึ้ง
นายชาญชัย สิริวารินทร์ 29 มีความเชี่ยวชาญด้านการประดิษฐ์ของที่ระลึก พวงกุญแจ
นายจรัส ยาย่อ 28 มีความเชี่ยวชาญด้านการประดิษฐ์เครื่องมือช่าง
อาจารย์คมสัน โกเสนตอ 43 วุฒิการศึกษาปริญญาตรี สาขาคอมพิวเตอร์ศึกษา วุฒิการศึกษาปริญญาโท สาขา การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ วุฒิการศึกษาปริญญาเอก อยู่ในระหว่างศึกษาต่อ สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม ความเชี่ยวชาญ การพัฒนาระบบสารสนเทศ การประมวลผลรูปภาพ (Images Processing) เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (AI) การวิเคราะห์ข้อมูล (Data Science)
ดร. พรพิษณุ ธรรมปัทม์ 32 การเพิ่มศักยภาพธุรกิจชุมชน ในโครงการนี้ได้มีการวางแผนการดำเนินงานเพื่อยกระดับการทำธุรกิจของชุมชน ตามแผนธุรกิจ Business Model Canvas (BMC