ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อรอนงค์ เฉียบแหลม 101 การวางแผนและการจัดการการท่องเที่ยว การจัดการทรัพยากรการท่องเที่ยว การสื่อความหมายธรรมชาติและวัฒนธรรม
อาจารย์ ดร.สุขุมาล กล่ำแสงใส 104 การจัดนำเที่ยวและมัคคุเทศก์ บุคลิกภาพในงานบริการ การสื่อความหมาย ธุรกิจสายการบิน
รองศาสตราจารย์ ดร. รวีวรรณ เดื่อมขันมณี 94 โรคพืช อารักขาพืช การกลั่นน้ำมันหอมระเหยเพื่อควบคุมโรคพืชที่เกิดจากเชื้อรา การใช้น้ำส้มควันไม้ควบคุมโรคพืช การควบคุมโรคพืชโดยชีววิธี การใช้เทคโนโลยีผลิตเห็ด การศึกษาเห็ดเอ็คโตมัยคอร์ไรซา การผลิตพืชปลอดภัย ตรวจประเมินเกษตรอินทรีย์ข้าว สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ (มกอช.)
ผศ.ดร.วันดี อ่อนเรียบร้อย 102 เทคโนโลยีทางด้านอุณหภูมิ ความร้อน และพลังงาน เพื่อควบคุมคุณภาพอาหาร
นางสาวณฐมน ทรัพย์บุญโต 112 1. การตลาดออนไลน์ 2.เทคนิคการถ่ายรูป การตัดต่อคลิป รูปภาพและวีดีโอ การทำสื่อ การตกแต่งรูปภาพผลิตภัณฑ์ และการสร้างโลโก้ผลิตภัณฑ์ เพื่อการขายสินค้าผ่านช่างทางออนไลน์และออฟไลน์ 3. การตลาดและการพัฒนาผลิตภัณฑ์ 4. ที่ปรึกษาทางการตลาดออนไลน์ ด้านการตลาด ด้านธุรกิจ และด้านเทคโนโลยีทางการตลาด
ผศ.ดร.นิอร โฉมศรี 106 1.เทคโนโลยีเอนไซม์ทางอาหาร และเทคนิคในการทำโปรตีนให้บริสุทธิ์ 2.จุลชีววิทยาทางอาหาร (เช่น การประยุกต์ใช้จุลินทรีย์กับอาหารหมัก การตรวจวิเคราะห์และการควบคุมคุณภาพอาหารทางจุลินทรีย์ การผลิตกล้าเชื้อจุลินทรีย์ การควบคุมจุลินทรีย์เพื่อความปลอดภัยทางอาหาร ฯลฯ)
ผศ.ดร.พรอนันต์ บุญก่อน 110 การประยุกต์ใช้สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช ได้แก่ ฮอร์โมนพืชและสารที่ออกฤทธิ์คล้ายฮอร์โมนพืช เพื่อควบคุมการงอก การเจริญเติบโต การผสมเกสร การพัฒนาของผล และการยืดอายุการเก็บรักษาผลผลิตทางการเกษตร
อ.ธนพัฒน์ สุระนรากุล ดร.กัมปนาถ เภสัชชา อ.บงกชไพร 102 นวัตกรรมเพื่อการเกษตรปลอดภัยครบวงจร 1.เทคโนโลยีการผลิตมันหมักยีสต์ให้ในอาหารสัตว์เคี้ยวเอื้อง 2.เทคโนโลยีการผลิตแร่ธาตุและอาหารอัดก้อนโปรตีนสูงต้นทุนต่ำ 3.เทคโนโลยีการผลิตโคเนื้อคุณภาพ
ศูนย์วิจัยและพัฒนานวัตกรรมสินค้าเกษตรและอาหาร ภาคต 92 ศูนย์วิจัยและพัฒนานวัตกรรมสินค้าเกษตรและอาหาร ภาคตะวันออก คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี จันทบุรี เป็นหน่วยสนับสนุนการเรียนการสอน การวิจัย แลบริการวิชาการ มีหน้าที่หลักดังต่อไปนี้ 1. ทดสอบมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร ISO/IEC 17025 ทดสอบตัวอย่างสินค้าด้านการเกษตร เช่น ดิน น้ำ ใบ ผลผลิตทางการเกษตร และผลิตภัณฑ์จากการเกษตร เช่น ผลิตภัณฑ์อาหารแปรรูป น้ำส้มควันไม้ น้้ำดื่ม น้ำพริก ซอส เป็นต้น ทางศูนย์ทดสอบจะทำการวิเคราะห์เพื่อวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1.1 เฝ้าระวังมาตรฐานสินค้าให้ตรงกับมาตรฐานภานในและต่างประเทศ 1.2 ออกใบรายงานผลให้สอดคล้องกับมาตรฐานภานในและต่างประเทศ 1.3 วิเคราะห์สารเคมี และยาฆ่าแมลงตกค้างในผลผลิต และผลิตภัณฑ์แปรรูป 1.4 วิเคราะห์ฉลากโภชนา 1.5 วิเคราะห์จุลินทรีย์ 1.6 วิเคราะห์น้ำเพื่อการอุปโภคบริโภค 2. วิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ด้านเกษตรและอาหาร ทำการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่ใช้พืชปลทางการเกษตร ในภาคตะวันออก เพื่อรองรับการแปรรุปผลผลิตใหม่ๆ สู่ตลาดในยุยไทยแลนด์ 4.0 3. บริการวิชาการ ฝึกอบรม และให้คำปรึกษา เป็นศูนย์บริการให้คำปรึกษาด้านคุณภาพอาหาร และการขึ้นทะเบียนกับหน่วยงานรัฐ เช่น มผช. OTOP อย. และมาตรฐานสากลได้แก่ GMP/HACCP/ISO/HALAL/BRC เป็นต้น และยังเป็นที่ฝึกอบรมด้านการแปรรูปการเกษตร และอื่นๆ ตามโจทย์ท้องถิ่น 4. เป็นพี่เลี้ยงด้านระบบคุณภาอาหาร เป็นพี่เลี้ยงหน้างาน ให้บริการถึงสถานที่ เพื่อคอยแนะนำให้ผู้ประกอบการทุกระดับ ไม่ว่าจะกลุ่มแม่บ้าน วิสาหกิจชุมชน SME เข้าถึงการแปรรูปที่ถูกต้อง และจัดการสถานที่ให้เป็นไปตามมาตรฐานที่ต้องการ รวมทั้งการประยุกต์ใช้ระบบประกันคุณภาพอาหาร ในสถานประกอบการ สถานที่ติดต่อ ศูนย์วิจัยและพัฒนานวัตกรรมสินค้าเกษตรและอาหาร ภาคตะวันออก หลักสูตรวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี เลขที่ 41 ม.5 ต.ท่าช้าง อ.เมือง จ.จันทบุรี 22000 โทรศัพท์ 061 6605306 E mail Classforecastrbru@hotmail.com
นายมนูญ รักษาภักดี 96 การประดิษฐ์อุปกรณ์ประเภทสิ่งประดิษฐ์ด้านการประกอบอาชีพ เพื่อความสะดวกและปลอดภัยของช่าง
ผศ.ดร.ปิยพร ศรีสม 112 1. การตั้งตำรับเครื่องสำอาง-เวชสำอางจากผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ 2. การตรวจวิเคราะห์ทางเคมีเพื่อควบคุมคุณภาพและมาตรฐานผลิตภัณฑ์
ดร.รัชดาภรณ์ บุญทรง 105 การออกแบบอุตสาหกรรม การออกแบบตราสินค้า การออกแบบบรรจุภัณฑ์ เพื่อความเป็นอัตลักษณ์ การออกแบบศาลาไม้ไผ่ขนาดเล็กจากเทคโนโลยีพื้นบ้านและภูมิปัญญาท้องถิ่น
ผศ.ดร.นิอร โฉมศรี 108 1.เทคโนโลยีเอนไซม์ทางอาหาร และเทคนิคในการทำโปรตีนให้บริสุทธิ์ 2.จุลชีววิทยาทางอาหาร (เช่น การประยุกต์ใช้จุลินทรีย์กับอาหารหมัก การตรวจวิเคราะห์และการควบคุมคุณภาพอาหารทางจุลินทรีย์ การผลิตกล้าเชื้อจุลินทรีย์ การควบคุมจุลินทรีย์เพื่อความปลอดภัยทางอาหาร ฯลฯ)
นายศุภชัย ชุมนุมวัฒน์ 85 มีความเชี่ยวชาญทางด้านพลังงาน พลังงานทดแทน ระบบความร้อนและท่อความร้อน
นางสาวฐานิฏฐ์กานต์ ทวนไธสง 99 การทำลูกประคบเพื่อสุขภาพ การนวดคอ บ่า ไหล่เพื่อความผ่อนคลาย
นางสาวหนึ่งฤทัย แก้วคำ 92 ส่งเสริมการตลาดให้กับชุมชน หรือผู้ประกอบการที่สนใจ ทั้งแบบออฟไลน์แและแบบออนไลน์ตามบริบทหรือความเหมาะสม ของกลุ่มชุมชน โดยมุ่งเน้นให้สามารถพัฒนาและต่อยอดได้เอง ก่อเกิดรายได้ในครัวเรือนและชุมชน
ผศ.ดร.หทัยทิพย์ นิมิตรเกียรติไกล 72 การใช้สภาพบรรยากาศดัดแปลงในระยะสั้นหลังเก็บเกี่ยวต่อคุณภาพและการเกิดสี่น้ำตาลของลิ้นจี่พันธุ์ฮงฮวย (อพ.สธ.)
ผศ.ดร.นิอร โฉมศรี 96 1.เทคโนโลยีเอนไซม์ทางอาหาร และเทคนิคในการทำโปรตีนให้บริสุทธิ์ 2.จุลชีววิทยาทางอาหาร (เช่น การประยุกต์ใช้จุลินทรีย์กับอาหารหมัก การตรวจวิเคราะห์และการควบคุมคุณภาพอาหารทางจุลินทรีย์ การผลิตกล้าเชื้อจุลินทรีย์ การควบคุมจุลินทรีย์เพื่อความปลอดภัยทางอาหาร ฯลฯ)
นายศุภชัย ชุมนุมวัฒน์ 97 มีความเชี่ยวชาญทางด้านพลังงาน พลังงานทดแทน ระบบความร้อนและท่อความร้อน
อาจารย์ปวีณา สุขสอาด 97 อนุกรมวิธานแบคทีเรียกลุ่มแอคติโนมัยสีท การคัดเลือกจุลินทรีย์ที่สร้างสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพ
นฤมล เถื่อนกูล 99 Biology, จุลชีววิทยา ด้าน แบคทีเรีย สีย้อมจากแอคติโนมัยซีส จุลชีววิทยาทางอาหาร
ผศ.สุทธิณี พรพันธ์ไพบูลย์ 93 โมเดลการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ การสื่อความหมายชุมชน ในระดับสากล เกณฑ์การประเมินการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพระดับอาเซียน
นางสาวทิพยาดา ธีรฐานกิจ 85 ผลิตภัณฑ์สมุนไพรเพื่อความงาม
ดร.เนตรนภิส เขียวขำ 87 Postharvest Pathology, Phytochemical โรคภายหลังการเก็บเกี่ยว, การใช้สารสกัดจากพืชเพื่อควบคุมโรค
ดร.อัณณ์ชญาน์ มงคลชัยพฤกษ์ 62 1. พัฒนาผลิตภัณฑ์ส่งเสริมการเจริญของพืชจากแบคทีเรียทนเค็มและการทดสอบประสิทธิภาพการส่งเสริมการเจริญของพืชตระกูล Solanaceae ในระดับแปลงปลูก 2. ศึกษาถึงการแสดงออกของยีน Ethylene Response Factors (ERF) ในการควบคุมเสื่อมสภาพของดอกกล้วยไม้สกุลหวายพันธุ์ขาวสนานในระดับการถอดรหัสของยีน 3. การจัดการหลังการเก็บเกี่ยวและการบรรจุภัณฑ์เพื่อควบคุมคุณภาพของผลิตผลและชิ้นผลิตผลตัดแต่งพร้อมบริโภคของพืชเศรษฐกิจบางชนิด 4. พัฒนาศักยภาพของทรัพยากรแบคทีเรียทนเค็มกลุ่มที่สร้างสาร indole-3-acetic acid (IAA) และสารควบคุมราก่อโรคเพื่อการใช้ประโยชน์ในการส่งเสริมการปลูกและคุณภาพของมะเขือเทศหลังการเก็บเกี่ยว
ดร.วราภา มหากาญจนกุล 84 Safety of minimally processed produce Microbial stress response GMP/HACCP system Mycotoxin detection in food products ความปลอดภัยของการผลิตด้วยการแปรรูปน้อยวิธี, การตอบสนองต่อความเครียดของจุลินทรีย์, ระบบ GMP/HACCP, การตรวจสารพิษจากเชื้อราในผลิตภัณฑ์อาหาร
ดร.เนตรนภิส เขียวขำ 86 Postharvest Pathology, Phytochemical โรคภายหลังการเก็บเกี่ยว, การใช้สารสกัดจากพืชเพื่อควบคุมโรค
อาจารย์ศรัณยู เหลาพา 42 การใช้วงจรไฟฟ้าเกียวกับ sensor ของงานอุตสาหกรรมในระบบอัตโนมัติ (PLC (Mitsubishi FX5U)) เพื่อควบคุมขบวนการทำงานใน line อุตสาหกรรม
อาจารย์จิราพร ชุมชิต 44 วุฒิการศึกษาปริญญาตรี วท.บ. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสิ่งทอ วุฒิการศึกษาปริญญาโท วท.ม. เทคโนโลยีอุตสาหกรรมและการจัดการสินค้าสิ่งทอ ความเชี่ยวชาญ การฟอก ย้อม พิมพ์ ตกแต่งสำเร็จสิ่งทอ การย้อมสีธรรมชาติ การพัฒนาผลิตภัณฑ์สิ่งทอด้วยสีพิมพ์ธรรมชาติเพื่อความเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม สาขาความเชียวชาญ เทคโนโลยีด้านสิ่งทอ [118] และเทคโนโลยีการเพิ่มคุณสมบัตินาโนกับสิ่งทอ [37]