พัชรินทร์ บุญสมธป 121 -แอปพลิเคชั่นและหนังสือนำเที่ยวAR -ออกแบบหนังสือนำเที่ยวโดยใช้เทคโนโลยีความจริงเสริมใช้งานร่วมกับแอปพลิเคชั่น ใช้สำหรับแหล่งท่องเที่ยวเพื่อสนับสนุนการท่องเที่ยวแบบดิจิทัล
นายมูฮำหมัดตายุดิน บาฮะคีรี 111 มีความรู้ในเรื่อง พฤกษศาสตร์ เป็นสาขาวิชาหนึ่งของชีววิทยาที่ศึกษาเกี่ยวกับโครงสร้างพืช ส่วนประกอบหน้าที่ของเซลล์ ราก ลำต้น ใบ ดอก ผล และเมล็ด และกระบวนการต่าง ๆ เพื่อการดำรงชีพของพืช
อาจารย์นฤมล วันน้อย 98 เทคนิคใหม่สำหรับการกำหนดพื้นที่เชื่อมต่อเครื่องกำเนิดไฟฟ้าพลังงานหมุนเวียนที่เหมาะสม เพื่อลดผลกระทบภาวะเหตุการณ์ฉุกเฉินในระบบไฟฟ้า
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ภัทรานิษฐ์ สิทธินพพันธ์ 130 1. เป็นที่ปรึกษาและดำเนินงานในโครงการวิถีไทยก้าวไกลสู่แฟชั่น (Thailand Grand living) กิจกรรม การยกระดับการออกแบบผลิตภัณฑ์สิ่งทอและเครื่องนุ่งหมเชิงสร้างสรรค์ ให้กับสถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ ในฐานะนักออกแบบพัฒนาภาคใต้ 2. ปรึกษาโครงการที่ปรึกษาเพื่อยกระดับผลิตภัณฑ์หนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOP) ให้มีศักยภาพทางตลาด ด้วยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม 3. ที่ปรึกษาโครงการที่ปรึกษาเพื่อยกระดับผลิตภัณฑ์หนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOP) ให้มีศักยภาพทางตลาด ด้วยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมประเภท ผ้าและเครื่องแต่งกาย ของใช้ ของตกแต่ง และของที่ระลึกพื้นที่ภาคกลางและภาคใต้ประจำปี พ.ศ. 2559 ดำเนินการในพื้นที่ กลุ่มภาคกลาง ชื่อกลุ่ม กลุ่มแม่บ้านทหารเรือ จังหวัดชลบุรี ผลิตภัณฑ์ ประเภทเครื่องแต่งกายและของใช้ ชื่อกลุ่ม กลุ่มปักผ้าด้นมือ (U-THONG QUILTS) ผลิตภัณฑ์ ประเภทของใช้เคหะสิ่งทอ 4. ที่ปรึกษาโครงการพัฒนาและยกระดับสินค้าOTOP ด้วยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม ประเภทผ้าฯ และของใช้ (6 สถานประกอบการ)พื้นที่จังหวัดนราธิวาส) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2561 FC2 (ผ้า1) วิสาหกิจชุมชน กลุ่มผ้าคลุมผมสตรีบ้านลาเวง FC3(ผ้า2) วิสาหกิจชุมชน กลุ่มขัดจักรบ้านกาวะ FC8 (ผ้า5) วิสาหกิจชุมชน กลุ่มเสื้อผ้ามุสลิมบ้านรานอ
ดร.วราภรณ์ ตรีพรหม 130 การตรวจวิเคราะห์โลหะหนัก โลหะหนักเป็นพิษ ตกค้างในดิน น้ำ ผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรและอาหาร
นางสาววรัญญา หอมธูป 96 ด้านกลไกการตลาดและการหนุนเสริมกิจการเพื่อสังคม
สุชาติ ปุริตธรรม 113 การออกแบบอุปกรณ์ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้สูงอายุ การออกแบบและพัฒนาแท่นเลื่อนสำหรับเครื่องเร้าเตอร์ ประธานอนุกรรมการกำหนดมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ สาขาช่างประกอบติดตั้งเฟอร์นิเจอร์ ระดับ 1 และระดับ 2 การผลิตและการออกแบบอุปกรณ์ช่วยการผลิต
กฤษณ์ สงวนพวก 86 การพัฒนาผลิตภัณฑ์ข้าวเหนียวมะม่วงกรอบโดยกระบวนการทำแห้งแบบแช่เยือกแข็ง นวัตกรรมการแปรรูปเยลลี่ข้าวเหนียวมะม่วงโดยกระบวนการทำแห้งแบบแช่เยือกแข็ง สาขาเทคโนโลยีการเกษตร การยืดอายุการเก็บรักษาผลิตผลทางการเกษตร สาขาเทคโนโลยีอาหารการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร
ผศ.ดร. สายชล ชุดเจือจีน 163 พลังงานทดแทน เรโซแนนซ์อินเวอร์เตอร์ ระบบส่งจ่ายไร้สาย การสื่อสารไร้สายและระบบเหนี่ยวนำความร้อน สายชล ชุดเจือจีน วิเชียร หทัยรัตน์ศิริ และ อนวัช แสงสว่าง อินเวอร์เตอร์แบบครึ่งบริดจ์ความถี่สูงสำหรับเหนี่ยวนำความร้อนท่อสแตนเลส, การประชุมวิชาการทางวิศวกรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ครั้งที่ 8 22-23 เมษายน 2553 วิเชียร หทัยรัตน์ศิริและสายชล ชุดเจือจีน, 2552, เตาหุงต้มเหนี่ยวนำความร้อนโดยใช้อินเวอร์เตอร์ชนิดแหล่งจ่ายกระแสแบบคลาสดี, การประชุมวิชาการ มหาวิทยาลัยราชมงคลวิชาการครั้งที่ 2
นายเสกสรร สงจันทึก 95 การผลิตข้าวโพดข้าวเหนียวหวานในระบบเกษตรอินทรีย์
ดร.ขจรเกียรติ์ ศรีนวลสม 100 การเพาะหนอนแมลงวันเพื่อการเลี้ยงสัตว์น้ำ
นางสาวอินท์ธีมา หิรัญอัครวงศ์ 75 การผลิตขนมอบ แต่งหน้าเค้ก พัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร การสร้างสรรค์อาหารจานหวาน และการแปรรูผลผลิตทางการเกษตร
นางสาววารีรัตน์ สมประทุม 103 การใช้ปุ๋ยชีวภาพในนานข้าว และแหนแดง
อาจารย์สุชิรา นวลกำแหง 118 เก็บตัวอย่างดินของงานโยธาเพื่อวิเคราะห์ดิน - หาขนาดของเม็ดดิน - หาปริมาณความชื้นของดิน - หาความเหนียวของดิน 2. เก็บตัวอย่างดินของงานโยธาเพื่อวิธีบดอัดดินให้ได้ความแน่นสูงตามความต้องการหรือตามจุดประสงค์ของการใช้งาน โดยวิธีทดสอบมาตรฐาน เป็นการบดอัดดินในงานก่อสร้างโดยทั่วไป เช่น การทดสอบสำหรับควบคุมงานก่อสร้างถนน
นายจุลทรรศน์ คีรีแลง 109 1. การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ 2. อาหารสัตว์น้ำ 3. การเลี้ยงสัตว์น้ำแบบหนาแน่นในระบบน้ำหมุนเวียน
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อนนท์ นำอิน 144 1. ระบบส่งกำลังไฟฟ้าไร้สายแบบเหนี่ยวนำ (Inductive Wireless Power Transfer) 2. ระบบอัดประจุแบตเตอรี่ยานยนต์ไฟฟ้าไร้สายแบบเหนี่ยวนำ (Wireless EV Charging System) 3. เครื่องจำลองแสงอาทิตย์ชนิดไดโอดเปล่งแสงสำหรับทดสอบเซลล์แสงอาทิตย์ (LED Solar Simulator for PV Testing) 4. การออกแบบระบบการสอนวิศวกรรมไฟฟ้า (Electrical Engineering Instructional System Design)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณภัทร ทิพย์ศรี 133 1. เป็นวิทยากรจัดทำแผนธุรกิจ (Business Plan) ของธุรกิจชุมชน และทั่วไป 2. คณะกรรมการขับเคลื่อนโครงการพัฒนาผู้ประกอบการใหม่ (Startup) 3. เป็นที่ปรึกษาโครงการสินเชื่อเพื่อพัฒนาผลิตภาพการผลิต (Productivity Improvement Loan) สำหรับผู้ประกอบการพื้นที่จังหวัดเชียงรายและพะเยา 4. เป็นที่ปรึกษาการประเมินสมรรถนะร่วมที่ปรึกษาอุตสาหกรรม (I3C: Industrial Consultants Common Competency) 5. เป็นที่ปรึกษาอุตสาหกรรม SMEs ของกรมอุตสาหกรรม 6. เป็นที่ปรึกษา Startup SMEs การเขียนแผนธุรกิจและการพัฒนาผู้ประกอบการใหม่ 7. เป็นผู้จัดการและคณะกรรมการจัดโครงการเสริมสร้างองค์กรแห่งความสุขภาคเหนือตอนบน จังหวัดพะเยา
นายกล้าณรงค์ ข่วงบุญ 103 การจัดออกแบบว่างผังแปลงปลูกพืช การออกแบระบบน้ำสำหรับแปลงปลูกพืช ระบบน้ำอัจฉริยะ การใช้เทคโนโลยีเหนี่ยวนำการเป็นสัดในโค ระบบโซล่าเซลล์พลังงานแสงอาทิตย์
ดร.รรินธร ธรรมกุลกระจ่าง 88 เทคโนโลยีการแปรรูปอาหาร เทคโนโลยีการผลิตคอลลาเจนและเจลาตินของหนังและเกล็ดปลานิล
นางจิตตะวัน กุโบลา 100 การแปรรูปอาหาร และการแปรรูปสมุนไพร เพื่อยืดระยะเวลาการจำหน่าย และเพิ่มคุณค่าทางอาหาร
นายวรณ์ ดอนชัย 117 ผ้าและเครื่องแต่งกาย - องค์ความรู้ด้านสิ่งทอพื้นบ้าน/เส้นใยธรรมชาติ/สีย้อมธรรมชาติ ผ้าและเครื่องแต่งกาย - การพัฒนาคุณภาพผ้าทอย้อมสีธรรมชาติ(พัฒนากระบวนการย้อม-การทดสอบคณุภาพผ้า) ผ้าและเครื่องแต่งกาย - การพัฒนากระบวนการผลิตสิ่งทอพื้นบ้านให้เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม - พัฒนากระบวนการฝึกอบรม พัฒนาศักยภาพและประเมินผลวิทยากรชุมชน - การพัฒนาเครือข่ายความร่วมมือระหว่างชุมชนกับหน่วยงานภาครัฐและเอกชน
ดร.วราภรณ์ ตรีพรหม 88 การใช้เครื่องมือขั้นสูงในงานเคมีวิเคราะห์ การตรวจวิเคราะห์ปริมาณโลหะหนัก โลหะเป็นพิษในตัวอย่างดิน น้ำ อาหาร ผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร
ดร.วราภรณ์ ตรีพรหม 75 การใช้เครื่องมือขั้นสูงในงานเคมีวิเคราะห์ การตรวจวิเคราะห์ปริมาณโลหะหนัก โลหะเป็นพิษในตัวอย่างดิน น้ำ อาหาร ผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร
นางสาวสุวารี ยิ่งนอก 81 การวางแผนการตลาด การคำนวณต้นทุนและกำหนดโปรโมชั่น
ผศ.ดร.เกียรติศักดิ์ แสงประดิษฐ์ 105 เป็นการพัฒนาเครื่องมือเพื่อลดขนาดขยะพลาสติกประเภทถุงพลาสติก ขวดพลาสติก ซึ่งเป็นขยะที่มีน้ำหนักเบา ซึ่งเครื่องอัดขยะเป็นการจัดการขยะพลาสติกให้มีขนาดเล็กลง โดยพัฒนาเครื่องอัดขยะถุงพลาสติก ขวดพลาสติกให้เป็นก้อนซึ่งประยุกต์มาจากเครื่องอัดระบบไฮโดรลิคเป็นระบบคันโยกอัดก้อนพลาสติกใช้แรงคนประมาณ 1-3 คน และมีสลักซ้ายขวา เพื่อแกะเอาก้อนพลาสติกออกด้านหน้าได้ โดยขยะ 1 ก้อน จะใช้พลาสติกบีบอัดรวมกันประมาณ 5-20 กก.
ดร.ณรงค์ชัย โอเจริญ 100 เป็นการพัฒนาเครื่องมือเพื่อลดขนาดขยะพลาสติกประเภทถุงพลาสติก ขวดพลาสติก ซึ่งเป็นขยะที่มีน้ำหนักเบา ซึ่งเครื่องอัดขยะเป็นการจัดการขยะพลาสติกให้มีขนาดเล็กลง โดยพัฒนาเครื่องอัดขยะถุงพลาสติก ขวดพลาสติกให้เป็นก้อนซึ่งประยุกต์มาจากเครื่องอัดระบบไฮโดรลิคเป็นระบบคันโยกอัดก้อนพลาสติกใช้แรงคนประมาณ 1-3 คน และมีสลักซ้ายขวา เพื่อแกะเอาก้อนพลาสติกออกด้านหน้าได้ โดยขยะ 1 ก้อน จะใช้พลาสติกบีบอัดรวมกันประมาณ 5-20 กก.
ผศ.ดร.เสาวคนธ์ เหมวงษ์ 75 การส่งเสรืมการเกษตรโดยมุ้งเน้นเทคโนโลยีที่ถ่ายทอดการทำข้าวอินทรีย์ -การจัดการหลังการเก็บเกี่ยง -การแปรรูป -ใบรับรองมาตรฐาน -การจัดจำหน่าย
นายนิรันดร หนักแดง 80 - เทคโนโลยีการตัดแต่งซากแพะ เพื่อยกระดับและเพิ่มมูลค่าให้กับเนื้อแพะ - เทคโนโลยีการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากแพะเพื่อเพิ่มมูลค่า ด้วย วทน. - เทคโนโลยีการเพิ่มรสสัมผัสปรุงแต่งเนื้อแพะ ด้วย วทน. - เทคโนโลยี กระบวนการผลิตเพื่อ ยกระดับ ผลิตภัณฑ์แปรรูป ที่ได้มาตรฐานฮาลาล - กระจัดการวางแผนกระบวนการตลาดและการจัดจำหน่าย
ผศ. ดร.มนูญ ศิรินุพงศ์ 93 เริ่มตั้งแต่การปลูก ดูแลสวน การดูแลและจัดเก็บผลผลิต การตลาดเพื่อจำหน่ายผลสด การแปรรูป และการตลาดอื่น ๆ เพื่อต่อยอดให้ครบวงจร
ผศ. ดร.พวงทิพย์ แก้วทับทิม 110 เริ่มตั้งแต่การปลูก ดูแลสวน การดูแลและจัดเก็บผลผลิต การตลาดเพื่อจำหน่ายผลสด การแปรรูป และการตลาดอื่น ๆ เพื่อต่อยอดให้ครบวงจร
ดร.ไมตรี แก้วทับทิม 93 ส้มโอปูโก/ส้มโอทับทิมสยาม เริ่มตั้งแต่การปลูก การทำปุ๋ยใช้เอง การดูแลสวน การดูแลและจัดเก็บผลผลิต การตลาดเพื่อจำหน่าย เป็นต้น
ผู้ช่วยศาสตราจารย์จิรพร สวัสดิการ 95 เทคนิคการ Spray Dryer สินค้าเกษตรและอาหาร การทำงานของเครื่อง Spray Dryer คือการนำตัวอย่างของเหลว (feed) ที่นำมาฉีด ควรมีลักษณะเหลว และไม่ข้นมาก จากนั้นของเหลวจะถูกดูดโดยปั๊มผ่านอุปกรณ์ที่ทำให้เกิดละอองฝอยคือ atomizer ภายในห้องอบ เมื่อละอองสัมผัสกับอากาศร้อนจะทำให้เกิดการระเหยของน้ำอย่างรวดเร็ว และจะได้ผงของผลิตภัณฑ์ตกลงสู่ด้านล่างของ drying chamber ผงบางส่วนที่หลุดออกมากับอากาศจะถูกแยกโดยใช้ cyclone ซึ่งจะรวมเข้าเป็นผลิตภัณฑ์รวมในที่สุด การนำไปใช้ ผลิตภัณฑ์ต่างๆ ที่นิยมใช้กันในปัจจุบันมักอยู่ในรูปที่พร้อมใช้งานได้เลย และสามารถเก็บรักษาได้ง่ายและนาน คือการทำให้อยู่ในรูปของแห้ง ส่วนวิธีการที่นิยมใช้ในการทำแห้งวิธีหนึ่งก็คือการทำแห้งแบบพ่นฝอย (Spray Dry) โดยมีเครื่องมือที่ใช้คือเครื่องทำแห้งแบบพ่นฝอย (Spray Dryer) มักใช้วิธีนี้กับผลิตภัณฑ์อาหาร เช่น นมผง ไข่ผง อาหารเด็ก เนื้อวัวสกัด โปรตีนสกัด และผลิตภัณฑ์ยา เช่น ยาผงสมุนไพร เป็นต้น แหล่งอ้างอิง ตูแวอิสมาแอ ตูแวบีรู. 2549. Spray Dryer. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก: http://web.yru.ac.th/~ dolah/ no
ศูนย์วิจัยและพัฒนานวัตกรรมสินค้าเกษตรและอาหาร ภาคต 92 ศูนย์วิจัยและพัฒนานวัตกรรมสินค้าเกษตรและอาหาร ภาคตะวันออก คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี จันทบุรี เป็นหน่วยสนับสนุนการเรียนการสอน การวิจัย แลบริการวิชาการ มีหน้าที่หลักดังต่อไปนี้ 1. ทดสอบมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร ISO/IEC 17025 ทดสอบตัวอย่างสินค้าด้านการเกษตร เช่น ดิน น้ำ ใบ ผลผลิตทางการเกษตร และผลิตภัณฑ์จากการเกษตร เช่น ผลิตภัณฑ์อาหารแปรรูป น้ำส้มควันไม้ น้้ำดื่ม น้ำพริก ซอส เป็นต้น ทางศูนย์ทดสอบจะทำการวิเคราะห์เพื่อวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1.1 เฝ้าระวังมาตรฐานสินค้าให้ตรงกับมาตรฐานภานในและต่างประเทศ 1.2 ออกใบรายงานผลให้สอดคล้องกับมาตรฐานภานในและต่างประเทศ 1.3 วิเคราะห์สารเคมี และยาฆ่าแมลงตกค้างในผลผลิต และผลิตภัณฑ์แปรรูป 1.4 วิเคราะห์ฉลากโภชนา 1.5 วิเคราะห์จุลินทรีย์ 1.6 วิเคราะห์น้ำเพื่อการอุปโภคบริโภค 2. วิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ด้านเกษตรและอาหาร ทำการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่ใช้พืชปลทางการเกษตร ในภาคตะวันออก เพื่อรองรับการแปรรุปผลผลิตใหม่ๆ สู่ตลาดในยุยไทยแลนด์ 4.0 3. บริการวิชาการ ฝึกอบรม และให้คำปรึกษา เป็นศูนย์บริการให้คำปรึกษาด้านคุณภาพอาหาร และการขึ้นทะเบียนกับหน่วยงานรัฐ เช่น มผช. OTOP อย. และมาตรฐานสากลได้แก่ GMP/HACCP/ISO/HALAL/BRC เป็นต้น และยังเป็นที่ฝึกอบรมด้านการแปรรูปการเกษตร และอื่นๆ ตามโจทย์ท้องถิ่น 4. เป็นพี่เลี้ยงด้านระบบคุณภาอาหาร เป็นพี่เลี้ยงหน้างาน ให้บริการถึงสถานที่ เพื่อคอยแนะนำให้ผู้ประกอบการทุกระดับ ไม่ว่าจะกลุ่มแม่บ้าน วิสาหกิจชุมชน SME เข้าถึงการแปรรูปที่ถูกต้อง และจัดการสถานที่ให้เป็นไปตามมาตรฐานที่ต้องการ รวมทั้งการประยุกต์ใช้ระบบประกันคุณภาพอาหาร ในสถานประกอบการ สถานที่ติดต่อ ศูนย์วิจัยและพัฒนานวัตกรรมสินค้าเกษตรและอาหาร ภาคตะวันออก หลักสูตรวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี เลขที่ 41 ม.5 ต.ท่าช้าง อ.เมือง จ.จันทบุรี 22000 โทรศัพท์ 061 6605306 E mail Classforecastrbru@hotmail.com
ผู้ช่วยศาสตราจารย์วิฆเนศวร ทะกอง 76 เทคโนโลยีการจัดการด้านการประชาสัมพันธ์ สื่อ การทำการตลาดออนไลน์ ผ่านเว็ปไซต์ เฟสบุค ไลน์ ของผู้ประกอบการ เพื่อเพิ่มช่องทางการจัดจำหน่ายในสังคมยุคดิจิตัล
ดร.ปฏิมาพร ปลอดภัย 79 8. ส้มโอปูโก/ส้มโอทับทิมสยาม เริ่มตั้งแต่การปลูก การทำปุ๋ยใช้เอง การดูแลสวน การดูแลและจัดเก็บผลผลิต การตลาดเพื่อจำหน่าย เป็นต้น การปลูก การทำปุ๋ยใช้เอง การดูแลสวน การดูแลและจัดเก็บผลผลิต การตลาดเพื่อจำหน่าย เป็นต้น
นายวิทยา ตู้ดำ 74 - การออกแบบ ต้นแบบผลิตภัณฑ์ - ช่องทางจัดจำหน่ายสินค้าออนไลน์
นางสาวกมลวรรณ สุขสวัสดิ์ 77 การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร / การทำมาตรฐาน, พืชผัก ผักพื้นบ้าน สมุนไพร, วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร, การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร อาหารและโภชนาการ ขนมอบ การจัดดอกไม้ การแต่งหน้าเค้ก การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร อาหารและโภชนาการ ขนมอบ การจัดดอกไม้ การแต่งหน้าเค้ก
นายวิโรจน์ ยิ้มขลิบ 89 การออกแบบผลิตภัณฑ์ชุมชน การออกแบบบรรจุภัณฑ์เพื่อการจัดจำหน่าย การออกแบบตราสินค้า
นางสาวสุรภา วงศ์สุวรรณ 112 การสร้างสรรค์งานออกแบบ Graphic Design / Packaging Design /Digital Printing / Communication Design / Applied Art / Product Design เช่น บรรจุภัณฑ์ สื่อสิ่งพิมพ์ Ad โฆษณาในหนังสือพิมพ์ นิตยสาร โปสเตอร์ โบร์ชัวร์ แผ่นพับ หรือในสื่อรูปแบบ E-Book และสื่อรูปแบบสื่อการเรียนการสอน E-Learning เพื่อตอบโจทย์ความต้องการของลูกค้าการขายในเชิงพาณิชย์ได้จริง
ดร.ศรัณย์ จันทร์แก้ว 103 การทำแบบตัดและการตัดเย็บ การออกแบบเครื่องแต่งกาย การออกแบบผลิตภัณฑ์สิ่งทอ การเลือกใช้วัสดุกับของตกแต่งและของที่ระลึก การเลือกใช้วัสดุกับงานสิ่งทอ การเลือกใช้วัสดุกับงานเครื่องหนัง การพัฒนานวัตกรรมด้านแฟชั่นและผลิตภัณฑ์สิ่งทอ
ธนพล หนองบัว 100 ด้านการสัตวศาสตร์ การจัดการฟาร์มโคและกระบือ การรักษาโรค การเหนี่ยวนำ ผสมเทียม
ผศ.ดร.วิวัฒน์ พัฒนาวงศ์ 94 เทคโนโลยีการผสมเทียมโคเนื้อแบบกำหนดเวลา
อาจารย์อภิชยา นิเวศน์ 102 การพัฒนาช่องทางการจัดจำหน่ายผลิตภัณฑ์
อาจารย์ศิริรัตน์ สัยวุฒิ 106 การสร้างต้นแบบและถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านการออกแบบบรรจุภัณฑ์ และตราสินค้าที่แปรรูป การสร้างกิจกรรมทางการจัดจำหน่าย ทั้ง Online และOffline ถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านการตลาดในยุคปกติใหม่
นายธนัญกรณ์ ใจผ่อง 99 การศึกษาการเจริญของราก ทำให้ทราบข้อมูลการกระจากตัวของรากและความหนาแน่นของรากอ้อยที่อายุแตกต่างกัน
อาจารย์ธนิกา หุตะกมล 136 การออกแบบลวดลายสิ่งทอ ลวดลายมัดล้อม การตัดเย็บหน้ากากอนามัย
อาจารย์ ดร.ดำรงพล คำแหงวงศ์ 104 1. การเลือกใช้บรรจุภัณฑ์อาหารและความปลอดภัย 2. บรรจุภัณฑ์เพื่อการตลาดและการออกแบบ 3. เทคโนโลยีการตรวจสอบย้อนกลับและข้อกำหนดที่เกี่ยวข้องสำหรับสินค้าเกษตร 4. ดิจิตอลโลจิสติกส์เพื่อการจัดการสินค้าเกษตรอย่างยั่งยืน 5. แพลตฟอร์มดิจิตัลเพื่อขยายโอกาสทางธุรกิจอาหารและผลิตผลเกษตร
นายณัฐกิตติ์ มาฟู 112 สำรวจฐานข้อมูลทรัพยากรท้องถิ่นด้านกายภาพ ชีวภาพ ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมท้องถิ่น เพื่อนำเสนอให้แก่ชุมชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง มาวิเคราะห์หาศักยภาพและพัฒนาต่อยอดในด้านต่างๆร่วมกัน
นางเพ็ญศรี มลิทอง 87 สำรวจฐานข้อมูลทรัพยากรท้องถิ่น ด้านกายภาพ ชีวภาพ ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมท้องถิ่น เพื่อนำฐานข้อมูลที่ได้นำเสนอให้กับชุมชน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง มาวิเคราะห์หาศักยภาพและพัฒนาต่อยอดในด้านต่างๆ ร่วมกัน
ดร.บุษราคัม ป้อมทอง 79 การวิเคราะห์ความหอมและคุณค่าทางโภชนาการ และการกำหนดเอกลักษณ์ประจำพันธุ์ของข้าว พันธุ์หอมเตี้ยเพื่อนำไปสู่การอนุรักษ์และการ ส่งเสริมเชิงเศรษฐกิจ
นางสาวพรพิมล ควรรณสุ 89 ผลิตภัณฑ์แหนมเห็ด เป็นผลิตภัณฑ์ที่กลุ่มมีการผลิตและจำหน่ายอยู่แล้ว แต่นักวิจัยจากมหาวิทยาลัยนครพนมเข้ามาพัฒนาต่อยอด 1. ขั้นตอนการผลิตให้ปลอดภัย 2. การพัฒนาบรรจุภัณฑ์ให้ทันสมัย สวยงาม และ และดึงดูดผู้บริโภค 3. การพัฒนาตลาดออนไลน์ และตลาดออฟไลน์ ขนาดบรรจุ 200 กรัม วัตถุดิบมาจาก กลุ่มวิสาหกิจชุมชนเพาะเห็ดบ้านกลาง 355 หมู่ 4 ตำบลโพนแพง อำเภออากาศอำนวย จังหวัดสกลนคร
ภญ.ศุภกัญญา กุมกาญจนะ 80 การกำหนดสูตรและพัฒนาผลิตภัณฑ์จากสมุนไพร
อาจารย์พรพาชื่น ชูเชิด 85 การพัฒนาผลิตภัณฑ์ โภชนาการ โภชนบำบัด เช่น การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากข้าว สารต้านอนุมูลอิสระในข้าวเหนียวดำ ความรู้ด้านโภชนาการและโภชนบำบัด
นางพจมาน วงษ์วิบูลย์สิน 102 การบริหารจัดการชุมชน/การจัดการองค์กรส่วนท้องถิ่น ได้ดำเนินงานจัดโครงการบริการวิชาการแก่สังคม ทำหน้าที่ได้ประสานงานติดต่อกับผู้นำชุมชน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อดำเนินจัดกิจกรรม จัดโครงการต่างๆ รวมถึงได้ลงพื้นสำรวจความต้องการของชุมชน และหน่วยงานทั้งภายใน ภายนอกมหาวิทยาลัย ซึ่งคณะทำงานมีการจัดการฝึกอบรม ให้ความรู้กับประชาชนในชุมชน นักเรียน นักศึกษา โครงการต่างๆ ที่คณะได้จัดขึ้นจะยึดตามแนวทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งทำให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ไปต่อยอดพัฒนาผลิตภัณฑ์ เพิ่มมูลค่าของชุมชน เพิ่มช่องทางการจัดจำหน่ายสินค้า และเพิ่มยอดขายได้อีกด้วย
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สิริรัตน์ พานิช 130 - ตรวจสอบฤทธิ์ในการต้านอนุมูลอิสระด้วยวิธี FCR, DPPH, ABTS ในอาหาร สมุนไพร เครื่องดื่ม และเครื่องสำอาง -สารสกัดน้ำมันหอมระเหย และไฮโดรโซล -ปรับปรุงและพัฒนาสูตรเซรั่มบำรุงผิว -พัฒนาสูตรเครื่องสำอางค์ที่มีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ -พัฒนาผลิตภัณฑ์แผ่นมาส์คหน้าเพิ่มความชุ่มชื่น -วิเคราะห์คุณภาพ และคุณสมบัติต่าง ๆ ของเครื่องสำอางค์ เช่น ความชุ่มชื้น ฤทธิ์ในการสมานแผน ความสามารถในการลดเลือนริ้วรอย -อาหาร Superfood -อาหารที่มีโปรตีนสูงและมีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ -นมจากพืช -การวิเคราะห์เพื่อจัดทำฉลากทางโภชนการ -การตรวจสอบสารปนเปื้อนในอาหาร เช่น โลหะหนัก สารพิษ และสารปนเปื้อนเป็นต้น -วิธีการสกัด การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากสมุนไพรไทย -การตรวจวิเคราะห์องค์ประกอบ -การควบคุมคุณภาพสมุนไพรไทย -สารลดแรงตึงผิวในเครื่องสำอางค์ -สารลดแรงตึงผิวในผลิตภัณฑ์ที่ใช้ในครัวเรือน เช่น น้ำยาปรับผ้านุ่ม น้ำยาซักผ้า น้ำยาล้างจาน - เซนเซอร์ตรวจจับปริมาณโลหะหนักเช่น ตะกั่ว
อาจารย์เกษสิริ ศักดานเรศว์ 90 การผลิต ต้นทุนและการจัดจำหน่าย การวิเคราะห์และการวางแผน
ผศ.ดร.สมบูรณ์ คำเตจา 173 ความหลากหลายทางชีวภาพด้านสัตว์ โดยเฉพาะกลุ่มนกในเขตภาคเหนือ การถ่ายภาพสิ่งมีชีวิตด้านวิทยาศาสตร์ การสำรวจทรัพยากรชีวภาพ
นางสาวอภิญญา กันธิยะ 111 การพัฒนาผลิตภัณฑ์และราคา, การบรรจุภัณฑ์, ช่องทางการจัดจำหน่าย, การจัดการการขาย, เทคนิคการขาย, การจัดการการค้าปลีก
ดรัณภพ อุดแน่น 91 การจัดการโลจิสติกส์และห่วงโซ่อุปทาน การจัดการโลจิสติกส์และห่วงโซ่อุปทานเกี่ยวกับสินค้าเกษตรเพื่อศึกษาวิธีการดำเนินงานที่ควรปรับปรุงให้มีผลผลิตเพิ่มขึ้นพร้อมทั้งลดต้นทุนและเพิ่มช่องทางจัดจำหน่าย
ดร.ไผ่แดง ขวัญใจ 65 กรรมวิธีการผลิตข้าวเหนียวหุงสุกเร็ว : คุณภาพและสมบัติทางเคมีกายภาพ
ผศ.ดร.พรรณธิภา เพชรบุญมี 112 - การบริหารจัดการกลุ่ม - การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารและสิ่งทอ - การออกแบบบรรจุภัณฑ์ - การพัฒนาช่องทางการจัดจำหน่ายและ การตลาดออนไลน์
ผศ.ดร.เกรียงไกร สีตะพันธุ์ 83 กบคอนโดและกบนอกฤดูหนทางสู่ความพอเพียงวิถีเพียงพอที่ยั่งยืนแด่พ่อหลวงไทย
อาจารย์ชัยวัฒน์ โพธิ์ทอง 93 การบำบัดดินที่ปนเปื้อนโลหะหนักด้วยวิธีทางเคมี การบำบัดน้ำเสียด้วยกระบวนการดูดซับ และกระบวนการดูดซับทางชีวะ
ผศ.ดร.ไวพจน์ กันจู 93 การพัฒนาประชากรลูกผสมกลับข้าวเหนียวพันธุ์สันป่าตอง 1 ให้มียีนความหอม ยีนต้านทาน โรคไหม้และโรคขอบใบแห้ง โดยใช้วิธีการผสมกลับร่วมกับการใช้เครื่องหมายโมเลกุลช่วยในการคัดเลือก
ผศ.ดร.ดุษฎี นาคเรือง 98 การวางแผนกลยุทธ์องค์กร การวางแผนและกำหนดทิศทางการพัฒนางานวิจัยขององค์กร
รศ.ดร.รุ่งนภา สุวรรณศรี 105 การออกแบบอัตลักษณ์,การวาดภาพประกอบ,การออกแบบกราฟิก,การออกแบบหนังสือ
อ.ดร.สันทนา นาคะพงศ์ 86 การผลิตคาร์โบไฮเดรตที่มีหน้าที่ด้วยกระบวนการทางชีวภาพ
ดร.ศักยะ สมบัติไพรวัน 150 2553 - ผู้ช่วยสอนนักศึกษาปริญญาตรี รายวิชาปฐพีกลศาสตร์ สาขาวิชาวิศวกรรมเกษตร 2554-2555 - ผู้ช่วยวิจัย งานเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว ศึกษาความสามารถในการยืดอายุการเก็บรักษามะม่วงน้ำดอกไม้โดยใช้ถ่านกัมมันต์ดูดซับเอทิลีนในบรรจุภัณฑ์ระหว่างการขนส่ง 2558 - ผู้ช่วยสอนนักศึกษาปริญญาตรี รายวิชาจุลชีววิทยาอาหาร สาขาวิชาวิศวกรรมเกษตร 2563 - นักวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ ศูนย์อนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี 2564 - หัวหน้าโครงการการพัฒนาศักยภาพผลิตภัณฑ์ท้องถิ่นด้วยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม (12 ผลิตภัณฑ์) ภายใต้โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี - เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป หน่วยบริการวิชาการชุมชน เทคโนธานี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี 2564 - ผู้ช่วยวิจัยโครงการการตรวจสอบชนิดและปริมาณการปนเปื้อนของสารหนูด้วยเทคนิคขั้นสูงจากเครื่องกำเนิดแสงซินโครตรอน รหัสโครงการ PRP6205012260 สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์กรมหาชน) 2565 - นักวิจัยหลังปริญญาเอก สาขาวิชาเทคโนโลยีอาหาร ภายใต้สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี - คณะกรรมการดำเนินการคัดสรรสุดยอดหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ไทย ปี พ.ศ. 2565 จ. นครราชสีมา ตรวจสอบและกลั่นกรองผลิตภัณฑ์ประเภทสมุนไพรที่ไม่ใช่อาหาร (คำสั่งจังหวัดนครราชสีมา ที่ 4785/2565 ลงวันที่ 5 พฤษภาคม 2565) - ที่ปรึกษา/ผู้วิจัย กิจกรรมการสร้างผู้ประกอบการชุมชน (Local Startups) ประจำปี 2564 ภายใต้แผนงานส่งเสริมการนำนวัตกรรมไปใช้ประโยชน์ในพื้นที่เพื่อพัฒนาชุมชนและสังคม (Area based Innovation for Community) เทคโนธานี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี โครงการเลขที่ TN026/2565 เรื่อง การพัฒนาสูตรแชมพูสมุนไพรตามคุณค่าทางวิชาการและควบคุมคุณลักษณะให้ผ่านมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน (The evaluation of herbal shampoo according to the community product standards) วิสาหกิจชุมชนกลุ่มเกษตรกรรวมใจบ้านไกลเสนียด อ.ท่าตูม จ.สุรินทร์ - ที่ปรึกษา/ผู้วิจัย กิจกรรมการสร้างผู้ประกอบการชุมชน (Local Startups) ประจำปี 2564 ภายใต้แผนงานส่งเสริมการนำนวัตกรรมไปใช้ประโยชน์ในพื้นที่เพื่อพัฒนาชุมชนและสังคม (Area based Innovation for Community) เทคโนธานี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารีโครงการเลขที่ TN028/2565 เรื่อง การวัดสมบัติทางเคมี-กายภาพ สเปรย์บรรเทาอาการปวดและแมลงสัตว์กัดต่อยเพื่อทำมาตรฐานการผลิตและส่งเสริมการขาย ( A study of chemo-physical properties of pain and insect bites relief spray to standardize production and marketing campaigns) วิสาหกิจชุมชนแปรรูปสมุนไพรหนองสมอ อ.คง จ.นครราชสีมา - ผู้ช่วยวิจัย โครงการสำรวจความเป็นไปได้ในการใช้ประโยชน์จากของเสียในโรงงานผลิตไส้ กรอก (กู้คืนและปรับสภาพน้ำมันสำหรับใช้เป็นพลังงาน) โรงงานไส้กรอก อ.ขามทะเลสอ จ.นครราชสีมา
ดร.กัมปนาจ เภสัชชา 93 การผลิตอาหารหนูอัดเม็ดใช่เอง ต้นทุนต่ำ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธนกร ราชพิลา 133 ผู้กำหนดกระบวนการฆ่าเชื้อด้วยความร้อนในการผลิตอาหารในภาชนะบรรจุ ที่ปิดสนิทชนิดที่มีความเป็นกรดต่ำและชนิดปรับกรด (Process Authority) การพัฒนาผลิตภัณฑ์ด้วยวิธีระเหยน้ำแบบพ่นฝอย (Spray Drying) การพัฒนาผลิตภัณฑ์ด้วยวิธีระเหิด (Freeze Drying) การพัฒนาเทคโนโลยีการแปรรูปอาหารสมัยใหม่ที่ไม่ใช้ความร้อน (Novel food Technology) การจัดการสายโซ่อุปทานอุตสาหกรรมเกษตร การบริหารคุณภาพอาหาร สมุนไพร ตามมาตรฐานอาหารสากล การปรับปรุงกระบวนการผลิตเพื่อเพิ่มผลผลิต สถิติในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ การวางแผน ควบคุมและติดตามกระบวนการผลิต
นายเอกชัย จรรยาวิจิตร์ 108 หัวเชื้อจุรินทรีย์หน่อกล้วย
ผศ.วิภาดา มุนินทร์นพมาศ 95 ดำเนินการโครงการกับวว และสปอว.ตั้งแต่ปี 2560-2566 อย่างต่อเนื่องจนถึงปัจจุบันโดยทำการพัฒนาและยกระดับกลุ่มวิสาหกิจชุมชนในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนใต้ต้านต่าง ๆ ดังนี้ 1.ด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์ - ปี 2560 พัฒนาผลิตภัณฑ์ส้มแขกสามรส น้ำส้มแขกเข้มข้น และน้ำพริกเผาส้มแขก ให้กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรบ้านท่าสาป เลขที่ 79 บ้าน ท่าสาป อ.เมือง จ.ยะลา 95000 (สนับสนุนโดยสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ;วว.) - ปี 2561 การพัฒนาผลิตภัณฑ์ขนมรังผึ้งและวาฟเฟิล ให้นายองอาจ สายวารี ที่อยู่ บ้านเลขที่ 54 ถนน อนุสรณ์มหาราช ตำบล สะเตง อำเภอเมือง จังหวัดยะลา 95000 โทรศัพท์ 093-6808573 (สนับสนุนโดยสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ;วว.) - ปี 2562 พัฒนาผลิตภัณฑ์ข้าวแต๋นหน้ากล้วยหินตากเคลือบช็อกโกแลต กลุ่มสตรีบ้านเงาะกาโปร์ บ้านเลขที่ 63/1 ถนน สุขยางค์ ตำบล บันนังสตา อำเภอ นันนังสตา จังหวัดยะลา 95130 (สนับสนุนโดยคูปองวิทย์ ปี 2562) -ปี 2564 พัฒนาผลิตภัณฑ์เปลือกมะนาวสามรสให้กับกลุ่มวิสาหกิจชุมชนกลุ่มมะนาวสร้างตนเอง อ.โคกโพธิ์ จ.ปัตตานี (สนับสนุนโดยคูปองวิทย์เพื่อโอทอป ปี 64) - ปี 2564 พัฒนาผลิตภัณฑ์น้ำลองกองผสมน้ำอัญชันเสริมคอลลาเจนแคลลอรี่ต่ำและลองกองหยีให้กับกลุ่มวิสาหกิจแปรรูปผลไม้บ้านเชิงเขา อ.บาเจาะ จ.นราธิวาส (สนับสนุนโดยคูปองวิทย์เพื่อโอทอป ปี 64) - ปี 2566 การพัฒนาผลิตภัณฑ์แกงไตปลาแห้งและน้ำพริกแกงไตปลาเจเพื่อส่งเสริมการตลาดให้กับกลุ่มวิสาหกิจชุมชนน้ำพริกแม่ผัว อ.เมือง จ.ยะลา (สนับสนุนโดยสปอว.2566) 2.พัฒนาฉลากและบรรจุภัณฑ์ - ปี 2560 การพัฒนาบรรจุภัณฑ์ผลิตภัณฑ์ธัญพืชบด กลุ่มแปรรูปผลิตภัณฑ์การเกษตร ตำบลตาชี อำเภอยะหา จังหวัดยะลา (สนับสนุนโดยสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ;วว.) - ปี 2561 การพัฒนาฉลากและบรรจุภัณฑ์ผลิตภัณฑ์ขนมรังผึ้งและวาฟเฟิล ให้นายองอาจ สายวารี ที่อยู่ บ้านเลขที่ 54 ถนน อนุสรณ์มหาราช ตำบล สะเตง อำเภอเมือง จังหวัดยะลา 95000 โทรศัพท์ 093-6808573 (สนับสนุนโดยสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ;วว.) -ปี 2464 พัฒนาฉลากและบรรจุภัณฑ์ผลิตภัณฑ์เปลือกมะนาวสามรสให้กับกลุ่มวิสาหกิจชุมชนกลุ่มมะนาวสร้างตนเอง อ.โคกโพธิ์ จ.ปัตตานี (สนับสนุนโดยคูปองวิทย์เพื่อโอทอป ปี 64) - ปี 2564 3.พัฒนามาตรฐาน - ปี 2560 ขอมาตรฐานอย.จนได้รับรองมาตรฐานให้กับผลิตภัณฑ์ธัญพืชบด กลุ่มแปรรูปผลิตภัณฑ์การเกษตร ตำบลตาชี อำเภอยะหา จังหวัดยะลา (สนับสนุนโดยสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ;วว.) - ปี 2562 ขอมาตรฐานอย.อาคารผลิตจนได้รับรองมาตรฐานในผลิตภัณฑ์ข้าวแต๋นหน้ากล้วยหินตากเคลือบช็อกโกแลต กลุ่มสตรีบ้านเงาะกาโปร์ บ้านเลขที่ 63/1 ถนน สุขยางค์ ตำบล บันนังสตา อำเภอ นันนังสตา จังหวัดยะลา 95130 (สนับสนุนโดยคูปองวิทย์ ปี 2562) - ปี 2565 ขอมาตรฐานอย.จนได้รับรองมาตรฐาน อาคารผลิต ผลิตภัณฑ์มะนาวสามรส ผลิตภัณฑ์น้ำมะนาวผสมน้ำผึ้งบรรจุขวดให้กับกลุ่มวิสาหกิจชุมชนกลุ่มมะนาวสร้างตนเอง อ.โคกโพธิ์ จ.ปัตตานี (สนับสนุนโดยคูปองวิทย์เพื่อโอทอป ปี 2565) 4.พัฒนากระบวนการผลิต - ปี 2565 พัฒนากระบวนการผลิตน้ำมะนาวผสมน้ำผึ้งบรรจุขวดให้กับกลุ่มวิสาหกิจชุมชนมะนาวสร้างตนเอง 16/5 บ้านโพธิ์ หมู่ 2 ถนนเพรชเกษม ต.มะกรูด อ.โคกโพธิ์ จ.ปัตตานี (สนับสนุนโดยคูปองวิทย์เพื่อโอทอป ปี 65)
ผศ.ดร.สุรีวัลย์ ดวงจิตต์ 93 ระบบนำส่งทางผิวหนัง ลิโพโซม นาโนเทคโนโลยี การออกแบบการทดลอง การหาสูตรที่เหมาะสมที่สุด พื้นผิวตอบสนอง นาโนเทคโนโลยีสำหรับเครื่องสำอาง
อาจารย์ธนภัทร วรปัสสุ 80 การเลี้ยงปลาหมอ และการเพาะพันธุ์ปลาหมอ การเลี้ยงหนอนแมลงวันลาย
นางสาวทิพวรรณ คำพานิช 69 - การจัดการธุรกิจบริการ - งานบริการต่าง ๆ ในส่วนของการติดต่อประสานงานหน่วยงานต่างๆ ทั้งภายในและภายนอก
นาง สมพร เกตุผาสุข 87 ศึกษาการเจริญเติบโต และการให้ผลผลิตไข่ของเป็ดไข่สาวทีเลี้ยงด้วยหอยเชอรี่ป่นทดแทนปลาป่นในสูตรอาหารโดยเก็บข้อมูลน้ำหนักและจำนวนไข่ของเป็ดสาว
ผศ.ปกกสิณ ชาทิพฮด 96 ความเชี่ยวชาญ : ภาษาและวรรณกรรมไทย, คติชนวิทยา, ภูมิปัญญาท้องถิ่น, วัฒนธรรมศึกษา, การจัดการมรดกทางวัฒนธรรม, การแปรรูปผลิตภัณฑ์จากหัตถกรรม, เทคโนโลยีสิ่งทอ, การจัดจำหน่ายผลิตภัณฑ์งานหัตถกรรมและภูมิปัญญา
ว่าที่ร้อยตรีวุธเมธี วรเสริม 81 การเพาะพันธุ์กบนานอกฤดู การสร้างระบบควบคุมอุณหภูมิสำหรับพ่อแม่พันธุ์บนาเพื่อเพาะในฤดูหนาว เพาะขยายพันธุ์ปลาเศรษฐกิจได้หลายชนิด เพาะขยายพันธุ์ปลาสวยงามได้หลายชนิด
ซูไบดี โตะโมะ 107 มีประสบการณ์ด้านการวิจัยเกี่ยวกับพืชพื้นบ้าน,พืชสมุนไพร,ข้าวพื้นเมือง รวมถึงงานวิจัยด้านความหลากหลายทางชีวภาพ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2566-ปัจจุบัน จากประสบการณ์ดังกล่าว สามารถสร้างองค์ความรู้ในรูปแบบสื่อปประเภทต่างๆ เช่น หนังสือ คู่มือการเรียนรุ้ โปสเตอร์องค์ความรู้ มากกว่า 20 เรื่อง
ดร.พีรพงษ์ แสงวนางค์กูล 78 1. ผลงาน "ห้องบ่มและเทคนิคการบ่มผลไม้ประโยชน์ 7 อย่าง" ได้รับรางวัลงานวิจัยสร้างผลกระทบสูงระดับ Silver จากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ประจำปี 2564 2. โครงการ "สารเอทีฟอนตกค้างในผลทุเรียนหมอนทองและทางเลือกในการบ่มเพื่อการส่งออก" งบประมาณจาก สวก. ผลวิจัยแสดงถึงความปลอดภัยในการบริโภคทุเรียนไทยทั้งในตลาดท้องถิ่นและตลาดส่งออก สร้างความมั่นใจในสินค้าทุเรียนไทย และลดความตื่นตระหนกความกังวลของผู้บริโภคไทยและจีนที่มีการให้ข้อมูลบิดเบือน 3. ผลวิจัยจาก "โครงการศึกษาเกณฑ์น้ำหนักแห้งของทุเรียนพันธุ์หมอนทอง กระดุมทอง ชะนี พวงมณี และก้านยาว เพื่อเป็นเกณฑ์บ่งชี้คุณภาพ" ใช้ปรับปรุงเกณฑ์น้ำหนักผลและน้ำหนักเนื้อแห้งของทุเรียนในมาตรฐานสินค้าเกษตร (ทุเรียน) มกษ.3-2556 ที่กำลังทบทวนในวาระครบรอบ 20 ปี ในปี 2566
รศ.พญ.จรัสศรี ฬียาพรรณ 75 ผู้เชี่ยวชาญทางด้านโรคเล็บและโรคติดเชื้อที่ผิวหนัง
รศ.นพ.สุมนัส บุณยะรัตเวช 86 ผู้เชี่ยวชาญทางด้านโรคเล็บและโรคติดเชื้อที่ผิวหนัง
อาจารย์ดวงดาว ภูครองจิตร 60 การแปรรูปผลิตภัณฑ์หน่อไม้
รศ.ดร. อภิชาติ กาญจนทัต 76 เทคโนโลยีชีวภาพของเอนไซม์,เคมีของโปรตีน: โครงสร้าง และหน้าที่, เคมีของผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ, ชีววิธีการฟื้นฟูสภาพแวดล้อมโดยเชื้อรา
ดร.นฤมล แสงประดับ 89 แมลงน้ำ, ชีววิทยาแหล่งน้ำจืด, การประเมินคุณภาพลำธารและแม่น้ำโดยใช้วิธีทางชีวภาพด้วยสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังหน้าดิน
ดร.สมพร เกษแก้ว 80 อันดับ 1 การศึกษาคุณลักษณะโครงสร้างและหน้าที่ของโปรตีน เอนไซม์ เปปไทด์ การศึกษา พัฒนาองค์ความรู้และนวัตกรรมด้านพลังงานและเวชสำอางจากพืช อันดับ 2 พลังงานชีวมวล
ดร.พวงพรภัสสร์ วิริยะ 89 ที่ปรึกษาหน่วยงาน UBI มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
นายสุธีร์ เงิมสันเทียะ 68 เจ้าหน้าที่พัฒนาธุรกิจ ที่ปรึกษาของ UBI มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นัจภัค สุขสวัสดิ์ 84 มีประสบการณ์ถ่ายทอดเทคโนโลยีเรื่องการแปรรูปวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรในระดับจังหวัดฉะเชิงเทรา 2 ครั้งให้กับกลุ่มเกษตรกร และเรื่องการใช้ประโยชน์ไผ่ไม้เศรษฐกิจในระดับตำบลของจังหวัดชลบุรี จังหวัดสุรินทร์ จังหวัดยโสธร และจังหวัดกาญจนบุรี ให้กับกลุ่มเกษตรกรรมทั้งเจ้าหน้าที่ภาครัฐ เช่น กรมพัฒนาชุมชน สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด และสำนักงานเกษตรกร เป็นผู้ช่วยศาสตราจารย์ด้านวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมและมีงานวิจัยตีพิมพ์เผยแพร่ด้าน Agricultural waste treatment and utilization
ดร.ณัฏฐิรา ก๋าวินจันทร์ 38 มีความเชี่ยวชาญทางด้านโครงสร้างหน้าตัดของดิน (Soil Profile) และวัดปริมาณคาร์บอนที่สะสมในดิน
ธรรมรัตน์ บุญสุข 55 มีความเขี่ยวชาญ การออกแบบด้วยคอมพิวเตอร์โปรแกรมกราฟฟิค การสร้างแบบด้วยคอมพิวเตอร์ การใช้เครื่องมือเครื่องจักรในงานอุตสาหกรรมเครื่องหนัง
อาจารย์ ดร.รจนา เมืองแสน 31 หัวหน้าโครงการออมสินยุวพัฒน์รักษ์ถิ่น พัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน การบริหารจัดการ การตลาดออนไลน์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ศุภชัย เจริญสิน 31 โภชนาการและการกำหนดอาหาร
ดร.วิทวัส สัจจาพงศ์ 27 โภชนาการและการกำหนดอาหาร
นายวทัญญู ศรีไสว 30 ความเชี่ยวชาญด้านสมุนไพร ยาหม่อง เพื่อบรรเทาอาการแมลงสัตย์กัดต่อย หน้ามือดวิงเวียน คัดจมูกเนื่องจากหวัด
รศ.ดร.อาธรณ์ วรอัด 40 การเคลือบฟิล์มบางด้วยการเคลือบในสุญญากาศ (vacuum coating) เป็นการปรับปรุงผิววัสดุแนวทางหนึ่งที่กำลังได้รับความสนใจอย่างกว้างขวางจากกลุ่มนักวิจัยและภาคอุตสาหกรรม โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเคลือบด้วยระบบสปัตเตอริ่ง (sputtering system) เช่น การเคลือบแข็ง (hard coating) บนผิวเครื่องมือตัดเจาะต่าง ๆ ทางอุตสาหกรรม เป็นการปรับปรุงพื้นผิวของเครื่องมือตัดเจาะให้มีความแข็งและยืดอายุการใช้งานของอุปกรณ์ให้ยาวนานขึ้น ซึ่งช่วยลดต้นทุนในการผลิตและยังเป็นการเพิ่มมูลค่าให้กับเครื่องมือตัดเจาะอีกด้วย นอกจากนี้ยังมีการเคลือบเพื่อใช้งานคุณสมบัติทางแสง เช่น ฟิล์มกรองแสงบนกระจกรถยนต์หรือในตัวอาคาร หรือการปรับปรุงสมบัติทางวัสดุศาสตร์สำหรับอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ เซนเซอร์ เป็นต้น
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธีญาภรณ์ แก้วทวี 34 - เทคนิคและวิธีการสร้างอาหารมีชีวิตสำหรับอนุบาลปลิงทะเลระยะวัยอ่อน - วิธีการเพาะเลี้ยงสาหร่ายทะเลเพื่อเป็นวัตถุดิบสำหรับผลิตอาหารปลิงทะเล - เทคนิคและวิธีการเตรียมบ่อเลี้ยง และการจัดการระหว่างเลี้ยงปลิงทะเลในบ่อดิน - เทคนิคและวิธีการแปรรูปด้วยวิธีการตากแห้ง และการเก็บรักษาปลิงทะเลตากแห้งเพื่อจำหน่าย
ผู้ช่วยศาสตราจารย์วาสนา ติวงค์ 33 "1. ผ่านการรับรองเป็นนักกำหนดอาหารวิชาชีพ (กอ.ช) Certified Dietitian of Thaniland (CDT) และได้รับการพัฒนาองค์ความรู้ตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง 2. ได้รับใบอนุญาต เป็นผู้ประกอบการวิชาชีพครู จากคุรุสภา 3. เข้ารับการอบรม ประชุม สัมมนาด้านอาหารและโภชนาการ อาหารเพื่อสุขภาพและอาหารบำบัดโรค ฯลฯ อย่างต่อเนื่อง 4. เป็นสมาชิกตลอดชีพ ของสมาคมนักโภชนาการแห่งประเทศไทยฯ และสมาคมนักกำหนดอาหารแห่งประเทศไทย 5. เป็นอาจารย์ผู้สอนในรายวิชา อาหารและโภชนาการ อาหารเพื่อสุขภาพและบำบัดโรค การควบคุมและการประกันคุณภาพอาหาร ความปลอดภัยด้านอาหาร โภชนาการเบื้องต้น การถนอมอาหารและการแปรรูปอาหาร เป็นระยะเวลา 10 ปี จนถึงปัจจุบัน"