รศ.สุแพรวพันธ์ โลหะลักษณาเดช 96 การควบคุมคุณภาพผลิตภัณฑ์ประมง ความปลอดภัยในผลิตภัณฑ์ประมง เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวสัตว์น้ำ การประเมินสินค้าโอทอป
นางขนิษฐา พันชูกลาง 104 มีความชำนาญ: ด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร การควบคุมและการประกันคุณภาพ
นางสาวปิ่นธิดา ณ ไธสง 110 การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร การจัดการและการควบคุณภาพอาหาร
ดร.อังคณา เชื้อเจ็ดตน 97 การควบคุมโรคหลังการเก็บเกี่ยว การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร สมุนไพร
อาจารย์อัญญารัตน์ ประสันใจ 101 โลหะวิทยา วัสดุวิศวกรรม การควบคุมคุณภาพ วิศวกรรมความปลอดภัย
ผศ.ดร.ดวงฤทัย ธำรงโชติ 118 1.อาจารย์ประจำหลักสูตรพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร2.วิทยากรให้ความรู้เรื่องการแปรรูปอาหาร/การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร/บรรจุภัณฑ์อาหาร/ การควบคุมคุณภาพผลิตภัณฑ์อาหาร3.กรรมการผู้ตรวจประเมินสถานประกอบการ และผลิตภัณฑ์ เพื่อขอการรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน
รองศาสตราจารย์ ดร.วาริน อินทนา 96 การควบคุมโรคพืช เกษตรอินทรีย์ การจัดการโรคพืชในระบบเกษตรอินทรีย์
ผศ.ดร.น้อมจิตต์ สุธีบุตร 113 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอาหาร การแปรรูปอาหาร การควบคุมและประกันคุณภาพอาหาร เทคโนโลยีการหมัก จุลชีววิทยาทางอาหาร
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ทนง เอี่ยวศิริ 93 การพัฒนาผลิตภัณฑ์และการถนอมอาหาร การแปรรูปผลิตภัณฑ์จากสัตว์น้ำ การควบคุมและประกันคุณภาพอาหาร
ผู้ช่วยศาสตราจารย์จิรพัฒน์ นาวารัตน์ 98 กายภาพบำบัดทางระบบประสาท การฟื้นฟูสภาพผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง การสร้างและพัฒนาแบบประเมิน การควบคุมการทรงตัวในผู้สูงอายุ
รองศาสตราจารย์ ดร. รวีวรรณ เดื่อมขันมณี 94 โรคพืช อารักขาพืช การกลั่นน้ำมันหอมระเหยเพื่อควบคุมโรคพืชที่เกิดจากเชื้อรา การใช้น้ำส้มควันไม้ควบคุมโรคพืช การควบคุมโรคพืชโดยชีววิธี การใช้เทคโนโลยีผลิตเห็ด การศึกษาเห็ดเอ็คโตมัยคอร์ไรซา การผลิตพืชปลอดภัย ตรวจประเมินเกษตรอินทรีย์ข้าว สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ (มกอช.)
อาจารย์เปรมชัย มูลหล้า 121 1.วิศวกรรมอุตสาหการ (การศึกษาการทำงาน, การควบคุมคุณภาพ, การเพิ่มผลผลิต, เศรษฐศาสตร์วิศวกรรม, การออกแบบและวางผังโรงงาน, การวางแผนและควบคุมการผลิต, การศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ, การบำรุงรักษาทางวิศวกรรม) 2.เทคโนโลยีสะอาด (Cleaner Technology), กระบวนการผลิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Production) 3.การออกแบบและพัฒนาเครื่องจักร, อุปกรณ์ช่วยในกระบวนการผลิต, การพัฒนาวิสาหกิจชุมชน
อ.ดร. ธรรมรัตน์ ปราณอมรกิจ 70 การควบคุม/ ดัดแปลงบรรยากาศหรือแก๊ส เพื่อยืดอายุการเก็บรักษาของผลิตผลเกษตร
ผศ.ดร.นิอร โฉมศรี 106 1.เทคโนโลยีเอนไซม์ทางอาหาร และเทคนิคในการทำโปรตีนให้บริสุทธิ์ 2.จุลชีววิทยาทางอาหาร (เช่น การประยุกต์ใช้จุลินทรีย์กับอาหารหมัก การตรวจวิเคราะห์และการควบคุมคุณภาพอาหารทางจุลินทรีย์ การผลิตกล้าเชื้อจุลินทรีย์ การควบคุมจุลินทรีย์เพื่อความปลอดภัยทางอาหาร ฯลฯ)
ผศ.กัทลีวัลย์ สุขช่วย 82 1.การวินิจฉัยโรคพืช การควบคุมโรคพืช 2.การเพาะเห็ด
รศ.ดร.จินันทนา จอมดวง 77 การควบคุมโรคพืชโดยชีววิธี
ผศ.ดร.อรุณ โสตถิกุล 108 1.การควบคุมแมลงศัตรูพืชแบบผสมผสาน 2.การปรับปรุงพันธ์พืช 3.กัญชาทางการแพทย์
รศ.ดร.มาลี ตั้งระเบียบ 75 การควบคุมโรคและแมลงศัตรูพืชโดยชีววิธี
ผศ.สุมาฬี พรหมรุกขชาติ 85 การควบคุมแมลงศัตรูพืชแบบผสมผสาน
นางสาวศิริพร อ่ำทอง 130 1.การวินิจฉัยโรคพืช การควบคุมโรคพืชโดยชีววิธี 2.การเพาะเห็ด
ผศ.ดร.พรอนันต์ บุญก่อน 110 การประยุกต์ใช้สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช ได้แก่ ฮอร์โมนพืชและสารที่ออกฤทธิ์คล้ายฮอร์โมนพืช เพื่อควบคุมการงอก การเจริญเติบโต การผสมเกสร การพัฒนาของผล และการยืดอายุการเก็บรักษาผลผลิตทางการเกษตร
ดร.ภควัต เกอะประสิทธิ์ 91 ด้านการพัฒนาและออกแบบเครื่องจักร - การบำรุงรักษาเครื่องจักรแบบมีส่วนร่วม ( TPM ) - การออกแบบเครื่องจักรระบบอัตโนมัติและหุ่นยนต์ - การควบคุมคุณภาพการผลิต - ระบบไฮดรอลิกส์อุตสาหกรรม - ระบบนิวแมติกส์
นายจิรวัฒน์ สุวรรณพฤกษ์ 63 วิศวกรรมโยธา ออกแแบบโครงสร้าง , เทคโนโลยีคอนกรีต , ประมาณราคา , การควบคุมและตรวจงานก่อสร้าง
นายธวัชชัย นิ่มพญา 129 ออกแบบและสร้าง เครื่องมือ เครื่องใช้ ชุดการทดลองทางวิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับงานอิเล็กทรอนิกส์ เพาเวอร์ซัพพลายต่างๆ วงจรควบคุมด้วยไมโครคอนโทรลเลอร์ สมาร์ทฟาร์ม และเครื่องกลไฟฟ้า
ผศ.ดร. อัจฉรา ดลวิทยาคุณ 90 กระบวนการแปรรูปและโภชนาการ ทดลองอาหาร การควบคุมคุณภาพอาหาร และสกัดสารจากพืชสมุนไพร
นายแจ๊ค ชุ่มอินทร์ 93 ออกแบบชิ้นงานสำหรับแม่พิมพ์ โลหะและพลาสติก ออกแบบแม่พิมพ์ โลหะและพลาสติก สร้างแม่พิมพ์ โลหะและพลาสติก การควบคุมเครื่องจักรกลอัตโนมัติสำหรับงานแม่พิมพ์ การควบคุมเครื่องฉีดพลาสติกและเครื่องปั๊มขึ้นรูปโล
รองศาสตราจารย์มานะ กาญจนมณีเสถียร 92 การควบคุมศัตรูพืชโดยเชื้อบีเอ็ม และการประยุกต์ใช้โดยเกษตรกรรายย่อย
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สรารัตน์ มนต์ขลัง 72 เชื้อราสาเหตุโรคพืช ความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมของเชื้อราสาเหตุโรคพืช การควบคุมเชื้อราสาเหตุโรคพืชโดยใช้แบคทีเรียปฏิปักษ์
ดร.เพียงออ ยี่สา 109 การวิเคราะห์ข้อมูลการทดลองทางประสาทสัมผัสในการยอมรับของผู้บริโภค หลังจากใช้ผลิตภัณฑ์สกินครีม เพื่อทดสอบประสิทธิภาพของกรด ทาร์ทาร์ริก ที่ผลิตจากโพแทสเซียมไบทาร์เทรต การวิเคราะห์เปรียบเทียบปริมาตรจําเพาะของขนมเค้กโดยการเปรียบเทียบระหว่าง สูตรควบคุม สูตรท้องตลาด และสูตร ทดลอง เพื่อหาสูตรที่เหมาะสม
ผศ.ดร.ภาราดร งามดี 86 การควบคุมคุณภาพไข่เค็มดินสอพอง
สุกัญญา จำปาทิพย์ 81 การควบคุมการผลิตไวน์ทางกายภาพ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ศุภวุฒิ ผากา 115 ระบบไฟฟ้ากำลัง, การวิเคราะห์คุณภาพไฟฟ้า, พีแอลซีในงานอุตสาหกรรม, การควบคุมระบบอัตโนมัติ
ผศ.ดร.นิอร โฉมศรี 108 1.เทคโนโลยีเอนไซม์ทางอาหาร และเทคนิคในการทำโปรตีนให้บริสุทธิ์ 2.จุลชีววิทยาทางอาหาร (เช่น การประยุกต์ใช้จุลินทรีย์กับอาหารหมัก การตรวจวิเคราะห์และการควบคุมคุณภาพอาหารทางจุลินทรีย์ การผลิตกล้าเชื้อจุลินทรีย์ การควบคุมจุลินทรีย์เพื่อความปลอดภัยทางอาหาร ฯลฯ)
รศ.ดร.มาลี ตั้งระเบียบ 87 การควบคุมโรคและแมลงศัตรูพืชโดยชีววิธี
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ดุสิดา หนูทอง 90 ๑. การแปรรูป และการควบคุมคุณภาพอาหาร ๒. เทคโนโลยีและการแปรรูปผักและผลไม้
ว่าที่ร้อยตรี บุญญฤทธิ์ วังงอน 112 มีความเชี่ยวชาญด้านวิศวกรรมไฟฟ้า ระบบโซล่าเซลล์ การวิเคราะห์มอเตอร์ไฟฟ้า และการอนุรักษ์พลังงานในโรงงานอุตสาหกรรม การควบคุมระบบน้ำในโรงเรือน
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สิริรัตน์ พานิช 130 - ตรวจสอบฤทธิ์ในการต้านอนุมูลอิสระด้วยวิธี FCR, DPPH, ABTS ในอาหาร สมุนไพร เครื่องดื่ม และเครื่องสำอาง -สารสกัดน้ำมันหอมระเหย และไฮโดรโซล -ปรับปรุงและพัฒนาสูตรเซรั่มบำรุงผิว -พัฒนาสูตรเครื่องสำอางค์ที่มีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ -พัฒนาผลิตภัณฑ์แผ่นมาส์คหน้าเพิ่มความชุ่มชื่น -วิเคราะห์คุณภาพ และคุณสมบัติต่าง ๆ ของเครื่องสำอางค์ เช่น ความชุ่มชื้น ฤทธิ์ในการสมานแผน ความสามารถในการลดเลือนริ้วรอย -อาหาร Superfood -อาหารที่มีโปรตีนสูงและมีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ -นมจากพืช -การวิเคราะห์เพื่อจัดทำฉลากทางโภชนการ -การตรวจสอบสารปนเปื้อนในอาหาร เช่น โลหะหนัก สารพิษ และสารปนเปื้อนเป็นต้น -วิธีการสกัด การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากสมุนไพรไทย -การตรวจวิเคราะห์องค์ประกอบ -การควบคุมคุณภาพสมุนไพรไทย -สารลดแรงตึงผิวในเครื่องสำอางค์ -สารลดแรงตึงผิวในผลิตภัณฑ์ที่ใช้ในครัวเรือน เช่น น้ำยาปรับผ้านุ่ม น้ำยาซักผ้า น้ำยาล้างจาน - เซนเซอร์ตรวจจับปริมาณโลหะหนักเช่น ตะกั่ว
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณรงค์ เมตไตรพันธ์ 107 - การประมวลผลและการรับรูปภาพ (Digital Image Processing) - การออกแบบและพัฒนาระบบการควบคุมอัตโนมัติ PLC
.ดร.ธิติ ทองคำงาม 112 การควบคุมศัตรูพืชในทุเรียนด้วยวิธีทางชีวภาพ
สุกฤตา อนุตระกูลชัย 67 การควบคุมศัตรูพืชในทุเรียนด้วยวิธีทางชีวภาพ
นางสาวศิริพร อ่ำทอง 90 1.การวินิจฉัยโรคพืช การควบคุมโรคพืชโดยชีววิธี 2.การเพาะเห็ด
ผศ.ดร.วรรณวิไล อินทนู 69 การควบคุมโรคเหี่ยวที่เกิดจากแบคทีเรียในพืช การควบคุมโรคใบจุดใบไหม้
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อโนทัย วิงสระน้อย 97 - การบริหารจัดการศัตรูพืช - การควบคุมศัตรูพืชโดยชีววิธี - การผลิตชีวภัณฑ์ควบคุมศัตรูพืช - กีฏวิทยาทางการแพทย์/ปศุสัตว์ การจัดการศัตรูพืชกัญชาในระบบอินทรีย์ Insect Host Plant Relationship - นิเวศวิทยาเคมี(แมลง&พืช) - แมลงกินได้
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อโนทัย วิงสระน้อย 98 - การบริหารจัดการศัตรูพืช - การควบคุมศัตรูพืชโดยชีววิธี - การผลิตชีวภัณฑ์ควบคุมศัตรูพืช - กีฏวิทยาทางการแพทย์/ปศุสัตว์ การจัดการศัตรูพืชกัญชาในระบบอินทรีย์ Insect Host Plant Relationship - นิเวศวิทยาเคมี(แมลง&พืช) - แมลงกินได้
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อโนทัย วิงสระน้อย 109 - การบริหารจัดการศัตรูพืช - การควบคุมศัตรูพืชโดยชีววิธี - การผลิตชีวภัณฑ์ควบคุมศัตรูพืช - กีฏวิทยาทางการแพทย์/ปศุสัตว์ การจัดการศัตรูพืชกัญชาในระบบอินทรีย์ Insect Host Plant Relationship - นิเวศวิทยาเคมี(แมลง&พืช) - แมลงกินได้
ผศ.ดร.นิอร โฉมศรี 96 1.เทคโนโลยีเอนไซม์ทางอาหาร และเทคนิคในการทำโปรตีนให้บริสุทธิ์ 2.จุลชีววิทยาทางอาหาร (เช่น การประยุกต์ใช้จุลินทรีย์กับอาหารหมัก การตรวจวิเคราะห์และการควบคุมคุณภาพอาหารทางจุลินทรีย์ การผลิตกล้าเชื้อจุลินทรีย์ การควบคุมจุลินทรีย์เพื่อความปลอดภัยทางอาหาร ฯลฯ)
รศ.ดร.มาลี ตั้งระเบียบ 69 การควบคุมโรคและแมลงศัตรูพืชโดยชีววิธี
นางสาวศิริพร อ่ำทอง 83 1.การวินิจฉัยโรคพืช การควบคุมโรคพืชโดยชีววิธี 2.การเพาะเห็ด
ว่าที่ร้อยตรี บุญญฤทธิ์ วังงอน 84 มีความเชี่ยวชาญด้านวิศวกรรมไฟฟ้า ระบบโซล่าเซลล์ การวิเคราะห์มอเตอร์ไฟฟ้า และการอนุรักษ์พลังงานในโรงงานอุตสาหกรรม การควบคุมระบบน้ำในโรงเรือน
ผศ.ดร.วรรณวิไล อินทนู 61 การควบคุมโรคเหี่ยวที่เกิดจากแบคทีเรียในพืช การควบคุมโรคใบจุดใบไหม้ แอนแทรคโนสในพืช การควบคุมโรคแคงเกอร์ รากโคนเน่า(เชื้อรา)ในพืช
ดร.พท.พิรุณรัตน์ แซ่ลิ้ม 91 1.เภสัชเวทและเภสัชพฤกษศาสตร์ การสกัดสารสำคัญจากสมุนไพร การแยกสารสำคัญ การควบคุมคุณภาพ การศึกษาความคงตัวของสารและผลิตภัณฑ์ การวิเคราะห์ปริมาณสารสำคัญในพืชสมุนไพร การศึกษาฤทธิ์ ทางเภสัชวิทยาของสมุนไพร การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากสมุนไพร การศึกษาการต้านเซลล์มะเร็ง การศึกษาฤทธิ์แก้ปวดแก้อักเสบ
ดร.วิรุณ โมนะตระกูล 101 การวางแผนกระบวนการผลิตในงานอุตสาหกรรม อาหาร ยานยนต์ เกษตร การออกแบบเครื่องจักรและเครื่องมือสนับสนุนระบบการผลิต อาหาร ยานยนต์ เกษตร การวิเคราะห์และการจัดการต้นทุนในอุตสาหกรรม อาหาร ยานยนต์ เกษตร วิศวกรควบคุมและออกแบบงานวิศวกรรมเครื่องกล โดยมีใบอนุญาตจากสภาวิศวกร ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมระดับภาคีวิศวกร สาขาวิศวกรรมเครื่องกล เลขทะเบียน ภก. 23988
ภก.รศ.ดร.บุญดิศย์ วงศ์ศักดิ์ 84 การควบคุมคุณภาพสมุนไพรและผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ, เภสัชเวท,การพัฒนาสารสกัดสมุนไพร
ดร.เกียรติสุดา เหลืองวิลัย 87 1.ชีววิทยา สรีรวิทยาและชีวเคมีของผลิตผลทางพืชสวนหลังการเก็บเกี่ยว 2.การควบคุมคาร์เมตาบอลึซึมของคาร์โบไฮเดรตในพืช เช่น เมตาบอลึซึมของแป้งและน้ำตาล 3.เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวเพื่อยืดอายุ และรักษาคุณภาพของผลผลิตพืชสวน เน้น ผัก ผลไม้ และไม้ดอก ที่ปลูกในเขตร้อน (tropical) และเขตกึ่งร้อน (sub-tropical)
ดร.ชัยณรงค์ รัตนกรีฑากุล 90 1.จดอนุสิทธิบัตร "สูตรผสมสำหรับ ผลิตภัณฑ์สารสกัดสมุนไพร ชนิดสารเข้มข้นแขวนลอย" 2. จดลิขสิทธิ์ ปี 2011 จำนวน 4 เรื่อง "สินค้าคุณภาพจากแปลงสู่ผู้บริโภค" "การประเมินความเสี่ยงเป็นการเตรียมระบบ GAP ให้พร้อมกับสิ่งที่เกิดขึ้น" "การระมัดระวังระหว่างการใช้สารเคมี" "สุขอนามัยระหว่างการเก็บเกี่ยว" 3. งานวิจัยที่เป็นการรายงานครั้งแรกของประเทศไทยที่พบว่า เชื้อสาเหตุโรคกิ่งแห้งของทุเรียนเป็นเชื้อรา Fusarium incarnatum และ F. solani ไม่ใช่เชื้อรา Phytophthora palmivora ตามที่นักวิชาการหลายท่านเข้าใจ รวมทั้งพบว่าเชื้อรา Phytopythium vexans สามารถเข้าทำลายทุเรียน และทำให้เกิดโรครากเน่าโคนเน่าได้เช่นเดียวกับ P. palmivora และได้แนะนำสารเคมีป้องกันกำจัดเชื้อราชนิดที่ควบคุมได้ทั้งเชื้อรา Fusarium, Phytophthora, Phytopythium และ Pythium โดยเกษตรกรไม่จำเป็นต้องสิ้นเปลืองซื้อสารเคมีหลายชนิดมาผสมเองเพราะสาเหตุที่แท้จริงของโรคกิ่งแห้งนั้นเกิดจากเชื้อรา Fusarium solani และ F. incarnatum มิได้เกิดจากเชื้อรา Phytophthora palmivora และได้แนะนำสารเคมีที่มีประสิทธิภาพในการควบคุมโรคกิ่งแห้งซึ่งสามารถควบคุมเชื้อรา Phytophthora palmivora สาเหตุโรครากเน่าโคนเน่าของทุเรียนได้อีกด้วย โดยจำเป็นต้องระมัดระวังการใช้สารเคมี benzimidazoles มากยิ่งขึ้น เนื่องจากเชื้อราสาเหตุเกิดการต้านทานได้ 4. หาความแตกต่างของสารประกอบบนผิวมะม่วงที่ได้รับสารกลุ่ม salicylic เพื่อกระตุ้นความต้านทานโรคแอนแทรคโนส จากงานวิจัยการกระตุ้นความต้านทานการเกิดโรคในมะม่วงหลังการเก็บเกี่ยว
ดร.อัณณ์ชญาน์ มงคลชัยพฤกษ์ 62 1. พัฒนาผลิตภัณฑ์ส่งเสริมการเจริญของพืชจากแบคทีเรียทนเค็มและการทดสอบประสิทธิภาพการส่งเสริมการเจริญของพืชตระกูล Solanaceae ในระดับแปลงปลูก 2. ศึกษาถึงการแสดงออกของยีน Ethylene Response Factors (ERF) ในการควบคุมเสื่อมสภาพของดอกกล้วยไม้สกุลหวายพันธุ์ขาวสนานในระดับการถอดรหัสของยีน 3. การจัดการหลังการเก็บเกี่ยวและการบรรจุภัณฑ์เพื่อควบคุมคุณภาพของผลิตผลและชิ้นผลิตผลตัดแต่งพร้อมบริโภคของพืชเศรษฐกิจบางชนิด 4. พัฒนาศักยภาพของทรัพยากรแบคทีเรียทนเค็มกลุ่มที่สร้างสาร indole-3-acetic acid (IAA) และสารควบคุมราก่อโรคเพื่อการใช้ประโยชน์ในการส่งเสริมการปลูกและคุณภาพของมะเขือเทศหลังการเก็บเกี่ยว
ดร.เกียรติสุดา เหลืองวิลัย 69 1.ชีววิทยา สรีรวิทยาและชีวเคมีของผลิตผลทางพืชสวนหลังการเก็บเกี่ยว , 2.การควบคุมคาร์เมตาบอลึซึมของคาร์โบไฮเดรตในพืช เช่น เมตาบอลึซึมของแป้งและน้ำตาล , 3.เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวเพื่อยืดอายุ และรักษาคุณภาพของผลผลิตพืชสวน เน้น ผัก ผลไม้ และไม้ดอก ที่ปลูกในเขตร้อน (tropical) และเขตกึ่งร้อน (sub-tropical)
รศ. ดร. จิรโรจน์ ต.เทียนประเสริฐ 76 ฟิสิกส์ของสารควบแน่น
ผศ.ดร.สิทธิพงษ์ โกมิล 68 ฟิสิกส์ของสารควบแน่น
รศ.ดร.พวงรัตน์ ไพเราะ 69 ฟิสิกส์ของสารควบแน่น
รศ.ดร.สิริโชค จึงถาวรรณ 56 ฟิสิกส์ของสารควบแน่น
ศ.ดร.ชูกิจ ลิมปิจำนงค์ 66 ฟิสิกส์ของสารควบแน่น
ผศ. ดร.วารุณี ศรีสงคราม 97 การพัฒนาชุมชนด้วยเทคโนโลยี, การควบคุมระบบการผลิตแบบอัตโนมัติ ( ระบบ IOT /นิวเมติก / โปรแกรมเมเบิ้ลคอนโทรลเลอร์/ การควบคุมระบบต่างๆ), พลังงานทดแทน ( การผลิตกระแสไฟฟ้าด้วยพลังงานแสงอาทิตย์ /พลังงานลม ),งานวิศวกรรมไฟฟ้าแรงสูง (การวิเคราะห์การเกิดทรานเซียนบนอุปกรณ์ไฟฟ้าแรงสูง , การตรวจวัดการเกิดดีสชาจน์)
รศ.วิชัย ฉัตรทินวัฒน์ 50 การพัฒนาระบบการผลิตและระบบการจัดการคุณภาพตามมาตรฐาน สำหรับโรงงานและผู้ประกอบการโอทอป การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต การลดต้นทุนดำเนินงาน การออกแบบระบบการควบคุมคุณภาพสำหรับโรงงาน
นายกรภัทร เฉลิมวงศ์ 33 การควบคุมอัตโนมัติ,เซนเซอร์ทรานสดิวเซอร์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์วาสนา ติวงค์ 34 "1. ผ่านการรับรองเป็นนักกำหนดอาหารวิชาชีพ (กอ.ช) Certified Dietitian of Thaniland (CDT) และได้รับการพัฒนาองค์ความรู้ตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง 2. ได้รับใบอนุญาต เป็นผู้ประกอบการวิชาชีพครู จากคุรุสภา 3. เข้ารับการอบรม ประชุม สัมมนาด้านอาหารและโภชนาการ อาหารเพื่อสุขภาพและอาหารบำบัดโรค ฯลฯ อย่างต่อเนื่อง 4. เป็นสมาชิกตลอดชีพ ของสมาคมนักโภชนาการแห่งประเทศไทยฯ และสมาคมนักกำหนดอาหารแห่งประเทศไทย 5. เป็นอาจารย์ผู้สอนในรายวิชา อาหารและโภชนาการ อาหารเพื่อสุขภาพและบำบัดโรค การควบคุมและการประกันคุณภาพอาหาร ความปลอดภัยด้านอาหาร โภชนาการเบื้องต้น การถนอมอาหารและการแปรรูปอาหาร เป็นระยะเวลา 10 ปี จนถึงปัจจุบัน"
ผศ.ดร.สุรชัย ขันแก้ว 36 วัสดุบรรจุภัณฑ์ การรักษาคุณภาพด้วยบรรจุภัณฑ์ เทคโนโลยีการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ การประยุกต์ใช้วัสดุบรรจุภัณฑ์เพื่อการควบคุมคุณภาพ ยืดอายุการเก็บรักษา การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีทางการพิมพ์ในการผลิตสิ่งพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ การพัฒนาวัสดุทางการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์
ดร.ประชา คำภักดี 31 1. อิเล็กทรอนิกส์กำลัง (Power Electronics) 2. การขับเคลื่อนมอเตอร์ไฟฟ้า (Electric Motor Drives) 3. เครื่องจักรไฟฟ้า (Electrical Machines) 4. การควบคุมแบบเรียงลำดับ (Sequence Control System) 5. การวิเคราะห์วงจรไฟฟ้า (Electrical Circuit Analysis) 6. การประยุกต์ใช้งานระบบเซลล์แสงอาทิตย์ (Solar PV System) 7.ระบบสมองกลฝังตัว (Embedded System) และประยุกต์ใช้งานเทคโนโลยีไอโอที (ioT)