เทคโนโลยีพร้อมถ่ายทอด
ชื่อ
กระดาษสาทนไฟ
ชม 1,989 ครั้ง
53
เจ้าของ
อ.ดร.มาโนช นาคสาทา และอ.ดร.วิมล นาคสาทา
เมล์
manoch.n@cmu.ac.th
รายละเอียด
ความเป็นมา
อุตสาหกรรมการผลิตกระดาษสา และผลิตภัณฑ์จากกระดาษสา เป็นอุตสาหกรรมที่สำคัญของภาคเหนือโดยเฉพาะจังหวัดเชียงใหม่ ที่มีผู้ประกอบการผลิตกระดาษสาจำนวนมาก กระดาษสาเป็นที่นิยม เนื่องจากกระดาษสามีลักษณะเฉพาะที่สวยงามต่างจากกระดาษอื่น และยังเป็นกระดาษที่มีความแข็งแรงทนแรงดึงได้สูงจึงทำให้ นิยมนำกระดาษสามาผลิต เป็นผลิตภัณฑ์หลากหลายชนิดที่โดดเด่นก็คือ ร่มบ่อสร้าง
การผลิตกระดาษสาปัจจุบัน ของผู้ประกอบการส่วนใหญ่ยังคงใช้กระบวนการแบบดั้งเดิม ซึ่งถือว่าเป็นจุดเด่นของกระดาษสา แต่เมื่อทั้งในประเทศและต่างประเทศหันมาผลิตกระดาษสากันมากขึ้นทำให้เกิดการตัดราคากัน ระหว่างผู้ผลิต ทำให้ราคาตกต่ำและส่งผลต่อคุณภาพของกระดาษสา
เพื่อความอยู่รอดของกระดาษสา จึงต้องมีการพัฒนาให้มีกระดาษสาที่มีสมบัติพิเศษกว่ากระดาษสาปกติ เช่นกระดาษสาทนไฟ หรือกระดาษสาทนน้ำ จึงจะทำให้สามารถประยุกต์การใช้กระดาษสาได้กว้างขึ้น ซึ่งจะเป็นการเพิ่มมูลค่าเพิ่มให้กับกระดาษสา
กระดาษสาทนไฟได้อย่างไร
กระดาษเมื่อได้รับความร้อนจากเปลวไฟ สายโซ่ของเส้นใยเซลลูโลส (cellulose) จะแตกออกเปลี่ยนสภาพกลาย เป็นสารที่ลุกติดไฟได้จำพวก Aldehyde, Ketone และ Hydrocarbon การยับยั้งการลุกติดไฟสามารถทำได้โดย เติมสารเคมี (สารทนไฟ)ที่ไปเปลี่ยนแปลงสมบัติของเซลลูโลส
โดยสารทนไฟนี้จะไปเร่งให้เกิด กระบวนการคายน้ำ (dehydration) ของเซลลูโลส และการเกิดถ่าน (char formation) ซึ่งการเกิดสิ่งเหล่านี้จะไปยับยั้งการเกิดสารที่ลุกติดไฟ
สารเคมีที่มีสมบัติทนไฟข้างต้น มีหลายชนิดแต่ที่มีการใช้อย่างแพร่หลาย จะเป็นสารประเภทเกลือฟอสเฟต (phosphate salt) หรือสารที่มีไนโตรเจนเป็นองค์ประกอบ (nitrogen compound)
ในการวิจัยนี้ ได้ใช้สารที่มีส่วนประกอบของทั้งฟอสเฟตและไนโตรเจน เป็นสารทนไฟให้กับกระดาษสา ซึ่งผลที่ได้พบว่ากระดาษสาที่ผลิตตามกระบวนการจากการวิจัยนี้ไม่ลุกติดไฟ
คุณสมบัติเฉพาะของกระดาษสาทนไฟ
กระดาษสาทนไฟได้ผ่านเกณฑ์การทดสอบการไม่ลามไฟของกระดาษตามมาตรฐาน ASTM D777-97( Standard Test Methods for Flammability of Treated Paper and Paperboard)
Glowing temperature : 550C
Auto-ignition : No
Flaming time : no flaming
Glowing time : no after glowing
Char length : 5cm
ไม่มีค่าใช้จ่ายในการอบรม
สนใจติดต่อขอข้อมูลเพิ่มเติม
อ.ดร.วิมล นาคสาทา
ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
อ.ดร.มาโนช นาคสาทา
ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
อุตสาหกรรมการผลิตกระดาษสา และผลิตภัณฑ์จากกระดาษสา เป็นอุตสาหกรรมที่สำคัญของภาคเหนือโดยเฉพาะจังหวัดเชียงใหม่ ที่มีผู้ประกอบการผลิตกระดาษสาจำนวนมาก กระดาษสาเป็นที่นิยม เนื่องจากกระดาษสามีลักษณะเฉพาะที่สวยงามต่างจากกระดาษอื่น และยังเป็นกระดาษที่มีความแข็งแรงทนแรงดึงได้สูงจึงทำให้ นิยมนำกระดาษสามาผลิต เป็นผลิตภัณฑ์หลากหลายชนิดที่โดดเด่นก็คือ ร่มบ่อสร้าง
การผลิตกระดาษสาปัจจุบัน ของผู้ประกอบการส่วนใหญ่ยังคงใช้กระบวนการแบบดั้งเดิม ซึ่งถือว่าเป็นจุดเด่นของกระดาษสา แต่เมื่อทั้งในประเทศและต่างประเทศหันมาผลิตกระดาษสากันมากขึ้นทำให้เกิดการตัดราคากัน ระหว่างผู้ผลิต ทำให้ราคาตกต่ำและส่งผลต่อคุณภาพของกระดาษสา
เพื่อความอยู่รอดของกระดาษสา จึงต้องมีการพัฒนาให้มีกระดาษสาที่มีสมบัติพิเศษกว่ากระดาษสาปกติ เช่นกระดาษสาทนไฟ หรือกระดาษสาทนน้ำ จึงจะทำให้สามารถประยุกต์การใช้กระดาษสาได้กว้างขึ้น ซึ่งจะเป็นการเพิ่มมูลค่าเพิ่มให้กับกระดาษสา
กระดาษสาทนไฟได้อย่างไร
กระดาษเมื่อได้รับความร้อนจากเปลวไฟ สายโซ่ของเส้นใยเซลลูโลส (cellulose) จะแตกออกเปลี่ยนสภาพกลาย เป็นสารที่ลุกติดไฟได้จำพวก Aldehyde, Ketone และ Hydrocarbon การยับยั้งการลุกติดไฟสามารถทำได้โดย เติมสารเคมี (สารทนไฟ)ที่ไปเปลี่ยนแปลงสมบัติของเซลลูโลส
โดยสารทนไฟนี้จะไปเร่งให้เกิด กระบวนการคายน้ำ (dehydration) ของเซลลูโลส และการเกิดถ่าน (char formation) ซึ่งการเกิดสิ่งเหล่านี้จะไปยับยั้งการเกิดสารที่ลุกติดไฟ
สารเคมีที่มีสมบัติทนไฟข้างต้น มีหลายชนิดแต่ที่มีการใช้อย่างแพร่หลาย จะเป็นสารประเภทเกลือฟอสเฟต (phosphate salt) หรือสารที่มีไนโตรเจนเป็นองค์ประกอบ (nitrogen compound)
ในการวิจัยนี้ ได้ใช้สารที่มีส่วนประกอบของทั้งฟอสเฟตและไนโตรเจน เป็นสารทนไฟให้กับกระดาษสา ซึ่งผลที่ได้พบว่ากระดาษสาที่ผลิตตามกระบวนการจากการวิจัยนี้ไม่ลุกติดไฟ
คุณสมบัติเฉพาะของกระดาษสาทนไฟ
กระดาษสาทนไฟได้ผ่านเกณฑ์การทดสอบการไม่ลามไฟของกระดาษตามมาตรฐาน ASTM D777-97( Standard Test Methods for Flammability of Treated Paper and Paperboard)
Glowing temperature : 550C
Auto-ignition : No
Flaming time : no flaming
Glowing time : no after glowing
Char length : 5cm
ไม่มีค่าใช้จ่ายในการอบรม
สนใจติดต่อขอข้อมูลเพิ่มเติม
อ.ดร.วิมล นาคสาทา
ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
อ.ดร.มาโนช นาคสาทา
ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
คำสำคัญ
บันทึกโดย
รายละเอียดผู้รับบริการ
46437
ผู้ถาม : พิชัยภูษิต แสนมา ที่อยู่ 120/13ต.เชียงเครือ อ.เมือง
วันที่ถาม : 09/05/2563
คำถาม : สนใจเลี้ยงปลาหมอ และอยากได้ลูกปลาขอซื้อได้อย่างไรครับ|1519|M
คำตอบ :
การดำเนินงานจากเครือข่ายการเลี้ยงปลาหมอ
ขั้นตอนในการเตรียมสถานที่ แหล่งน้ำ และการดูแลเบื้องต้น สถานที่ในการเลี้ยง ควรเป็นบ่อดินเหนียวหรือดินเหนียวปนทราย น้ำไม่รั่วซึม สามารถเก็บกักน้ำได้ 4-6 เดือน แหล่งน้ำ พื้นที่เลี้ยงควรอยู่ใกล้แล้งน้ำธรรมชาติ หรือเขตชลประทาน มีน้ำตลอดทั้งปี หากพื้นที่อาศัยปริมาณน้ำฝนอย่างเดียวควรพิจรณา ว่ามีปริมาณน้ำที่เพียงพอ หากเป็นพื้นที่ที่มีน้ำน้อยควรปล่อยปลาในปริมาณน้อย ประมาณ 15-20 ตัวต่อตารางเมตร ในการเตรียมบ่อก่อนปล่อยลูกพันธุ์ปลา กำจัดวัชพืชรอบบริเวณบ่อ , กำจัดศัตรูของลูกปลา , ใช้ตาข่ายในร่อนกั้นรอบบ่อ หว่านปูนขาวขณะดินชื้นในอัตรา 50-100 กิโลกรัมต่อไร่ กรองน้ำเข้าบ่อเพื่อป้องกันศัตรูของลูกพันธุ์ ควรมีการเปลี่ยนถ่ายน้ำทุก 20-30 วัน เป็นต้น โทรศัพท์ : 089 247 0903 วันที่บริการ 20/05/2563
วันที่ถาม : 09/05/2563
คำถาม : สนใจเลี้ยงปลาหมอ และอยากได้ลูกปลาขอซื้อได้อย่างไรครับ|1519|M
คำตอบ :
การดำเนินงานจากเครือข่าย